แจ็ค มาสอน valuation หน่อย
- Tongue
- Verified User
- โพสต์: 725
- ผู้ติดตาม: 0
แจ็ค มาสอน valuation หน่อย
โพสต์ที่ 2
ผมลากมาเองพี่ jack เวล เอ้ย jack เฉยๆ ครับ
เพื่อนที่ mif
ตอนทำงานกลุ่มเห็นเก่ง valuation ดีครับ เลยชวนมาคุยครับ
เพื่อนที่ mif
ตอนทำงานกลุ่มเห็นเก่ง valuation ดีครับ เลยชวนมาคุยครับ
- Tongue
- Verified User
- โพสต์: 725
- ผู้ติดตาม: 0
แจ็ค มาสอน valuation หน่อย
โพสต์ที่ 5
หวัดดี คุณ jack กำลังจะหลับพอดี
แนะนำก่อน คุณ jack เป็นเพื่อนเรียนที่ MIF ครับ
เข้าเรื่องเลยดีกว่า
คืออธิบาย valuation หน่อยสิ คือ ไม่ค่อยรู้เรื่องอ่ะ
เอา RIM ดีกว่า เห็นแปลกดี
มันคือ อะไรอ่ะ
แนะนำก่อน คุณ jack เป็นเพื่อนเรียนที่ MIF ครับ
เข้าเรื่องเลยดีกว่า
คืออธิบาย valuation หน่อยสิ คือ ไม่ค่อยรู้เรื่องอ่ะ
เอา RIM ดีกว่า เห็นแปลกดี
มันคือ อะไรอ่ะ
-
- Verified User
- โพสต์: 5
- ผู้ติดตาม: 0
แจ็ค มาสอน valuation หน่อย
โพสต์ที่ 7
เอาเท่าที่พอรู้นะครับ
มันก็เป็นวิธีประเมินมูลค่าแบบหนึ่งครับ
คล้าย Valuation โดย EVA แต่ต่างกันตรงที่ว่า RIM ประเมินมูลค่าEquity ตรงๆ แต่ EVA จะประเมิน Firm ครับ
หลักการคร่าวๆของทั้งสองตัวก็คือจะมองที่ Value added
สำหรับ RIM value added ที่ว่าก็คือ Net income - Expected return จากการใช้ owner equity นั้นๆก็ประมาณ cost of equity * owner equity in T-1
ส่วนที่เกินมาเราเรียกมันว่า abnormal return ครับ แล้ว ก็ Project ไปเรื่อยๆแล้วคิดลดกลับมาที่ปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดคือ cost of equity ได้เท่าไรก็บวกไปบน owner equity ณ ปัจจุบันครับ
ทีนี้ก็จะได้ value of equity ครับ
พิมพ์ไปก็งงไป ครับ แต่เชื่อว่าอ่านช้าๆแล้วจะเข้าใจครับ
มันก็เป็นวิธีประเมินมูลค่าแบบหนึ่งครับ
คล้าย Valuation โดย EVA แต่ต่างกันตรงที่ว่า RIM ประเมินมูลค่าEquity ตรงๆ แต่ EVA จะประเมิน Firm ครับ
หลักการคร่าวๆของทั้งสองตัวก็คือจะมองที่ Value added
สำหรับ RIM value added ที่ว่าก็คือ Net income - Expected return จากการใช้ owner equity นั้นๆก็ประมาณ cost of equity * owner equity in T-1
ส่วนที่เกินมาเราเรียกมันว่า abnormal return ครับ แล้ว ก็ Project ไปเรื่อยๆแล้วคิดลดกลับมาที่ปัจจุบันโดยใช้อัตราคิดลดคือ cost of equity ได้เท่าไรก็บวกไปบน owner equity ณ ปัจจุบันครับ
ทีนี้ก็จะได้ value of equity ครับ
พิมพ์ไปก็งงไป ครับ แต่เชื่อว่าอ่านช้าๆแล้วจะเข้าใจครับ
- Tongue
- Verified User
- โพสต์: 725
- ผู้ติดตาม: 0
แจ็ค มาสอน valuation หน่อย
โพสต์ที่ 9
