จัดพอร์ตรับเงินเฟ้อสูง
By คุณ แบงค์ ชยนนท์ รักกาญจนันท์ Finnomina
ช่วงแรกจะมาสรุปมุมมองของแต่ละfund houseกันครับ
เริ่มที่ Fidelity แนะนำ Selective รับมือ Recession ปีหน้ามี3 Theme
1.Navigating the Polycrisis.
-การใช้นโยบายทางการเงินของเฟดที่เข้มงวดจะเป็นความเสี่ยงให้เศรษฐกิจถดถอย
-กรณีพื้นฐานมองว่าจะเกิดRecessionในยุโรปก่อนและเกิดCyclical recessionในสหรัฐ
-แนะนำ เพิ่มน้ำหนักใน US Defensive Equity (Healthcare) , IG Bond ,cash
2.Implications of dollar dominance
-$ที่แข็งค่ากำลังกดดันต่อประเทศที่พึ่งพาการค้าเป็นหลัก โดยเฉพาะกลุ่มEM
-เมื่อFed pivotหลังเศรษฐกิจUSอ่อนแอ $จะกลับมาอ่อนค่าอีกที
-แนะนำให้ ลดน้ำหนัก Global Equity
3.China transitions
-มาตราการคุมเข้มโควิดจีนน่าจะเริ่มผ่อนคลายลงในปีหน้า
-จะมีมาตรการกระตุ้นมากขึ้น เช่น การลงทุนเพิ่มในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย และ การผ่อนปรนจากPBOC
-เพิ่มน้ำหนัก China Equity , China Bond.
II. MorganStanley เศรษฐกิจEM โตแกร่ง แต่DMน่าเป็นห่วง
Key Theme :The Year of Yield
เศรษฐกิจของประเทศพัฒนา(DM) จะเข้าใกล้recession ขณะที่ประเทศกำลังพัฒนา(EM) กำลังฟื้นตัว
Morgan Stanley มองว่าไม่recession
สินทรัพย์ที่ชอบ ได้แก่ EM Gov Bond,EU Gov Bond , US Gov Bond / IG Bond
EM & Japan Equity , Securitization
III. J.P.Morgan เศรษฐกิจแย่ แต่ตลาดหุ้นดี
Recessionไม่ลุกลามทำให้เศรษฐกิจถดถอย
-ภาคการเงิน ตอน Subprime มีการทำleverageสูงเกินไป แต่ตอนนี้ปล่อยกู้ไม่สูงเกินไป
-ตลาดหุ้น มองFEDจะขึ้นจาก3.75%ไปที่5% ดังนั้นครั้งหน้าจะขึ้น 0.5% และปีหน้าจะขึ้นครั้งละ0.25% 3ครั้ง
-การที่J.P.Morganมองว่าFEDขึ้นแค่5%เพราะคนกู้ซื้อบ้านจะรับไม่ไหวถ้าดอกเบี้ยFEDสูงกว่านี้ ตอนนี้ก็จ่าย6.5%
ถ้าขึ้นอีกก็อาจต้องจ่ายดอกเบี้ยถึง8% มองว่าดอกเบี้ยจะพีคสุด พค 66
ซึ่งเป็นจังหวะให้shop ตราสารหนี้ช่วงนั้น
Asset ที่แนะนำให้ลงทุน
Long Duration Bond : Yield น่าสนใจ
High Dividend Equity : หาอะไรที่ชัวร์ เหมือนกับ Fidelity
EM Equity ถูกทั้งพิจารณาจาก PE ,PBV , EYG และจีนผ่อนคลายมาหนุนด้วย
Sustainable : Green Energy พลังงานสะอาดยังมีแรงซื้อต่อเนื่อง ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ
IV: Credit Suisse โลกหลายขั้ว หมดยุคดอกเบี้ยต่ำ กดดันเศรษฐกิจระยะยาว
1.New World Order โลกแบ่งเป็นหลายขั้ว สนใจเรื่องผลประโยชน์ภายในประเทศมากขึ้น
การค้าระหว่างประเทศจะผ่านจุดพีคไปแล้ว และไม่ใช่เครื่องยนต์เศรษฐกิจหลักเช่นเดิม
2.Out with the old Monetary Regime
-หมดยุคเงินเฟ้อต่ำ จากตลาดแรงงานแข็งแกร่ง ทำให้แม้การบริโภคและราคาพลังงานชะลอตัว แต่ค่าจ้าง
จะยังเดินหน้าหนุนเงินเฟ้อให้สูงกว่าอดีต
-หมดยุคอัตราดอกเบี้ยต่ำเนื่องจากเงินเฟ้อยังสูงกว่าในอดีต และเศรษฐกิจUSไม่เข้าสู่Recession
FEDเลยไม่ลดดอกเบี้ยในปีหน้า
3.Growth outlook dims
-Geopoliticalที่ตึงเครียดและการdecoupling
-อัตราดอกเบี้ยและเงินเฟ้อที่สูง
-เศรษฐกิจชะลอตัวลง
-Zero Covidในจีน
