ขอถามเพื่อนพี่นักลงทุนVIหน่อยครับ ว่าคิดยังไงกับทฤษฎีReflexivityของGeorge Soros หรือ ทฤษฎีผลประโยชน์ของคุณพิชัย จาวลา คิดว่าเป็นส่วนหนึ่งของการลงทุนแบบVIไหม แล้วนำมาประยุกต์ใช้กับการลงทุนแบบVIของตนเองกันไหมครับ ส่วนตัวผมว่ามันแอบคล้ายๆกับที่Warren Buffettบอกให้ซื้อเวลาที่คนกลัวขายเวลาที่คนอื่นกล้า(มั้ง??) แต่ไม่แน่ใจมากเพราะผมก็ไม่กล้าพูดอย่างเต็มปากว่าเข้าใจทฤษฎีของ2คนนี้ได้อย่างแท้จริง มันเข้าใจยากอยู่สำหรับผม อีกอย่างที่ไม่แน่ใจว่ามันอาจจะไม่ใช่หลักการของVIหรือเปล่าเพราะมันดูไม่ได้พูดถึงการประเมินมูลค่าถูกแพง/คาดการณ์ผลประกอบการ/วิเคราะห์ความสามารถการแข่ง/ฯลฯ เหมือนกับหลักของWarren Buffettหรืออ.นิเวศน์ ดูจะเป็นการอ่านอารมณ์คนส่วนใหญ่เป็นหลัก
ขอบคุณครับ
ขอสอบถามคิดยังไงกับทฤษฎี ReflexivityของSoros และ ทฤษฎีผลประโยชน์ของคุณพิชัย ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการลงทุนVIไหมครับ
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 2846
- ผู้ติดตาม: 1
Re: ขอสอบถามคิดยังไงกับทฤษฎี ReflexivityของSoros และ ทฤษฎีผลประโยชน์ของคุณพิชัย ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการลงทุนVIไหมครับ
โพสต์ที่ 2
ผมคิดว่า ทฤษฏี Reflexivity ของ Soros ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของ VI ครับ
(ส่วน ทฤษฎีผลประโยชน์ของคุณพิชัย ผมไม่ค่อยเข้าใจ เลยขอ ไม่มีความเห็นนะครับ)
Reflexivity ของ Soros เอาที่ผมเข้าใจ เค้ามองภาพตลาดรวม ว่ามันเป็น วัฏจักร มี Bull มี Bear
กล่าวคือ ราคาตลาด จะมีช่วง เหวี่ยง ไปสูงกว่าระดับราคาที่เหมาะสมมากๆ ได้ (ช่วง Bull)
และ จะมีช่วงที่ต่ำกว่าระดับราคาที่เหมาะสมเยอะๆ ได้ (ช่วง Bear)
สาเหตุที่เป็นแบบนี้ เพราะ คนที่มีส่วนร่วม ในหุ้นตัวนั้นๆ (market participants) มี Bias ด้วยกันทั้งนั้น
ราคาที่เปลี่ยนไปของหุ้น มันส่งผลกระทบ ต่อการตัดสินใจของนักลงทุนส่วนใหญ่ ครับ
(เช่น ช่วงbull นักลงทุนพื้นฐาน อาจจะ ลดการ์ด ลง ยอมรับ การ valuation ที่หย่อนลง เช่นยอมรับได้ที่ P/E สูงขึ้น หรือ ไปเล่น P/S กันแทน
แต่ พอเป็นช่วง bear เราจะระมัดระวังตัวมากขึ้น ไม่ได้ valuation P/E สูงๆ แบบ ช่วงbull เป็นต้น)
ช่วง bull จำนวน market participants มันจะมากขึ้นด้วย Observer จากที่ไม่ได้เล่นหุ้นตัวนั้น ก็เข้ามาแจม เป็น participant กันมากขึ้น
ช่วง bear จำนวน market participants มันจะน้อยลง ออกไป เป็น Observer กันมากขึ้น
แล้ว อีกอย่าง market participants ที่ว่ามี แนวคิด ที่ต่างกัน ไม่จำเป็นต้องเหมือนกัน
เช่น ใช้แนวคิดพื้นฐาน ใช้แนวคิดทางเทคนิค หรือ แนวคิดตามๆ กันตามกระแสหลัก
ถ้าเรา เข้าใจ ความแตกต่างกันของของความคิด Thinking Participants ที่อยู่ในตลาดนี้ เราอาจจะไปประยุกต์การลงทุนของเราได้ครับ