พิมพ์ไปก็งงไป ครับ แต่เชื่อว่าอ่านช้าๆแล้วจะเข้าใจครับ
เหอๆ ไม่เห็นรู้เรื่องเลย
อืมม์ คือกำลังบอกว่า การ valuate นี่มีหลักๆ อยู่ 2 อย่าง
คือ ประเมิณทั้ง firm กับ ประเมิณเฉพาะ equity ใช่ไหม
เท่าที่จำได้ DCF นี่จะประเมิณทั้งบริษัทโดยผ่าน กระแสเงินสด ถูกไหม
ถ้าจะเอาเฉพาะ equity ก็มาลบออกทีหลัง
แล้วแบบไหนมันดีกว่า หรือไม่ดีกว่า มันต่างกันยังไง
อืมม์ แล้ว cost of equity นี่หาไงเนี่ย ลืม
แล้วทำไมต้อง คูณ equity ใน T-1 ด้วยล่ะ
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
แจ็ค มาสอน valuation หน่อย
โพสต์ที่ 11
ผมไม่รู้เรื่องเลย ให้ตายเถอะ จะบ้าตาย คุยอะไรกันเนี้ย
เค้ามามั่วๆในนี้มาเป็นปีแล้ว ไม่มีพัฒนาการเลย :lovl: :lovl: :lovl:
ได้แต่มั่วตอบไปเรื่อยๆ
เค้ามามั่วๆในนี้มาเป็นปีแล้ว ไม่มีพัฒนาการเลย :lovl: :lovl: :lovl:
ได้แต่มั่วตอบไปเรื่อยๆ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- Verified User
- โพสต์: 5
- ผู้ติดตาม: 0
แจ็ค มาสอน valuation หน่อย
โพสต์ที่ 12
ครับ เรา evaluate จาก2วิธีครับคือ ทั้งfirm ก่อนแล้วค่อยหักออกด้วย หนี้สินที่แสดงในงบดุลก็จะได้มูลค่าของEquity กับอีกวิธีคือ ประเมินequity ครงๆเลย
ส่วนที่ตั๋งถาม
DCF, Discounted cash flow จะประเมินทั้งfirm โดยคำนึงถึง Free cash flow ที่ กิจการจะสร้างได้ในอนาคต แล้ว คิดลดด้วย cost of capital ทีนี้เราอยากทราบมูลค่า equity เราก็เอาหนี้สินตามงบดุลไปหักออกก็จะทราบค่าที่ต้องการครับ
ส่วนที่ต้องคูณด้วย T-1 อันนี้เข้าใจว่าเป็นคำถามติดพันมาจาก RIM คือ ง่ายๆก็ เราใช้ Owner equity ใน period 1 to generate return in period 2 that the reason why T-1, given that T is present time
ส่วนที่ตั๋งถาม
DCF, Discounted cash flow จะประเมินทั้งfirm โดยคำนึงถึง Free cash flow ที่ กิจการจะสร้างได้ในอนาคต แล้ว คิดลดด้วย cost of capital ทีนี้เราอยากทราบมูลค่า equity เราก็เอาหนี้สินตามงบดุลไปหักออกก็จะทราบค่าที่ต้องการครับ
ส่วนที่ต้องคูณด้วย T-1 อันนี้เข้าใจว่าเป็นคำถามติดพันมาจาก RIM คือ ง่ายๆก็ เราใช้ Owner equity ใน period 1 to generate return in period 2 that the reason why T-1, given that T is present time
- Tongue
- Verified User
- โพสต์: 725
- ผู้ติดตาม: 0
แจ็ค มาสอน valuation หน่อย
โพสต์ที่ 14
ใช่แล้ว โดยหลักการ 2 วิธีนี้ แตกต่างกันอย่างไร
อย่าง DCF ก็เป็นวิธีที่ดีและนิยมใช้อยู่แล้ว เพราะมันมองทั้ง หนี้และทุน
ทีนี้ RIM มันมองแต่ส่วนทุน มันมีหลักการอย่างไรเหรอ
ทำไมถึงไม่มองหนี้สิน ตอนนั้นนายอธิบายไว้โอเคเลย แต่เราจำไม่ได้แล้ว 555 ขออีกทีดิ่
