เรียนถามพี่วิบูลย์และพี่มนตรี
-
- Verified User
- โพสต์: 46
- ผู้ติดตาม: 0
เรียนถามพี่วิบูลย์และพี่มนตรี
โพสต์ที่ 1
ก่อนอื่นน้องขอรายงานเรื่องหนังสือของพี่ทั้งสองว่ายังมีจำหน่ายอยู่ที่ร้านหนังสือ
ในซอยเสนานิคมคะ อาทิตย์ก่อนเข้าไปหาอ่านยังเจออยู่สี่ห้าเล่ม อ่านแล้วนิ่งขึ้นอีกเยอะเลยคะ
ขอเรียนถามพี่หน่อยนะคะ คือน้องไปดูงบการเงินของบริษัทที่มีหนี้น้อยๆเช่น TAF, AHC, NTV, TR แล้วลองคำนวณแบบหยาบที่สุดโดยใช้ ( กำไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรร + เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด - หนี้สินทั้งหมด ) / จำนวนหุ้น เพื่อดูว่ามูลค่าของหุ้นในกรณีที่เอาเงินที่มีไปจ่ายหนี้แล้วแบ่งกันเลย โดยไม่นับรวมมูลค่าสินค้าคงคลัง เรียกว่า กวาดเงินจากตู้เซฟ มารวมกับเงินในลิ้นชักแล้วเอาไปจ่ายหนี้ เหลือเท่าไหร่มาแบ่งกัน น้องพบว่า TR น่าทึ่งมากเลยคะ ( 6012.50 + 1614.41 - 448.16 ) / 20.160 = 356.09
ราคา TR ล่าสุดอยู่ที่ 364 บาท ถ้าน้องจะบอกตัวเองว่าเจอหุ้นราคาถูก ส่วนจะซื้อหรือไม่เราก็ไปพิจารณาเรื่องอื่นประกอบ อย่างนี้มาถูก step ในการมองหาหุ้นที่จะลงทุนแบบคุณค่าแล้วยังคะ
ในซอยเสนานิคมคะ อาทิตย์ก่อนเข้าไปหาอ่านยังเจออยู่สี่ห้าเล่ม อ่านแล้วนิ่งขึ้นอีกเยอะเลยคะ
ขอเรียนถามพี่หน่อยนะคะ คือน้องไปดูงบการเงินของบริษัทที่มีหนี้น้อยๆเช่น TAF, AHC, NTV, TR แล้วลองคำนวณแบบหยาบที่สุดโดยใช้ ( กำไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรร + เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด - หนี้สินทั้งหมด ) / จำนวนหุ้น เพื่อดูว่ามูลค่าของหุ้นในกรณีที่เอาเงินที่มีไปจ่ายหนี้แล้วแบ่งกันเลย โดยไม่นับรวมมูลค่าสินค้าคงคลัง เรียกว่า กวาดเงินจากตู้เซฟ มารวมกับเงินในลิ้นชักแล้วเอาไปจ่ายหนี้ เหลือเท่าไหร่มาแบ่งกัน น้องพบว่า TR น่าทึ่งมากเลยคะ ( 6012.50 + 1614.41 - 448.16 ) / 20.160 = 356.09
ราคา TR ล่าสุดอยู่ที่ 364 บาท ถ้าน้องจะบอกตัวเองว่าเจอหุ้นราคาถูก ส่วนจะซื้อหรือไม่เราก็ไปพิจารณาเรื่องอื่นประกอบ อย่างนี้มาถูก step ในการมองหาหุ้นที่จะลงทุนแบบคุณค่าแล้วยังคะ
- Mon money
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 3134
- ผู้ติดตาม: 0
เรียนถามพี่วิบูลย์และพี่มนตรี
โพสต์ที่ 3
กำไรสะสมมักจะกลายเป็นสินทรัพย์ไปเป็นส่วนใหญ่ครับ จะมีเหลือเป็นเงินสดก็เพียงแค่พอใช้จ่าย(ยกเว้นWGของพี่ฉัตรเท่านั้นมั่ง)
ในงบดุลตามสมการบัญชีคือ สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