เช่น ช่วง bull เราที่ใช้แนวคิด VI อาจจะคิดว่า ราคาถึง หรือ เกินพื้นฐานแล้ว จริงๆ อาจจะยังไม่จำเป็นต้องรีบขาย ถ้า thinking participants ที่ใช้แนวคิด เทคนิคคอล หรือ แนวลงทุนตามกระแสหลัก เค้ามองว่ามันดีอยู่
หรือ ในช่วง bear เราที่ใช้แนวคิด VI อาจจะคิดว่า ราคาถึง หรือ ต่ำกว่าพื้นฐานแล้ว จริงๆ อาจจะยังไม่จำเป็นต้องรีบซื้อ ถ้า thinking participants ที่ใช้แนวคิด เทคนิคคอล หรือ แนวลงทุนตามกระแสหลักมันยัง เค้ามองว่ามันยังแย่อยู่
ส่วนตัวคิดว่า Reflexivity นั้น มองภาพรวม จิตวิทยาของ ตลาด ที่ตอบคำถาม เรื่อง ความผันผวนของราคาหุ้น ได้ค่อนข้างดีครับ
ผมค่อนข้างชอบมาก
(ส่วน ทฤษฎีผลประโยชน์ของคุณพิชัย ผมไม่ค่อยเข้าใจ เลยขอ ไม่มีความเห็นนะครับ)
Reflexivity ของ Soros เอาที่ผมเข้าใจ เค้ามองภาพตลาดรวม ว่ามันเป็น วัฏจักร มี Bull มี Bear
กล่าวคือ ราคาตลาด จะมีช่วง เหวี่ยง ไปสูงกว่าระดับราคาที่เหมาะสมมากๆ ได้ (ช่วง Bull)
และ จะมีช่วงที่ต่ำกว่าระดับราคาที่เหมาะสมเยอะๆ ได้ (ช่วง Bear)
สาเหตุที่เป็นแบบนี้ เพราะ คนที่มีส่วนร่วม ในหุ้นตัวนั้นๆ (market participants) มี Bias ด้วยกันทั้งนั้น
ราคาที่เปลี่ยนไปของหุ้น มันส่งผลกระทบ ต่อการตัดสินใจของนักลงทุนส่วนใหญ่ ครับ
(เช่น ช่วงbull นักลงทุนพื้นฐาน อาจจะ ลดการ์ด ลง ยอมรับ การ valuation ที่หย่อนลง เช่นยอมรับได้ที่ P/E สูงขึ้น หรือ ไปเล่น P/S กันแทน
แต่ พอเป็นช่วง bear เราจะระมัดระวังตัวมากขึ้น ไม่ได้ valuation P/E สูงๆ แบบ ช่วงbull เป็นต้น)
ช่วง bull จำนวน market participants มันจะมากขึ้นด้วย Observer จากที่ไม่ได้เล่นหุ้นตัวนั้น ก็เข้ามาแจม เป็น participant กันมากขึ้น
ช่วง bear จำนวน market participants มันจะน้อยลง ออกไป เป็น Observer กันมากขึ้น
แล้ว อีกอย่าง market participants ที่ว่ามี แนวคิด ที่ต่างกัน ไม่จำเป็นต้องเหมือนกัน
เช่น ใช้แนวคิดพื้นฐาน ใช้แนวคิดทางเทคนิค หรือ แนวคิดตามๆ กันตามกระแสหลัก
ถ้าเรา เข้าใจ ความแตกต่างกันของของความคิด Thinking Participants ที่อยู่ในตลาดนี้ เราอาจจะไปประยุกต์การลงทุนของเราได้ครับ
เช่น ช่วง bull เราที่ใช้แนวคิด VI อาจจะคิดว่า ราคาถึง หรือ เกินพื้นฐานแล้ว จริงๆ อาจจะยังไม่จำเป็นต้องรีบขาย ถ้า thinking participants ที่ใช้แนวคิด เทคนิคคอล หรือ แนวลงทุนตามกระแสหลัก เค้ามองว่ามันดีอยู่
หรือ ในช่วง bear เราที่ใช้แนวคิด VI อาจจะคิดว่า ราคาถึง หรือ ต่ำกว่าพื้นฐานแล้ว จริงๆ อาจจะยังไม่จำเป็นต้องรีบซื้อ ถ้า thinking participants ที่ใช้แนวคิด เทคนิคคอล หรือ แนวลงทุนตามกระแสหลักมันยัง เค้ามองว่ามันยังแย่อยู่
ส่วนตัวคิดว่า Reflexivity นั้น มองภาพรวม จิตวิทยาของ ตลาด ที่ตอบคำถาม เรื่อง ความผันผวนของราคาหุ้น ได้ค่อนข้างดีครับ
ผมค่อนข้างชอบมาก
“Market prices are always wrong in the sense that they present a biased view of the future.”, Soros.
