หน้าแรก
เว็บบอร์ด
หลักสูตรออนไลน์
สินค้าสมาคม
ทดลองใช้ฟรี 30 วัน
เข้าสู่ระบบ
เมนูลัด
แสดงกระทู้ที่ยังไม่มีการตอบ
แสดงกระทู้ที่เปิดดูแล้ว
ค้นหา
รายชื่อสมาชิก
ทีมงาน
FAQ
ไอเดียหุ้นเด้ง
โพสต์ยอดนิยม
หุ้นที่ติดตาม
ผู้เขียนที่ติดตาม
crystallization
ไร้กระบวนท่า
Joined: อาทิตย์ ต.ค. 03, 2010 3:05 pm
86
โพสต์
|
กำลังติดตาม
|
ผู้ติดตาม
ส่งข้อความ
ดูประวัติส่วนตัว - crystallization
กระทู้ที่ตั้ง
โพสต์ที่ตอบ
โพสต์ที่ตอบ
คอมเมนต์
ไลค์
Re: อินโดนีเซียปรับขึ้นดอกเบี้ย จะเป็นแบบต้มยำก้งไหม
ดุลบัญชีสะพัด สองปีที่ผ่านมา จะเห็นได้ว่า ตลาดการเงิน การหุ้น จะมุ่งเน้นพูดถึง ยุโรป เป็นสำคัญ หัวข้อหลัก ๆ ก็คือ เรื่องหนี้สินของประเทศ และประเทศที่ตกเป็นเหยื่อ ที่นำมาทำเป็นเรื่อง ก็มี กรีก อิตาลี่ โปแลนด์ สเปน ไอร์แลนด์ รวมทั้ง ไซปรัส แต่ท่านทั้งหลายจะแปลกใจหรือไม่ ก็ตาม ปรากฏว่า ขณะนี้ เรื่องหนี้สินของประเทศต่าง ๆ เหล่านั้น ค่อย ๆ หายเงียบไป ท่านเชื่อหรือครับ ว่า มันดีขึ้นจริง ? แต่ในปีนี้ ขณะนี้ และต่อไปอีกข้างหน้า เหยื่อรายใหม่ ที่จะถูกนำมาโจมตี ก็คือ ประเทศ Emerging Countries ข่าว ต่าง ๆ ที่ปรากฏในภูมิภาคเอเซีย ล้วนแล้วแต่เป็นข่าว ที่ ต้องการโจมตี ประเทศ ในแถบนี้ โดยขณะนี้ เน้นไปที่ ประเทศ อินโดนีเซีย และ อินเดีย โดยเขาได้แยกกลุ่ม ประเทศ ดี และ ประเทศ แย่ เป็นสองพวก พวกที่ดี ก็คือ จีน ไต้หวัน เกาหลีใต้ (เขายกเว้นญี่ปุ่น) ส่วนประเทศในกลุ่มที่แย่ก็คือ อินโดนีเซีย อินเดีย มาเลย์เซีย และไทย (ก็คงจะมีฟิลิปปินส์ ร่วมด้วย) จากบทความข้างล่างนี้ ทำให้ ทราบได้ทันทีว่า เป้า ที่เขาจะนำมาโจมตี ต่อไป เพื่อ แยกหรือ หันเหความน่าสนใจในการลงทุน ในตลาดหุ้น ไปจาก Emerging Countries เป้า นั้นเป็นเรื่อง ที่เกิดขึ้นคล้าย ๆ กับ ที่เคยเกิดขึ้นมาแล้ว กับหลายประเทศในยุโรป ซึ่ง มันคืออะไรนั้น เดี๋ยวจะได้กล่าวต่อ ๆ ไป Emerging markets: dissecting the good from bad Published: Thursday, 22 Aug 2013 | 4:35 AM ETBy: Katie Holliday http://www.cnbc.com/id/100979898 บทความนี้ ครับ เขากำลังแยก ประเทศ ดี และประเทศ แย่ ออกเป็นสองกลุ่ม และแนะนำว่า ให้ลงทุน ในกลุ่มประเทศที่ ดี เท่านั้น ควรหลีกเลี่ยงประเทศที่ แย่ ซึ่งได้พูดถึงไทยด้วย ดังนั้น ถ้าท่านได้อ่านบทความดังกล่าว ก็จะได้รู้ทันทีนะครับว่า การเทขายของต่างชาติ ในตลาดหุ้น ตลาดพันธบัตร ของบ้านเราก็ดี ของอินโดนีเซีย ก็ดี หรือ อินเดีย มาเลย์เซีย จนทำให้ทุกประเทศที่กล่าวมานี้ มีค่าเงินที่อ่อนลงอย่างเห็นได้ชัดในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมา นั้น สาเหตุหลัก ๆ ไม่ใช่ ประเด็น Tapering เท่านั้น แต่เป็นประเด็นที่เป็นโรคประจำตัวของประเทศ เจ้ากรรม ที่ถูกเขาจัดว่า แย่ เหล่านั้น เป็นปัจจัยหลัก ที่บอกว่า โรคประจำตัว ของประเทศเจ้ากรรมทั้งหลาย ที่ต่อไปนี้ จะถูกต่างชาติ ยกมาเป็นเรื่องโจมตี ว่า เป็นประเทศที่ไม่น่ามาลงทุน ก็คือ ปัญหา เรื่อง ดุลบัญชีสะพัด หรือที่ฝรั่งเขาเรียกว่า Current Account Deficit นั่นเอง การเทขายหุ้น ในตลาดหุ้นอินโดนีเซีย จนทำให้ตลาดตกไปมากกว่า 20% จาก ช่วงที่สูงที่สุด สาเหตุข้ออ้าง ก็คือ เขาพบว่า อินโดนีเซีย มีดุลบัญชีเดินสะพัด ในไตรมาสที่สอง ขาดดุล ถึง 4.4% ของ จีดีพี ทำนองเดียวกัน ที่อินเดีย ซึ่ง เคยมีเม็ดเงินไหลเข้าก่อนหน้านี้ จำนวนมาก บัดนี้ เงินเหล่านั้น ก็กำลังทยอยไหลออก จนค่าเงินรูปี อ่อนลง ไปมาก ในเวลาอันรวดเร็ว ก็พบว่า อินเดีย ก็มี ดุลบัญชีเดินสะพัด ขาดดุลถึง 4.8% ของ จีดีพี ในไตรมาสแรก สิ้นสุด เดือน มีนาคม ของไทยเราล่ะครับ เป็นอย่างไร ? ในไตรมาสที่สองของไทย ก็ปรากฏว่า มีดุลบัญชีเดินสะพัด ขาดดุล แต่ก็น้อยมาก ไม่ถึง 1% เมื่อเทียบกับ จีดีพี เรียกว่า ยังมีของดี แต่ถ้าหาก ปล่อยให้ แย่ลงไปอีก ต่างชาติ คงไม่เลี้ยงไว้ คงนำมา โจมตี อย่างแน่นอน ลิงค์ ต่อไปนี้ ก็ให้ดี ครับ ว่า ประเทศไหนในโลก มีดุลบัญชีเดินสะพัด เทียบกับ จีดีพี เป็นอย่างไร จะพบว่า ของอินโดนีเซีย และอินเดีย ติดลบมานานแล้ว ส่วนของไทย ตอนนั้น ยังเป็นบวก แต่ก็ปริ่ม ๆ ส่วนของมาเลย์เซีย นั้น เคยเกินดุลมาก แต่ก็ลดลงอย่างฮวบฮาบ จึงเป็นสาเหตุที่ต่างชาติเอามาโจมตีด้วย List of countries by current account balance as a percentage of GDP http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_by_current_account_balance_as_a_percentage_of_GDP ข้อมูลก็ค่อนข้างจะ up date พอสมควร สำหรับกรณี ของ มาเลย์เซีย ซึ่ง มองผิวเผิน น่าจะดี เพราะพัฒนาไปไกลกว่าไทยมาก แต่ปรากฏว่า ไส้ใน กำลังแย่ครับ ค่าเงิน ริงกิต ตกไปกว่า 10% ตั้งแต่ปลายเดือน พฤษภา เป็นต้นมา จากการถูกเทขายพันธบัตรรัฐบาลมาเลย์ โดยชาวต่างชาติ แล้วนำเงินออกนอกประเทศ เพราะพันธบัตรรัฐบาล สหรัฐ เริ่มมีผลตอบแทนที่ดีกว่า The ringgit has declined 10 percent against the U.S. dollar since late-May on concerns over a potential capital flight from the country''''''''s government bond market in favor of rising U.S. Treasury yields. ที่น่าเป็นห่วงอยู่ตรงนี้ครับ คือ ชาวต่างชาติถือครองพันธบัตรของรัฐบาลมาเลย์ มากถึง 50% ของพันธบัตรรัฐบาลทั้งหมด ทำให้ ผมต้องรีบกลับมาดูว่า แล้ว ต่างชาติ ถือครองพันธบัตรรัฐบาลของไทย เป็นเงินกี่มากน้อย แล้วถ้าหากมันถอน ออกไปหมด ค่าเงินบาท เรามิต้อง อ่อนยวบเลยหรือ ก็ปรากฏว่า ค่อนข้างสบายใจ ตามข่าวนะครับ บอกว่า ยังมียอดคงค้าง อยู่เพียง 8 แสนกว่าล้านบาท หรือคิดเป็นเงินเหรียญสหรัฐ ก็ประมาณ 3 หมื่นล้านดอลลาร์ คิดแล้วเพียงแค่ 11% ของมูลค่าพันธบัตรทั้งหมด ซึ่ง มีกว่า 7 ล้านล้านบาท ค่อยยัง **** ครับ เพราะ เงินทุนสำรองเงินตราต่างประเทศ ของไทย ในช่วงเดือน สิงหาคม ก็ยังมีอยู่มากกว่า 170 พันล้านดอลลาร์ สหรัฐ หรือ 17 หมื่นล้านดอลลาร์ สหรัฐ ตามข่าวนี้ครับ และ ตามตารางเงินทุนสำรองของ ธปท http://www.thairath.co.th/content/eco/351768 http://www2.bot.or.th/statistics/ReportPage.aspx?reportID=94&language=th%2f http://www.tradingeconomics.com/ (ลิงค์นี้ ก็มีช่อง current account ให้ดูด้วยเช่นกัน ของไทยก็มีในตาราง) มาถึงกล่องสุดท้ายของคืนนี้ บทความนี้ บอกว่า ในช่วงที่มีการเทขาย ทั้งหุ้น และพันธบัตร ของประเทศ Emerging Countries ปรากฏว่า มันไปกระทบกระเทือน ถึง เงินทุนสำรอง เงินตราต่างประเทศ ที่แต่ละประเทศ มีอยู่ เรียกว่า ลดลงไปถึง 8.1 หมื่นล้านดอลลาร์ เรียกว่า เทียบเท่ากับ 2% ของปริมาณ เงินทุนสำรอง ที่มีอยู่ ในกลุ่มประเทศ EM (ไม่นับรวมจีน) ว่ากันว่า อินโดนีเซีย หายไปถึง 13.6% ของเงินทุนสำรองที่มีอยู่ อินเดียลดไป 5.5% ตุรกี ลดลง 12.7% และยูเครน ประมาณ 10% ส่วนของไทยเรานั้น ถ้าหากท่านดูตาราง ของ ธปท ระหว่าง เมษา ถึง กรกฏา จะพบว่า ไม่ระคายผิว เลยครับ พระเจ้าช่วย! However some countries have suffered more precipitous drops. Indonesia has lost 13.6 per cent of its central bank reserves between the end of April and the end of July, Turkey 12.7 per cent and Ukraine burned through almost 10 per cent. India, another country that has seen its currency pummeled in recent months, has shed almost 5.5 per cent of its reserves. Emerging markets central bank reserves drop by $81 billion Published: Thursday, 22 Aug 2013 | 7:00 AM ETBy: Robin Wigglesworth http://www.cnbc.com/id/100980497
โดย
crystallization
เสาร์ ก.ย. 14, 2013 7:43 pm
0
4
Re: อินโดนีเซียปรับขึ้นดอกเบี้ย จะเป็นแบบต้มยำก้งไหม