อ้อ ตอบตามความเข้าใจนะ สบายๆ คุยกันเล่นๆ
อย่าง DCF ก็เป็นวิธีที่ดีและนิยมใช้อยู่แล้ว เพราะมันมองทั้ง หนี้และทุน
ทีนี้ RIM มันมองแต่ส่วนทุน มันมีหลักการอย่างไรเหรอ
ทำไมถึงไม่มองหนี้สิน ตอนนั้นนายอธิบายไว้โอเคเลย แต่เราจำไม่ได้แล้ว 555 ขออีกทีดิ่
อ้อ ตอบตามความเข้าใจนะ สบายๆ คุยกันเล่นๆ
-
- Verified User
- โพสต์: 5
- ผู้ติดตาม: 0
แจ็ค มาสอน valuation หน่อย
โพสต์ที่ 15
เรื่องหนี้ก่อนแล้วกันนะครับ
สมมติว่าเรามีพันธบัตร 100 บาท อัตราดอกเบี้ย 8% ดอกเบี้ยตลาดสมมติว่า 5%
มูลค่าตลาดของพันธบัตรเราควรจะมากกว่า 100 บาท
อันนี้เป็นเรื่องของมูลค่าตลาดนะ
แต่เรื่องหนี้สิน โดยปกติถ้าเราเป็นหนี้ 100 บาทเราก็รับรู้ว่าเรามีภาระที่ต้องจ่าย 100บาท แล้วก็บันทึก 100บาท ลงในงบดุล
และที่สุดเราก็จ่ายคืนตามที่ปรากฎบนงบดุล เราไม่ได้จ่ายคืนที่มูลค่าตลาดนะ
สมมติว่าเรามีพันธบัตร 100 บาท อัตราดอกเบี้ย 8% ดอกเบี้ยตลาดสมมติว่า 5%
มูลค่าตลาดของพันธบัตรเราควรจะมากกว่า 100 บาท
อันนี้เป็นเรื่องของมูลค่าตลาดนะ
แต่เรื่องหนี้สิน โดยปกติถ้าเราเป็นหนี้ 100 บาทเราก็รับรู้ว่าเรามีภาระที่ต้องจ่าย 100บาท แล้วก็บันทึก 100บาท ลงในงบดุล
และที่สุดเราก็จ่ายคืนตามที่ปรากฎบนงบดุล เราไม่ได้จ่ายคืนที่มูลค่าตลาดนะ
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 11444
- ผู้ติดตาม: 1
แจ็ค มาสอน valuation หน่อย
โพสต์ที่ 16
ถ้าบริษัท A และ B มีหนี้เงินกู้ 100 ล้านบาทเท่ากัน อัตราดอกเบี้ย 3% เท่ากัน แต่เทอมผ่อนชำระหนี้เงินต้นไม่เหมือนกัน
บริษัท A ปีแรก ชำระ 10 ล้านบาท
ปีที่สอง ชำระ 10 ล้านบาท
ปีที่สาม ชำระ 80 ล้านบาท
บริษัท B ปีแรก ชำระ 80 ล้านบาท
ปีที่สอง ชำระ 10 ล้านบาท
ปีที่สาม ชำระ 10 ล้านบาท
โดยทั้งบริษัท A และ B มี ROA 7%
คุณคิดว่า มูลค่าบริษัท A และ B เหมือนกันไหม
บริษัท A ปีแรก ชำระ 10 ล้านบาท
ปีที่สอง ชำระ 10 ล้านบาท
ปีที่สาม ชำระ 80 ล้านบาท
บริษัท B ปีแรก ชำระ 80 ล้านบาท
ปีที่สอง ชำระ 10 ล้านบาท
ปีที่สาม ชำระ 10 ล้านบาท
โดยทั้งบริษัท A และ B มี ROA 7%
คุณคิดว่า มูลค่าบริษัท A และ B เหมือนกันไหม
จงอยู่เหนือความดี อย่าหลงความดี
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 3645
- ผู้ติดตาม: 1
แจ็ค มาสอน valuation หน่อย
โพสต์ที่ 20
RIM เค้าไม่สนใจกระแสเงินสดรึเปล่าครับ
เค้าจะดูแค่ว่าปัจจุบันบริษัทมีส่วนของผู้ถือหุ้นเท่าไหร่ และในอนาคตคิดว่าบริษัทจะทำ Return ได้มากกว่าที่ผู้ถือหุ้นต้องการ(ซึ่งต้องประมาณการณ์เอา)เท่าไหร่(ที่คุณ jack บอกไปแล้วเรียกว่า Abnormal Return) แล้วคิดลดกับมาเป็นมูลค่าปัจจุบันแล้วบวกกับส่วนของผู้ถือหุ้นที่มีอยู่ในปัจจุบัน