Blog about the investment playbook https://www.blockdit.com/alphainvesting
Blog about the investment playbook https://www.blockdit.com/alphainvesting
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 377
- ผู้ติดตาม: 1
Re: ขอสอบถามคิดยังไงกับทฤษฎี ReflexivityของSoros และ ทฤษฎีผลประโยชน์ของคุณพิชัย ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการลงทุนVIไหมครับ
โพสต์ที่ 3
ขอบคุณมากครับคุณGreen ผมคิดว่าโพสคุณGreenเป็นคำอธิบายทฤษฎีReflexivityแบบภาษาไทยฉบับเข้าใจง่ายที่ดีที่สุดที่ผมเคยอ่านมาเลยGreen เขียน: ↑อังคาร มิ.ย. 14, 2022 9:17 amผมคิดว่า ทฤษฏี Reflexivity ของ Soros ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของ VI ครับ
(ส่วน ทฤษฎีผลประโยชน์ของคุณพิชัย ผมไม่ค่อยเข้าใจ เลยขอ ไม่มีความเห็นนะครับ)
Reflexivity ของ Soros เอาที่ผมเข้าใจ เค้ามองภาพตลาดรวม ว่ามันเป็น วัฏจักร มี Bull มี Bear
กล่าวคือ ราคาตลาด จะมีช่วง เหวี่ยง ไปสูงกว่าระดับราคาที่เหมาะสมมากๆ ได้ (ช่วง Bull)
และ จะมีช่วงที่ต่ำกว่าระดับราคาที่เหมาะสมเยอะๆ ได้ (ช่วง Bear)
สาเหตุที่เป็นแบบนี้ เพราะ คนที่มีส่วนร่วม ในหุ้นตัวนั้นๆ (market participants) มี Bias ด้วยกันทั้งนั้น
ราคาที่เปลี่ยนไปของหุ้น มันส่งผลกระทบ ต่อการตัดสินใจของนักลงทุนส่วนใหญ่ ครับ
(เช่น ช่วงbull นักลงทุนพื้นฐาน อาจจะ ลดการ์ด ลง ยอมรับ การ valuation ที่หย่อนลง เช่นยอมรับได้ที่ P/E สูงขึ้น หรือ ไปเล่น P/S กันแทน
แต่ พอเป็นช่วง bear เราจะระมัดระวังตัวมากขึ้น ไม่ได้ valuation P/E สูงๆ แบบ ช่วงbull เป็นต้น)
ช่วง bull จำนวน market participants มันจะมากขึ้นด้วย Observer จากที่ไม่ได้เล่นหุ้นตัวนั้น ก็เข้ามาแจม เป็น participant กันมากขึ้น
ช่วง bear จำนวน market participants มันจะน้อยลง ออกไป เป็น Observer กันมากขึ้น
แล้ว อีกอย่าง market participants ที่ว่ามี แนวคิด ที่ต่างกัน ไม่จำเป็นต้องเหมือนกัน
เช่น ใช้แนวคิดพื้นฐาน ใช้แนวคิดทางเทคนิค หรือ แนวคิดตามๆ กันตามกระแสหลัก
ถ้าเรา เข้าใจ ความแตกต่างกันของของความคิด Thinking Participants ที่อยู่ในตลาดนี้ เราอาจจะไปประยุกต์การลงทุนของเราได้ครับ
เช่น ช่วง bull เราที่ใช้แนวคิด VI อาจจะคิดว่า ราคาถึง หรือ เกินพื้นฐานแล้ว จริงๆ อาจจะยังไม่จำเป็นต้องรีบขาย ถ้า thinking participants ที่ใช้แนวคิด เทคนิคคอล หรือ แนวลงทุนตามกระแสหลัก เค้ามองว่ามันดีอยู่
หรือ ในช่วง bear เราที่ใช้แนวคิด VI อาจจะคิดว่า ราคาถึง หรือ ต่ำกว่าพื้นฐานแล้ว จริงๆ อาจจะยังไม่จำเป็นต้องรีบซื้อ ถ้า thinking participants ที่ใช้แนวคิด เทคนิคคอล หรือ แนวลงทุนตามกระแสหลักมันยัง เค้ามองว่ามันยังแย่อยู่
ส่วนตัวคิดว่า Reflexivity นั้น มองภาพรวม จิตวิทยาของ ตลาด ที่ตอบคำถาม เรื่อง ความผันผวนของราคาหุ้น ได้ค่อนข้างดีครับ
ผมค่อนข้างชอบมาก
ผมเข้าใจถูกไหมครับว่า ดูเหมือนคุณGreenถึงแม้จะไม่คิดว่าทฤษฎีReflexivityเป็นส่วนหนึ่งของการลงทุนแบบVIแต่ก็มีการนำหลักการนี้มาประยุกต์ใช้กับการลงทุนอยู่เหมือนกัน ใช่ไหมครับ