ดุลบัญชีสะพัด สองปีที่ผ่านมา จะเห็นได้ว่า ตลาดการเงิน การหุ้น จะมุ่งเน้นพูดถึง ยุโรป เป็นสำคัญ หัวข้อหลัก ๆ ก็คือ เรื่องหนี้สินของประเทศ และประเทศที่ตกเป็นเหยื่อ ที่นำมาทำเป็นเรื่อง ก็มี กรีก อิตาลี่ โปแลนด์ สเปน ไอร์แลนด์ รวมทั้ง ไซปรัส แต่ท่านทั้งหลายจะแปลกใจหรือไม่ ก็ตาม ปรากฏว่า ขณะนี้ เรื่องหนี้สินของประเทศต่าง ๆ เหล่านั้น ค่อย ๆ หายเงียบไป ท่านเชื่อหรือครับ ว่า มันดีขึ้นจริง ? แต่ในปีนี้ ขณะนี้ และต่อไปอีกข้างหน้า เหยื่อรายใหม่ ที่จะถูกนำมาโจมตี ก็คือ ประเทศ Emerging Countries ข่าว ต่าง ๆ ที่ปรากฏในภูมิภาคเอเซีย ล้วนแล้วแต่เป็นข่าว ที่ ต้องการโจมตี ประเทศ ในแถบนี้ โดยขณะนี้ เน้นไปที่ ประเทศ อินโดนีเซีย และ อินเดีย โดยเขาได้แยกกลุ่ม ประเทศ ดี และ ประเทศ แย่ เป็นสองพวก พวกที่ดี ก็คือ จีน ไต้หวัน เกาหลีใต้ (เขายกเว้นญี่ปุ่น) ส่วนประเทศในกลุ่มที่แย่ก็คือ อินโดนีเซีย อินเดีย มาเลย์เซีย และไทย (ก็คงจะมีฟิลิปปินส์ ร่วมด้วย) จากบทความข้างล่างนี้ ทำให้ ทราบได้ทันทีว่า เป้า ที่เขาจะนำมาโจมตี ต่อไป เพื่อ แยกหรือ หันเหความน่าสนใจในการลงทุน ในตลาดหุ้น ไปจาก Emerging Countries เป้า นั้นเป็นเรื่อง ที่เกิดขึ้นคล้าย ๆ กับ ที่เคยเกิดขึ้นมาแล้ว กับหลายประเทศในยุโรป ซึ่ง มันคืออะไรนั้น เดี๋ยวจะได้กล่าวต่อ ๆ ไป Emerging markets: dissecting the good from bad Published: Thursday, 22 Aug 2013 | 4:35 AM ETBy: Katie Holliday http://www.cnbc.com/id/100979898 บทความนี้ ครับ เขากำลังแยก ประเทศ ดี และประเทศ แย่ ออกเป็นสองกลุ่ม และแนะนำว่า ให้ลงทุน ในกลุ่มประเทศที่ ดี เท่านั้น ควรหลีกเลี่ยงประเทศที่ แย่ ซึ่งได้พูดถึงไทยด้วย ดังนั้น ถ้าท่านได้อ่านบทความดังกล่าว ก็จะได้รู้ทันทีนะครับว่า การเทขายของต่างชาติ ในตลาดหุ้น ตลาดพันธบัตร ของบ้านเราก็ดี ของอินโดนีเซีย ก็ดี หรือ อินเดีย มาเลย์เซีย จนทำให้ทุกประเทศที่กล่าวมานี้ มีค่าเงินที่อ่อนลงอย่างเห็นได้ชัดในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมา นั้น สาเหตุหลัก ๆ ไม่ใช่ ประเด็น Tapering เท่านั้น แต่เป็นประเด็นที่เป็นโรคประจำตัวของประเทศ เจ้ากรรม ที่ถูกเขาจัดว่า แย่ เหล่านั้น เป็นปัจจัยหลัก ที่บอกว่า โรคประจำตัว ของประเทศเจ้ากรรมทั้งหลาย ที่ต่อไปนี้ จะถูกต่างชาติ ยกมาเป็นเรื่องโจมตี ว่า เป็นประเทศที่ไม่น่ามาลงทุน ก็คือ ปัญหา เรื่อง ดุลบัญชีสะพัด หรือที่ฝรั่งเขาเรียกว่า Current Account Deficit นั่นเอง การเทขายหุ้น ในตลาดหุ้นอินโดนีเซีย จนทำให้ตลาดตกไปมากกว่า 20% จาก ช่วงที่สูงที่สุด สาเหตุข้ออ้าง ก็คือ เขาพบว่า อินโดนีเซีย มีดุลบัญชีเดินสะพัด ในไตรมาสที่สอง ขาดดุล ถึง 4.4% ของ จีดีพี ทำนองเดียวกัน ที่อินเดีย ซึ่ง เคยมีเม็ดเงินไหลเข้าก่อนหน้านี้ จำนวนมาก บัดนี้ เงินเหล่านั้น ก็กำลังทยอยไหลออก จนค่าเงินรูปี อ่อนลง