หมายความว่า สินทรัพย์มาได้สองทางคือ จากการก่อหนี้ และ การลงขันกันมาลงทุน
กำไรสะสมจะอยู่ในส่วนทุน เมื่อมีการใช้ไป(ลงทุนในสินทรัพย์ทั้งหวุนเวียนและไม่หมุนเวียน) อาจจะมีเหลือเป็นเงินสดหรือไม่เหลือก็ได้ หลายบริษัทจะผสมเงินทุนส่วนหนึ่งและเงินกู้ส่วนหนึ่ง บางบริษัทกู้ลูกเดียวก็แยอะ
สรุปก็คือ คุณทำอ่างนั้นไม่ได้หรอกครับ เพราะว่ากำไรสะสมกลายร่างเป็นสินทรัพย์ไปบ้างแล้วละ จะดูว่ามีเงินสดเท่าไหร่ให้ดูที่รายการ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดครับ
ในงบดุลตามสมการบัญชีคือ สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
หมายความว่า สินทรัพย์มาได้สองทางคือ จากการก่อหนี้ และ การลงขันกันมาลงทุน
กำไรสะสมจะอยู่ในส่วนทุน เมื่อมีการใช้ไป(ลงทุนในสินทรัพย์ทั้งหวุนเวียนและไม่หมุนเวียน) อาจจะมีเหลือเป็นเงินสดหรือไม่เหลือก็ได้ หลายบริษัทจะผสมเงินทุนส่วนหนึ่งและเงินกู้ส่วนหนึ่ง บางบริษัทกู้ลูกเดียวก็แยอะ
สรุปก็คือ คุณทำอ่างนั้นไม่ได้หรอกครับ เพราะว่ากำไรสะสมกลายร่างเป็นสินทรัพย์ไปบ้างแล้วละ จะดูว่ามีเงินสดเท่าไหร่ให้ดูที่รายการ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดครับ
เป็นบุญหนักหนาเหลือเกินที่ได้เกิดมาเป็นคนไทย เป็นคนไทยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ
-
- Verified User
- โพสต์: 46
- ผู้ติดตาม: 0
เรียนถามพี่วิบูลย์และพี่มนตรี
โพสต์ที่ 6
ว้าาา.. แย่จัง... น้องก็ว่ามันต้องมีอะไรทะแม่งๆอยู่เหมือนกันแหละคะ ยิ่งคุณพี่ JAYCHOU มาทักแต่แรกก็แป่วแล้ว ขอบคุณพี่มนตรีมากคะสำหรับคำอธิบาย
พี่คะน้องขอเรียนถามอีกเรื่องหนึ่งคะ การหามูลค่าของหุ้น(ราคาหุ้นที่ควรจะเป็น)นี่ ถ้าน้องคำนวณโดยใช้ค่า eps เฉลี่ยสมมติว่าจากสี่เดือนสุดท้ายมา extrapolate
เป็นกำไรสุทธิในอนาคตแล้วใช้่p/eที่เราคิดว่าเหมาะสมมาคูณเพื่อให้ได้มูลค่า
ในอนาคต จากนั้นdiscount backกลับมาเป็นราคาในปัจจุบัน ถ้าหุ้นตัวนี้เป็นหุ้นที่เราดูแล้วว่าดีหากราคาตลาดต่ำกว่าราคาที่เราคำนวณได้
้เราก็เข้าไปซื้อ ทำอย่างนี้ราคาที่น้องคำนวณมาได้จะคลาดเคลื่อนจากราคา
ที่ได้ี่มาจากการใช้วิธี discount cashflow หรือวิธีอื่นๆที่ซับซ้อน(สำหรับน้อง)ที่พี่ๆใช้กันมากมั้ยคะ
คือน้องดูตัวอย่างการวิเคราะห์งบดุลหุ้นCHOTIจากหนังสือ"ตีแตก"ของท่าน
ดร.นิเวศน์ก็เห็นท่านคิดคร่าวๆประมาณนี้ไม่ได้ใช้วิธีที่ละเอียดซับซ้อนแบบที่
พี่หลายๆคนในwebนี้ใช้กัน
ขอบพระคุณสำหรับความช่วยเหลือของพี่ๆมากคะ