ทำให้มุมมองต่อการเติบโตของเศรษฐกิจในระยะสั้นและกลางอยู่ในระดับที่ต่ำ
สรุป
Underweight : EU Equity ,Japan Equity,HY & Frontier Bond
Recommend buy :
1.DM Investment Grade ,
2.Equity : A tale of two halves ครึ่งปีแรก ลงหุ้นที่Pricing Power สูง เช่น Healthcare,Consumer staple
ครึ่งปีหลัง Fedหยุดขึ้นดอกเบี้ย ค่อยเพิ่มน้ำหนักหุ้นGrowth
3.LATAM เพราะขึ้นดอกเบี้ยก่อน ก็มีกระสุนให้มีโอกาสลดดอกเบี้ยก่อน ราคาถูก อันนี้ คุณแบงค์ บอกว่าไม่เชื่อ
V: Allianz เก่งเรื่องตราสารหนี้
มองว่า Ready to Reset
1.Recession is on the Horizon
-US และ ทั่วโลกจะเข้าสู่Recession ขณะที่จีนยังถูกกดดันจาก Zero-Covid
-Fed ยินดีปล่อยให้อัตราการว่างงานสูงกว่า4%เพราะต้องการคุมเงินเฟ้อ
-US มีศักยภาพในการรองรับการขึ้นดอกเบี้ยได้มากกว่าประเทศอื่น
-TINA effect ไม่จริงอีกต่อไป (ความเชื่อว่า อยากรวยต้องซื้อหุ้น) คนออกไปจากตลาดหุ้นไปทำอย่างอื่นก็รวยได้
-Bear Market ralleyเกิดขึ้นจากข่าวร้าย แต่EPS Revisionยังไม่สะท้อนrecessionเต็มที่
2.But consider planning for the recovery
-ตลาดมักกังวลเรื่องร้ายมากเกินไป
-ระยะยาว ยังมีแนวการลงทุนที่เติบโตได้เกี่ยวกับ New Old Normal ที่เกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ
เช่น พลังงานสะอาด อาหาร Cyber Security
-ทำให้การเข้าสู่recession จากการขึ้นดอกเบี้ยสูงสร้างโอกาสด้านการลงทุน หาจังหวะเข้าลงทุนเพื่อการเติบโตระยะยาว
สินทรัพย์ที่แนะนำซื้อ
1.US Treasury then IG ให้ดูTreasuryของสหรัฐก่อน เพราะมีหลายประเทศเช่นUK,EU,EMรับการขึ้นดอกเบี้ยได้น้อยกว่าUS ก่อนที่จะพิจารณาลงทุน Investment gradeเมื่อดอกเบี้ยหยุดขึ้น
2.High conviction in Long term Theme
New old Normal เกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ: พลังงานสะอาด อาหาร Cybersecurity เหมาะเข้าลงทุนในช่วงเข้าสู่
recessionแล้ว เป็นโครงหลักของพอร์ตในการเติบโตระยะยาว
VI: BlackRock ไม่ฟันธงว่าRecession เพราะกองที่นี่เป็น Passive Fund , ETF ซึ่งล้อไปกับตลาด
EPS หุ้นยังแย่ได้อีก แต่Yieldตราสารระยะสั้นน่าสนใจ
1.Pricing the Damage เศรษฐกิจถดถอยเกิดขึ้น EPSยังไม่สะท้อน
underweight :Developed market equities
2.Rethinking Bonds คิดถึงBond
Overweight : IG Bond , ST GOV Bond
Underweight : LT Gov Bond
3.Living with Inflation เราต้องอยู่กับเงินเฟ้ออีกนาน
Overweight : Real Asset , TIPs อะไรที่linkกับเงินเฟ้อได้ก็น่าสนใจ
VII : Bank of America
มองว่าหุ้นยังลงอยู่ในครึ่งปีแรก , Credit shock เวลาเกิดRecession ใครจะเจ๊งบ้าง
ให้ลงทุนในS&P500 แบ่งเป็น3ไม้ คือ 3600 , 3300 , 3000
หมายถึงไม้แรก ต้องรอลงมา10%ก่อนค่อยเข้า
ส่วนครึ่งปีหลัง FEDจะเริ่มลดดอกเบี้ย
หุ้นเกี่ยวกับการบริโภค จับจ่ายใช้สอย จะไม่ดี
แต่หุ้นTech จะกลับตัวมาดีในปลายปีหน้าและปี2024
จัดพอร์ตรับเงินเฟ้อสูง โดย Mr. Messenger
- Bird.Songwut
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 159
- ผู้ติดตาม: 0
Re: จัดพอร์ตรับเงินเฟ้อสูง โดย Mr. Messenger
โพสต์ที่ 2
ขอบคุณครับ