ไปมาก ในเวลาอันรวดเร็ว ก็พบว่า อินเดีย ก็มี ดุลบัญชีเดินสะพัด ขาดดุลถึง 4.8% ของ จีดีพี ในไตรมาสแรก สิ้นสุด เดือน มีนาคม ของไทยเราล่ะครับ เป็นอย่างไร ? ในไตรมาสที่สองของไทย ก็ปรากฏว่า มีดุลบัญชีเดินสะพัด ขาดดุล แต่ก็น้อยมาก ไม่ถึง 1% เมื่อเทียบกับ จีดีพี เรียกว่า ยังมีของดี แต่ถ้าหาก ปล่อยให้ แย่ลงไปอีก ต่างชาติ คงไม่เลี้ยงไว้ คงนำมา โจมตี อย่างแน่นอน ลิงค์ ต่อไปนี้ ก็ให้ดี ครับ ว่า ประเทศไหนในโลก มีดุลบัญชีเดินสะพัด เทียบกับ จีดีพี เป็นอย่างไร จะพบว่า ของอินโดนีเซีย และอินเดีย ติดลบมานานแล้ว ส่วนของไทย ตอนนั้น ยังเป็นบวก แต่ก็ปริ่ม ๆ ส่วนของมาเลย์เซีย นั้น เคยเกินดุลมาก แต่ก็ลดลงอย่างฮวบฮาบ จึงเป็นสาเหตุที่ต่างชาติเอามาโจมตีด้วย List of countries by current account balance as a percentage of GDP http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_by_current_account_balance_as_a_percentage_of_GDP ข้อมูลก็ค่อนข้างจะ up date พอสมควร สำหรับกรณี ของ มาเลย์เซีย ซึ่ง มองผิวเผิน น่าจะดี เพราะพัฒนาไปไกลกว่าไทยมาก แต่ปรากฏว่า ไส้ใน กำลังแย่ครับ ค่าเงิน ริงกิต ตกไปกว่า 10% ตั้งแต่ปลายเดือน พฤษภา เป็นต้นมา จากการถูกเทขายพันธบัตรรัฐบาลมาเลย์ โดยชาวต่างชาติ แล้วนำเงินออกนอกประเทศ เพราะพันธบัตรรัฐบาล สหรัฐ เริ่มมีผลตอบแทนที่ดีกว่า The ringgit has declined 10 percent against the U.S. dollar since late-May on concerns over a potential capital flight from the country''''''''s government bond market in favor of rising U.S. Treasury yields. ที่น่าเป็นห่วงอยู่ตรงนี้ครับ คือ ชาวต่างชาติถือครองพันธบัตรของรัฐบาลมาเลย์ มากถึง 50% ของพันธบัตรรัฐบาลทั้งหมด ทำให้ ผมต้องรีบกลับมาดูว่า แล้ว ต่างชาติ ถือครองพันธบัตรรัฐบาลของไทย เป็นเงินกี่มากน้อย แล้วถ้าหากมันถอน ออกไปหมด ค่าเงินบาท เรามิต้อง อ่อนยวบเลยหรือ ก็ปรากฏว่า ค่อนข้างสบายใจ ตามข่าวนะครับ บอกว่า ยังมียอดคงค้าง อยู่เพียง 8 แสนกว่าล้านบาท หรือคิดเป็นเงินเหรียญสหรัฐ ก็ประมาณ 3 หมื่นล้านดอลลาร์ คิดแล้วเพียงแค่ 11% ของมูลค่าพันธบัตรทั้งหมด ซึ่ง มีกว่า 7 ล้านล้านบาท ค่อยยัง **** ครับ เพราะ เงินทุนสำรองเงินตราต่างประเทศ ของไทย ในช่วงเดือน สิงหาคม ก็ยังมีอยู่มากกว่า 170 พันล้านดอลลาร์ สหรัฐ หรือ 17 หมื่นล้านดอลลาร์ สหรัฐ ตามข่าวนี้ครับ และ ตามตารางเงินทุนสำรองของ ธปท http://www.thairath.co.th/content/eco/351768 http://www2.bot.or.th/statistics/ReportPage.aspx?reportID=94&language=th%2f http://www.tradingeconomics.com/ (ลิงค์นี้ ก็มีช่อง current account ให้ดูด้วยเช่นกัน ของไทยก็มีในตาราง) มาถึงกล่องสุดท้ายของคืนนี้ บทความนี้ บอกว่า ในช่วงที่มีการเทขาย ทั้งหุ้น และพันธบัตร ของประเทศ Emerging Countries ปรากฏว่า มันไปกระทบกระเทือน ถึง เงินทุนสำรอง เงินตราต่างประเทศ ที่แต่ละประเทศ มีอยู่ เรียกว่า ลดลงไปถึง 8.1 หมื่นล้านดอลลาร์ เรียกว่า เทียบเท่ากับ 2% ของปริมาณ เงินทุนสำรอง ที่มีอยู่ ในกลุ่มประเทศ EM (ไม่นับรวมจีน) ว่ากันว่า อินโดนีเซีย หายไปถึง 13.6% ของเงินทุนสำรองที่มีอยู่ อินเดียลดไป 5.5% ตุรกี ลดลง 12.7% และยูเครน ประมาณ 10% ส่วนของไทยเรานั้น ถ้าหากท่านดูตาราง ของ ธปท ระหว่าง เมษา ถึง กรกฏา จะพบว่า ไม่ระคายผิว เลยครับ พระเจ้าช่วย! However some countries have suffered more precipitous drops. Indonesia has lost 13.6 per cent of its central bank reserves between the end of April and the end of July, Turkey 12.7 per cent and Ukraine burned through almost 10 per cent. India, another country that has seen its currency pummeled in recent months, has shed almost 5.5 per cent of its reserves. Emerging markets central bank reserves drop by $81 billion Published: Thursday, 22 Aug 2013 | 7:00 AM ETBy: Robin Wigglesworth
โดย
crystallization
เสาร์ ก.ย. 14, 2013 1:47 pm
0
3
Re: อินโดนีเซียปรับขึ้นดอกเบี้ย จะเป็นแบบต้มยำก้งไหม
ช่วงนี้ผมเห็นข่าวอินโดบ่อยจัง http://www.biztempnews.com/index.php/economics/item/4368-%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%88%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9C%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%8D%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B8%B4%E0%B8%99 อินโดนีเซียกำลังเผชิญความกดดันอย่างหนัก และกำลังต้องใช้มาตรการผ่อนคลายทางการเงินอย่างรุนแรงที่สุดนับตั้งแต่ปี 2008 เป็นต้นมา นักวิเคราะห์ชี้ หากธนาคารกลางอินโดนีเซียไม่ตัดสินใจขึ้นดอกเบี้ย โอกาสที่จะเผชิญวิกฤติการเงินมีสูง สำนักข่าวบลูมเบิร์กรายงานในวันนี้(13 กันยายน 56)ว่า ในวันพรุ่งนี้ ธนาคารกลางของอินโดนีเซียอาจจะเพิ่มอัตราดอกเบี้ยขึ้นอีกครั้งหนึ่ง และจะเป็นการขึ้นดอกเบี้ยนโยบายเป็นครั้งที่สี่ ในปีนี้ โดยอ้างอิงจากนักวิเคราะห์จำนวน 14 คนที่บลูมเบิร์กได้ทำการสำรวจมา แม้ว่ายังมีนักวิเคราะห์หลายคนที่ยังคาดการณ์ว่า ธนาคารกลางของอินโดนีเซียจะยังคงอัตราดอกเบี้ยเอาไว้ที่เดิม โดยนักวิเคราะห์กลุ่มนี้คาดการณ์ว่า