......น้องกำลังทำ"อ่าง"อย่างที่พี่เค้าว่าไว้จริงๆคะ..... เอาไว้ให้"ห่านทองคำ"ที่หามาได้ลงไปเล่นน้ำ พอเล่นเบื่อแล้วก็ขึ้นมา"ไข่"ให้น้องงัยคะ :lol:
พี่คะน้องขอเรียนถามอีกเรื่องหนึ่งคะ การหามูลค่าของหุ้น(ราคาหุ้นที่ควรจะเป็น)นี่ ถ้าน้องคำนวณโดยใช้ค่า eps เฉลี่ยสมมติว่าจากสี่เดือนสุดท้ายมา extrapolate
เป็นกำไรสุทธิในอนาคตแล้วใช้่p/eที่เราคิดว่าเหมาะสมมาคูณเพื่อให้ได้มูลค่า
ในอนาคต จากนั้นdiscount backกลับมาเป็นราคาในปัจจุบัน ถ้าหุ้นตัวนี้เป็นหุ้นที่เราดูแล้วว่าดีหากราคาตลาดต่ำกว่าราคาที่เราคำนวณได้
้เราก็เข้าไปซื้อ ทำอย่างนี้ราคาที่น้องคำนวณมาได้จะคลาดเคลื่อนจากราคา
ที่ได้ี่มาจากการใช้วิธี discount cashflow หรือวิธีอื่นๆที่ซับซ้อน(สำหรับน้อง)ที่พี่ๆใช้กันมากมั้ยคะ
คือน้องดูตัวอย่างการวิเคราะห์งบดุลหุ้นCHOTIจากหนังสือ"ตีแตก"ของท่าน
ดร.นิเวศน์ก็เห็นท่านคิดคร่าวๆประมาณนี้ไม่ได้ใช้วิธีที่ละเอียดซับซ้อนแบบที่
พี่หลายๆคนในwebนี้ใช้กัน
ขอบพระคุณสำหรับความช่วยเหลือของพี่ๆมากคะ
......น้องกำลังทำ"อ่าง"อย่างที่พี่เค้าว่าไว้จริงๆคะ..... เอาไว้ให้"ห่านทองคำ"ที่หามาได้ลงไปเล่นน้ำ พอเล่นเบื่อแล้วก็ขึ้นมา"ไข่"ให้น้องงัยคะ :lol:
- sirivajj
- Verified User
- โพสต์: 985
- ผู้ติดตาม: 0
เรียนถามพี่วิบูลย์และพี่มนตรี
โพสต์ที่ 7
ผมคงไม่แสดงความเห็นเพิ่มเติมนะครับ ว่า ทำไมมันไม่น่าจะใช้ได้
แต่จากมุมมองข้างต้น ทำให้เกิดความอยากรู้ขึ้นมาว่า
จะมีบริษัทไหนบ้างครับ ที่
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด - หนี้สินทั้งหมดแล้ว ผลยังออกมาเป็นบวก
ลืมโจทย์กับการบ้านข้อนี้ไปแล้ว ใครที่มีพอมีคำตอบแวะมาเล่าสู่กันฟัง
หรือแสดงความเห็นด้วย จะขอบคุณยิ่งครับ
แต่จากมุมมองข้างต้น ทำให้เกิดความอยากรู้ขึ้นมาว่า
จะมีบริษัทไหนบ้างครับ ที่
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด - หนี้สินทั้งหมดแล้ว ผลยังออกมาเป็นบวก
ลืมโจทย์กับการบ้านข้อนี้ไปแล้ว ใครที่มีพอมีคำตอบแวะมาเล่าสู่กันฟัง
หรือแสดงความเห็นด้วย จะขอบคุณยิ่งครับ
What do you mean.?
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 2035
- ผู้ติดตาม: 0
เรียนถามพี่วิบูลย์และพี่มนตรี
โพสต์ที่ 8
มันง่ายอย่างนั้นหรือครับSriracha เขียน: พี่คะน้องขอเรียนถามอีกเรื่องหนึ่งคะ การหามูลค่าของหุ้น(ราคาหุ้นที่ควรจะเป็น)นี่ ถ้าน้องคำนวณโดยใช้ค่า eps เฉลี่ยสมมติว่าจากสี่เดือนสุดท้ายมา extrapolate
เป็นกำไรสุทธิในอนาคตแล้วใช้่p/eที่เราคิดว่าเหมาะสมมาคูณเพื่อให้ได้มูลค่า
ในอนาคต จากนั้นdiscount backกลับมาเป็นราคาในปัจจุบัน ถ้าหุ้นตัวนี้เป็นหุ้นที่เราดูแล้วว่าดีหากราคาตลาดต่ำกว่าราคาที่เราคำนวณได้