RIM จะขจัดจุดด้อยของ DCF ในการที่ต้องประมาณกระแสเงินสดในอนาคตซึ่งเกือบร้อยเปอร์เซ็นต์จะคลาดเคลื่อนไปมาก ของ RIM เค้าจะอยู่บนพื้นฐานของสิ่งที่มีอยู่ในปัจจุบันครับ เลยเชื่อว่าจะลดความคลาดเคลื่อนในการทำประมาณการมูลค่าหุ้นได้มากกว่า อันนี้ก็แล้วแต่ความเชื่อครับ
ป.ล. เรียนผ่านมานานแล้ว ผิดถูกยังไงแย้งได้ครับ
เค้าจะดูแค่ว่าปัจจุบันบริษัทมีส่วนของผู้ถือหุ้นเท่าไหร่ และในอนาคตคิดว่าบริษัทจะทำ Return ได้มากกว่าที่ผู้ถือหุ้นต้องการ(ซึ่งต้องประมาณการณ์เอา)เท่าไหร่(ที่คุณ jack บอกไปแล้วเรียกว่า Abnormal Return) แล้วคิดลดกับมาเป็นมูลค่าปัจจุบันแล้วบวกกับส่วนของผู้ถือหุ้นที่มีอยู่ในปัจจุบัน
RIM จะขจัดจุดด้อยของ DCF ในการที่ต้องประมาณกระแสเงินสดในอนาคตซึ่งเกือบร้อยเปอร์เซ็นต์จะคลาดเคลื่อนไปมาก ของ RIM เค้าจะอยู่บนพื้นฐานของสิ่งที่มีอยู่ในปัจจุบันครับ เลยเชื่อว่าจะลดความคลาดเคลื่อนในการทำประมาณการมูลค่าหุ้นได้มากกว่า อันนี้ก็แล้วแต่ความเชื่อครับ
ป.ล. เรียนผ่านมานานแล้ว ผิดถูกยังไงแย้งได้ครับ
It's earnings that count
-
- Verified User
- โพสต์: 5
- ผู้ติดตาม: 0
แจ็ค มาสอน valuation หน่อย
โพสต์ที่ 21
เหมือนคุณ Blueblood บอกเลยครับ
คือ RIM มันจะมีขั้นตอนน้อยกว่าและก็ทำให้สิ่งที่เราต้องตั้งเป็นสมมติฐานน้อยกว่า
ผมเข้าใจว่าจุดนี้ทำให้มันน่าเชื่อถือกว่า....ผมว่านะ
แล้วก็เพิ่มเติมนิดนึงนะครับ
คือ RIM มันเป็นวิธีประเมิน value of equity ตรงๆซึ่งโดยทั่วไปเราจะใช้อยู่2 model , DDM and RIM ซึ่งผมว่าเป็นคู่เปรียบเทียบตรงๆ
แต่ DDM เราต้องมีสมมติฐานที่ว่ากิจการมี dividend ทุกปีซึ่งในส่วนของ dividend ก็ประกอบด้วย dividend paid ,common stock issued, treasury stock ซึ่งบางกิจการไม่มีกิจกรรมดังกล่าวเลยเช่นใน 5 ปีหลัง ทีนี้ถ้าจะใช้วิธีนี้ก็ต้องตั้งสมมติฐาน
แล้วผมว่า คนที่ต้องประเมินจะรู้สึกขัดๆนะ
คือ RIM มันจะมีขั้นตอนน้อยกว่าและก็ทำให้สิ่งที่เราต้องตั้งเป็นสมมติฐานน้อยกว่า
ผมเข้าใจว่าจุดนี้ทำให้มันน่าเชื่อถือกว่า....ผมว่านะ
แล้วก็เพิ่มเติมนิดนึงนะครับ
คือ RIM มันเป็นวิธีประเมิน value of equity ตรงๆซึ่งโดยทั่วไปเราจะใช้อยู่2 model , DDM and RIM ซึ่งผมว่าเป็นคู่เปรียบเทียบตรงๆ
แต่ DDM เราต้องมีสมมติฐานที่ว่ากิจการมี dividend ทุกปีซึ่งในส่วนของ dividend ก็ประกอบด้วย dividend paid ,common stock issued, treasury stock ซึ่งบางกิจการไม่มีกิจกรรมดังกล่าวเลยเช่นใน 5 ปีหลัง ทีนี้ถ้าจะใช้วิธีนี้ก็ต้องตั้งสมมติฐาน
แล้วผมว่า คนที่ต้องประเมินจะรู้สึกขัดๆนะ