ธนาคารกลางของอินโดนีเซียจะยังคงอัตราดอกเบี้ยเอาไว้ที่ 7% เท่าเดิมในสัปดาห์นี้ และจะเริ่มปรับอัตราดอกเบี้ยขึ้นเป็น 7.5% ในไตรมาสแรกของปีหน้า ความคิดเห็นที่แตกต่างกันเกิดขึ้นท่ามกลาง ภาวะเศรษฐกิจของอินโดนีเซียที่ชะลอตัวลงอย่างรุนแรง การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดจำนวนมาก และอัตราเงินเฟ้อที่ทะยานขึ้นถึง 9% สูงที่สุดนับตั้งแต่ปี 2009 หรือในรอบ 4 ปี รวมทั้งค่าเงินรูเปี๊ยะห์ที่อ่อนค่าลงอย่างแรงถึง 11% ในไตรมาสนี้ นับว่าเป็นการลดลงที่มากที่สุดในบรรดา 24 ประเทศตลาดเกิดใหม่ทั้งหมด โรเบิร์ต ไพรออร์ แวนเดสฟอร์ด นักเศรษฐศาสตร์ของธนาคารเครดิตสุเอซประจำอยู่ที่สิงคโปร์กล่าวว่า อินโดนีเซียจะเผชิญกับความเสี่ยงอย่างมาก และธนาคารกลางของอินโดนีเซียจะเผชิญกับความเสียหายอย่างหนักและจะกระทบต่อค่าเงินรูเปี๊ยะห์อีกอย่างต่อเนื่อง หากว่า ธนาคารกลางของอินโดนีเซียไม่เดินหน้าปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยอย่างต่อเนื่อง “เศรษฐกิจของอินโดนีเซียกำลังตกต่ำอย่างหนัก อาจถึงขั้นเผชิญภาวะถดถอย”เขากล่าว รายงานของบลูมเบิร์กระบุว่า รัฐบาลอินโดนีเซียเปิดขายพันธบัตรจำนวน 1.5 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐฯเมื่อวานนี้ และให้อัตราผลตอบแทนที่สูงที่สุดนับตั้งแต่ปี 2009 เป็นต้นมา ด้วยความหวังว่า จะเห็นเงินทุนที่กำลังไหลออกจากประเทศกลับเข้ามาในประเทศเพื่อซื้อพันธบัตรดังกล่าวอีกครั้ง เพื่อจะได้พยุงค่าเงินรูเปี๊ยะห์ที่กำลังอ่อนค่าลงอย่างรุนแรง ให้กลับคืนมา นอกเหนือจากนั้น ที่นักวิเคราะห์จับตากันมากก็คือ ทุนสำรองเงินตราระหว่างประเทศของอินโดนีเซียที่ ลดต่ำลงมาใกล้ระดับที่ต่ำที่สุดในรอบ 3 ปีเมื่อเดือนที่ผ่านมา ทำให้ผู้บริหารของธนาคารกลางอินโดนีเซียต้องเจรจาทวิภาคี เพิ่มดีลการให้ความช่วยเหลือในการแลกเปลี่ยนเงินในทุนสำรองเพิ่มขึ้นเป็น 12 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ เศรษฐกิจของอินโดนีเซียในไตรมาสที่ผ่านมาขยายตัว 5.8% จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้านี้ นับเป็นอัตราการเติบโตที่ต่ำที่สุดในรอบกว่า 2 ปีที่ผ่านมา “คาดว่าคณะกรรมการนโยบายการเงินจะอภิปรายกันอย่างหนักในที่ประชุมในวันพรุ่งนี้ ถึงประเด็นที่เป็นปัญหาและเร่งหาทางแก้ไข ซึ่งเราคาดว่าจะได้เห็นการเปลี่ยนแปลงจุดยืนในนโยบายการเงินของอินโดนีเซียในวันพรุ่งนี้”ผู้ว่าการธนาคารกลางของอินโดนีเซีย กล่าวกับผู้สื่อข่าวของบลูมเบิร์กที่สิงคโปร์
โดย
crystallization
ศุกร์ ก.ย. 13, 2013 9:40 pm
0
1
Re: รบกวนขอวิธี Edit avatar หน่อยคับ