้เราก็เข้าไปซื้อ ทำอย่างนี้ราคาที่น้องคำนวณมาได้จะคลาดเคลื่อนจากราคา
ที่ได้ี่มาจากการใช้วิธี discount cashflow หรือวิธีอื่นๆที่ซับซ้อน(สำหรับน้อง)ที่พี่ๆใช้กันมากมั้ยคะ
สำหรับผม
ผมว่าถ้าเรามองอนาคตบริษัทออกและมั่นใจในสมมุติฐานของเรา
น่าจะดีกว่าการนำกำไรสุทธิย้อนกลังมาextrapolate นะครับ
ถ้านึกไม่ออก
ให้ไปดูหุ้น CEI
กำไรย้อนหลังดีมากๆ
แต่เมื่อลูกค้ารายใหญ่ยกเลิกออร์เดอร์เท่านั้นหละ
เป็นเรื่องทันที
ถ้าการลงุทนเป็นแค่เรื่องการคำนวณอย่างเดียว
คนจบวิชาคณิตศาสตร์ก็น่าจะเป็นคนที่รวยที่สุดในโลกนะครับ
อ้อ อีกอย่าง อาจารย์นิเวศน์ก็บอกว่า ไม่ใด้ใช้ DCF ครับ
ใช้มองทะลุบริษัทให้ออก แล้วซื้อหุ้นในราคาที่ไม่แพง
การซื้อหุ้นควรดูการวิเคาระห์เชิงคุณภาพของบริษัทด้วยครับ
นอกเหนือจากการคำนวณมูลค่าหุ้น (ขอย้ำว่าไม่ใช่คำนวณ"ราคาหุ้น")
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 9795
- ผู้ติดตาม: 0
เรียนถามพี่วิบูลย์และพี่มนตรี
โพสต์ที่ 9
อ๋อ มิน่าล่ะ ผมถึงไม่รวยซ๊ากกาที :lovl:ถ้าการลงุทนเป็นแค่เรื่องการคำนวณอย่างเดียว
คนจบวิชาคณิตศาสตร์ก็น่าจะเป็นคนที่รวยที่สุดในโลกนะครับ
อ่ะแฮ่ม ขอแถลงแก้ต่างให้คนจบคณิตศาสตร์หน่อยครับ
คนจบคณิตศาสตร์ไม่ได้คำนวณเก่งนะครับ บางคนบวกเลข
สองหลักยังผิดประจำเลย (แบบผม)
-
- Verified User
- โพสต์: 46
- ผู้ติดตาม: 0
เรียนถามพี่วิบูลย์และพี่มนตรี
โพสต์ที่ 10
เรียนพี่วิบูลย์คะ
ในส่วนที่น้องถามน้องสมมติไว้ว่าเป็นหุ้นที่ดีคะ หมายถึงว่าได้ผ่านการวิเคราะห์ในเชิงปริมาณเช่นสภาพหนี้สิน, อัตราการเติบโตของยอดขายและกำไร, ROA, ROE, ฯลฯ และเชิงคุณภาพเช่นแนวโน้มธุรกิจในอนาคต, SWOT มาแล้วถูกใจเรา แต่หุ้นดียังไม่ควรซื้อเสมอไปใช่มั้ยคะ ต้องราคาดีด้วย ก็เลยเรียนถามพี่นะคะว่าวิธีหาราคาหุ้นดังกล่าวหยาบหรือคลาดเคลื่อนจาก
ราคาที่ได้จากการคำนวณอย่างลึกซึ้งมากมั้ยคะ หรือว่าน้องพอจะอาศัยใช้เป็นแนวทางคร่าวๆได้แล้วไปใส่น้ำหนัก safety factor ให้มากไว้นิด (เช่นกดค่า p/e ให้ต่ำไว้หน่อย)แทน
รบกวนด้วยคะเพราะน้องค่อนข้างจะฝืดมากเลยกับ financial calculation
ในส่วนที่น้องถามน้องสมมติไว้ว่าเป็นหุ้นที่ดีคะ หมายถึงว่าได้ผ่านการวิเคราะห์ในเชิงปริมาณเช่นสภาพหนี้สิน, อัตราการเติบโตของยอดขายและกำไร, ROA, ROE, ฯลฯ และเชิงคุณภาพเช่นแนวโน้มธุรกิจในอนาคต, SWOT มาแล้วถูกใจเรา แต่หุ้นดียังไม่ควรซื้อเสมอไปใช่มั้ยคะ ต้องราคาดีด้วย ก็เลยเรียนถามพี่นะคะว่าวิธีหาราคาหุ้นดังกล่าวหยาบหรือคลาดเคลื่อนจาก
ราคาที่ได้จากการคำนวณอย่างลึกซึ้งมากมั้ยคะ หรือว่าน้องพอจะอาศัยใช้เป็นแนวทางคร่าวๆได้แล้วไปใส่น้ำหนัก safety factor ให้มากไว้นิด (เช่นกดค่า p/e ให้ต่ำไว้หน่อย)แทน
รบกวนด้วยคะเพราะน้องค่อนข้างจะฝืดมากเลยกับ financial calculation
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 2035
- ผู้ติดตาม: 0
เรียนถามพี่วิบูลย์และพี่มนตรี
โพสต์ที่ 11
อ้าว เฮียCK จบคณิตศาสตร์หรือครับ เพิ่งรู้
ตอนเรียนวิชาแคลลูลัส ผมยังไม่รู้เลยว่าเอาไปใช้ทำอะไร
แต่พอมาเรียนกลศาสตร์ Static Dynamic เท่านั้นหละครับ
ถึงรู้ว่าDifferentiate กับ Intregration นี่มันทำให้ผมสอบตกได้ F ได้ง่ายๆ ฮ่า ฮ่า
ตอนเรียนวิชาแคลลูลัส ผมยังไม่รู้เลยว่าเอาไปใช้ทำอะไร
แต่พอมาเรียนกลศาสตร์ Static Dynamic เท่านั้นหละครับ
ถึงรู้ว่าDifferentiate กับ Intregration นี่มันทำให้ผมสอบตกได้ F ได้ง่ายๆ ฮ่า ฮ่า
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 9795
- ผู้ติดตาม: 0
เรียนถามพี่วิบูลย์และพี่มนตรี
โพสต์ที่ 14
pure math ครับ ไม่ใช่ stats แต่เคยศึกษา statistics ไว้ประดับความรู้บ้าง
ตปท.ไม่ได้จบวิชาอะไรเป็นชิ้นเป็นอัน ปริญญาบัตรก็ทิ้งไปแล้ว (จริงๆ)
diff equa ผมเกือบได้เอฟครับ ถ้าไม่ใช่เพราะอาจารย์มีเมตตา
สรุปแล้ว ไม่ค่อยกล้าบอกว่าตัวเองจบที่ไหน กลัวสถาบันเสียชื่อ :lovl:
น้องศรีฯครับ มูลค่าหุ้นคำนวณได้หลายแบบ ถ้าเป็นผู้จัดการกองทุนก็
ต้องทำหลายๆ แบบ แต่สิ่งที่สำคัญคือ เราเข้าใจธุรกิจนั้นหรือเปล่า
การคำนวณหุ้นโดยไม่ได้ลงไปดูรายละเอียดว่า ตัวเลขที่เราเอามาคำนวณ
มันมาได้อย่างไร น่าจะแย่ยิ่งกว่าไม่คำนวณเลยด้วยซ้ำครับ เพราะตัวเลข
มูลค่าที่เราได้มา อาจจะผิดโดยสิ้นเชิง
ยิ่งถ้าไม่เข้าใจธุรกิจ เรายิ่งไม่มีทางรู้เลยว่า ตัวเลขที่เอามาใช้ ถึงแม้จะ
ถูกต้องณ วันนี้ วันข้างยังจะเป็นอย่างนี้อีกหรือไม่
อย่างที่พี่ฉัตรชัยว่า ดูธุรกิจก่อน คำนวณมูลค่าเพื่อความมั่นใจว่าไม่ได้ซื้อแพง
ตปท.ไม่ได้จบวิชาอะไรเป็นชิ้นเป็นอัน ปริญญาบัตรก็ทิ้งไปแล้ว (จริงๆ)
diff equa ผมเกือบได้เอฟครับ ถ้าไม่ใช่เพราะอาจารย์มีเมตตา
สรุปแล้ว ไม่ค่อยกล้าบอกว่าตัวเองจบที่ไหน กลัวสถาบันเสียชื่อ :lovl:
น้องศรีฯครับ มูลค่าหุ้นคำนวณได้หลายแบบ ถ้าเป็นผู้จัดการกองทุนก็
ต้องทำหลายๆ แบบ แต่สิ่งที่สำคัญคือ เราเข้าใจธุรกิจนั้นหรือเปล่า
การคำนวณหุ้นโดยไม่ได้ลงไปดูรายละเอียดว่า ตัวเลขที่เราเอามาคำนวณ
มันมาได้อย่างไร น่าจะแย่ยิ่งกว่าไม่คำนวณเลยด้วยซ้ำครับ เพราะตัวเลข