ได้แล้วครับ copy จาก FORUM ของ http://i.picoodle.com/ เช่น FORUM: http://img15.picoodle.com/i5aq/north55/12pa_841_ucyhq.jpg แล้วตัด [URL=http://i.picoodle.com/8dejg8mm][IMG] ออก เหลือแค่ http://img15.picoodle.com/i5aq/north55/12pa_841_ucyhq.jpg ขอบคุณ คุณ jupiterwin มากๆครับ
โดย
crystallization
อาทิตย์ ต.ค. 28, 2012 8:45 pm
0
0
Re: รบกวนขอวิธี Edit avatar หน่อยคับ
ลองแล้วครับ ยังไม่สามารถ edit ได้ งงง
โดย
crystallization
ศุกร์ ต.ค. 26, 2012 10:16 pm
0
0
Re: แง๊... หุ้นขึ้นกันเยอะ หุ้นผมกลับลงเอาๆ
ไม่เป็นไรครับ มีขึ้นมีลง แต่ยัง under vaue ก้อถือไว้ ผมก้อลงเหมือนกัน :o ดีใจที่มีเพื่อนโดนเหมือนกัน
โดย
crystallization
อาทิตย์ ก.ย. 30, 2012 8:59 am
0
0
Re: วิชาเต่า - ในวิกฤตแห่งตลาดหุ้นยังมีเต่าอยู่เสมอ
ขอชื่นชมในหลักการครับ :D
โดย
crystallization
พฤหัสฯ. เม.ย. 12, 2012 6:00 pm
0
0
Re: ขอเปลี่ยน username ด้วยครับ
ขอเปลี่ยน login เป็น crystallization ด้วยครับ
โดย
crystallization
อาทิตย์ ก.พ. 19, 2012 4:11 pm
0
0
Re: VI meeting ครั้งที่ 2 ชลบุรีและจังหวัดใกล้เคียง
งานจัดได้ดีมากครับ ได้ความรู้และมุมมองต่อหุ้นหลายๆตัว
โดย
crystallization
จันทร์ ธ.ค. 19, 2011 8:08 pm
0
0
Re: หนังสือเศรษฐศาสตร์ราม download ฟรี
ขอบคุณครับ กำลังอยากรู้เรื่องเศรษฐศาสตร์พอดี
โดย
crystallization
เสาร์ ธ.ค. 17, 2011 10:05 am
0
0
Re: VI meeting ครั้งที่ 2 ชลบุรีและจังหวัดใกล้เคียง
ขอจอง 1 ที่ครับ
โดย
crystallization
พุธ พ.ย. 16, 2011 8:15 pm
0
0
หน้า
1
จากทั้งหมด
1
ชื่อล็อกอิน:
crystallization
ระดับ:
สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
กลุ่ม:
สมาชิก
ความถนัด:
Samutprakarn
ที่อยู่:
Thailand
ติดต่อสมาชิก
PM:
ส่งข้อความส่วนตัว
สถิติสมาชิก
ลงทะเบียนเมื่อ:
อาทิตย์ ต.ค. 03, 2010 3:05 pm
ใช้งานล่าสุด:
พุธ ก.ค. 26, 2023 10:29 pm
โพสต์ทั้งหมด:
86 |
ค้นหาเจ้าของโพสต์
(0.00% จากโพสทั้งหมด / 0.02 ข้อความต่อวัน)
ลายเซ็นต์
ไร้กระบวนท่า
ไปที่
การลงทุนแบบเน้นคุณค่า
↳ ห้องร้อยคนร้อยหุ้น
↳ ห้องร้อยคนร้อยหุ้นต่างประเทศ
↳ ไอเดียหุ้นเด้ง
↳ Value Investing
↳ คลังกระทู้คุณค่า
↳ หลักสูตรการลงทุนออนไลน์
↳ ThaiVI GO Series
↳ Oppday Transcript
↳ บทความ
↳ ความรู้งบการเงิน
↳ ร้อยคนร้อยเล่ม / Multimedia Forum
↳ mai Corner
↳ Alternative Investing
↳ หลักสูตรออนไลน์
เรื่องทั่วไป
↳ นั่งเล่น / กีฬา / สุขภาพ
↳ Asking Staff
↳ CSR
×
บันทึกไม่สำเร็จ
กรุณาลองใหม่อีกครั้ง
×
บันทึกสำเร็จแล้ว