มูลค่าที่เราได้มา อาจจะผิดโดยสิ้นเชิง
ยิ่งถ้าไม่เข้าใจธุรกิจ เรายิ่งไม่มีทางรู้เลยว่า ตัวเลขที่เอามาใช้ ถึงแม้จะ
ถูกต้องณ วันนี้ วันข้างยังจะเป็นอย่างนี้อีกหรือไม่
อย่างที่พี่ฉัตรชัยว่า ดูธุรกิจก่อน คำนวณมูลค่าเพื่อความมั่นใจว่าไม่ได้ซื้อแพง
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 2035
- ผู้ติดตาม: 0
เรียนถามพี่วิบูลย์และพี่มนตรี
โพสต์ที่ 15
หุ้นดีแต่ราคาสูง อาจจะไม่ใช่"การลงทุน"ที่ดีSriracha เขียน:เรียนพี่วิบูลย์คะ
ในส่วนที่น้องถามน้องสมมติไว้ว่าเป็นหุ้นที่ดีคะ หมายถึงว่าได้ผ่านการวิเคราะห์ในเชิงปริมาณเช่นสภาพหนี้สิน, อัตราการเติบโตของยอดขายและกำไร, ROA, ROE, ฯลฯ และเชิงคุณภาพเช่นแนวโน้มธุรกิจในอนาคต, SWOT มาแล้วถูกใจเรา แต่หุ้นดียังไม่ควรซื้อเสมอไปใช่มั้ยคะ ต้องราคาดีด้วย
ก็ใช้ได้ครับSriracha เขียน:ก็เลยเรียนถามพี่นะคะว่าวิธีหาราคาหุ้นดังกล่าวหยาบหรือคลาดเคลื่อนจาก
ราคาที่ได้จากการคำนวณอย่างลึกซึ้งมากมั้ยคะ หรือว่าน้องพอจะอาศัยใช้เป็นแนวทางคร่าวๆได้แล้วไปใส่น้ำหนัก safety factor ให้มากไว้นิด (เช่นกดค่า p/e ให้ต่ำไว้หน่อย)แทน
เรียกว่าไม่มีวิธีไหนถูก 100%
และไม่มีวิธีไหนผิด 100%
แต่ก่อนผมใช้คอมพิวเตอร์คำนวณหามูลค่าหุ้นครับ
ใส่สูตรไปเพียบเลย
สุดท้ายก็"ขาดทุน"อยู่ดี
เพราะเรามัวแต่สนใจราคาหุ้นมากกว่าการดำเนินงานของธุรกิจ
ปัจจุบันคืนสู่สามัญ ใช้คิดในใจเอาครับ
ก็ต้องลองทำหลายๆวิธี
แล้วประสบการณ์จะสอนเราเองว่า
จะหามูลค่าได้อย่างไร วิธีไหนเหมาะสม
ของอย่างนี้ต้อง"ฝึก"ครับSriracha เขียน:รบกวนด้วยคะเพราะน้องค่อนข้างจะฝืดมากเลยกับ financial calculation
ยิ่งฝึกมากๆจะเข้าใจเอง
โชคดีครับ
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 2035
- ผู้ติดตาม: 0
เรียนถามพี่วิบูลย์และพี่มนตรี
โพสต์ที่ 16
5 5 5CK เขียน: สรุปแล้ว ไม่ค่อยกล้าบอกว่าตัวเองจบที่ไหน กลัวสถาบันเสียชื่อ :lovl:
ใช่แล้วๆCK เขียน:น้องศรีฯครับ มูลค่าหุ้นคำนวณได้หลายแบบ ถ้าเป็นผู้จัดการกองทุนก็
ต้องทำหลายๆ แบบ แต่สิ่งที่สำคัญคือ เราเข้าใจธุรกิจนั้นหรือเปล่า
การคำนวณหุ้นโดยไม่ได้ลงไปดูรายละเอียดว่า ตัวเลขที่เราเอามาคำนวณ
มันมาได้อย่างไร น่าจะแย่ยิ่งกว่าไม่คำนวณเลยด้วยซ้ำครับ เพราะตัวเลข
มูลค่าที่เราได้มา อาจจะผิดโดยสิ้นเชิง
เห็นด้วย 100%CK เขียน: ยิ่งถ้าไม่เข้าใจธุรกิจ เรายิ่งไม่มีทางรู้เลยว่า ตัวเลขที่เอามาใช้ ถึงแม้จะ
ถูกต้องณ วันนี้ วันข้างยังจะเป็นอย่างนี้อีกหรือไม่
อย่างที่พี่ฉัตรชัยว่า ดูธุรกิจก่อน คำนวณมูลค่าเพื่อความมั่นใจว่าไม่ได้ซื้อแพง