"มีกระแสน้ำสายหนึ่งในกิจกรรมของคน ซึ่งเมื่อมันไหลบ่าท่วมท้นจะนำไปสู่ความมั่งคั่งมหาศาล"
Investor hub : ห้องลับนักลงทุน https://www.youtube.com/@Investor_hub
Investor hub : ห้องลับนักลงทุน https://www.youtube.com/@Investor_hub
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 2576
- ผู้ติดตาม: 1
Re: จัดพอร์ตรับเงินเฟ้อสูง โดย Mr. Messenger
โพสต์ที่ 3
ค่ายไหนคิดอย่างไรกับเศรษฐกิจสหรัฐถดถอยปี2023
Mild Recession : J.P.Morgan,BlackRock,Allianz,Fidelity,Bank of America
Soft Landing ( No Recession ) : Credit Suisse , Morgan Stanley
ทุกสำนักชอบการลงทุนในตราสารหนี้ แต่แตกต่างในรายละเอียด
US Treasury : J.P.Morgan , Allianz,BlackRock,Bank of America,Morgan Standley
IG : J.P.Morgan , Credit Suisse, Allianz, Fidelity , BlackRock, Morgan Standley
Emerging Market : Credit Suisse (EM hard currency ) , Fidelity (China Bond) , Morgan (Gov Bond)
ปัจจัยบวก
1.China Reopening: ตารางเที่ยวบินต่างประเทศของจีนเริ่มฟื้นตัวชัดเจนขึ้น
ฟินโนมิน่า เชื่อว่าจีนเปิดประเทศ ฮ่องกงกักตัวลดเหลือแค่4วันอยู่ในโรงแรม อาจแอบออกมาข้างนอกได้
ความหวังการRe-open มีอิทธิพลต่อหุ้นจีนในปีนี้ ดังนั้นตลาดหุ้นวิ่งนำไปก่อน
2.Strong Private BS: ภาคครัวเรือนยังมีExcess Savingยังสูงจาก fiscal support
-คนในUS ได้เช็คจากรัฐบาลทั้งทรัมป์และไบเดน ทำให้มีเงินเก็บซึ่งสามารถนำมาใช้ได้ตอนที่รายได้ไม่พอกับ
ค่าใช้จ่ายที่ปรับตัวสูงขึ้น
-D/E ของบริษัทในUS มีหนี้ต่ำมากๆ ดังนั้นการขึ้นดอกเบี้ยไม่ได้กระทบต่อภาระหนี้มากนักเมื่อเทียบกับก่อนโควิด
-ทางฝั่งของธนาคาร เงินกองทุนต่อสินทรัพย์กลุ่มธนาคารก็แกร่งกว่าปี2008
3.Strong US Service ดัชนีPMI ฝ่ายจัดซื้อของบริษัทจดทะเบียนในสหรัฐรายงานการซื้อวัตถุดิบมาใช้ผลิต
-ถ้าตัวเลขPMIเยอะ >50% แสดงว่าดี แต่ถ้าต่ำกว่า 50% เศรษฐกิจหดตัว
ตอนนี้ PMI >50% ทั้งภาคการผลิตและภาคบริการ แต่ตัวเลขมีแนวโน้มลดลง
ต้องดูต่ออีก 2-3เดือน ถ้าPMI<50%แสดงว่าเศรษฐกิจชะลอตัวจริง
4.Inflation Peaked: Global Supply Chain เริ่มฟื้นตัวดีขึ้นกว่าในช่วงก่อนหน้า
ก่อนหน้า กราฟสูงขึ้นไม่ดี เกิดคอขวด ตอนนี้กราฟเริ่มลง แสดงว่าดีขึ้น
5.Fed Pivot : แนวโน้มการขึ้นดอกเบี้ยนโยบายเริ่มชะลอตัวลง
มุมมองของFED เงินเฟ้อจะไม่สูงไปกว่านี้
ส่วนมองในแง่ร้าย
1.High Govt Debt: หลังโควิด ทั่วโลกมีหนี้สูงขึ้นก้าวกระโดด
ประเทศที่มีหนี้สูงจะลำบาก ดังนั้นอย่าไปว่าประเทศไทย
Japanจะอยู่แบบนี้ได้อย่างไร พยายามผันตัวเองออกจาก fiat currency
2.US Growth Recession:
-LEI ชี้ว่าเศรษฐกิจของสหรัฐอาจอยู่ในRecessionแล้ว
ปกติตัวเลขGDPติดลบเกิน6เดือน แสดงว่าRecession ตอนนี้ติดลบมา8เดือนแล้ว
-อัตราการว่างงานตอนนี้ 3.5%ซึ่งต่ำมากในประวัติศาสตร์ ถ้าRecession จะทำให้อัตราการว่างงานสูงขึ้น
-Inverted Yield Curve ชี้ว่า Recession กำลังมา
-ตลาดบ้านสหรัฐเริ่มชะลอตัวลง ตอนนี้คนกู้บ้านเสียดอกเบี้ย6% ถ้าขึ้นอีก NPLจะเกิดหรือเปล่า
ข้อดีในข่าวร้าย ธนาคารไม่ปล่อยกู้แบบตอนช่วงSubprime ซึ่งคนที่กู้หลังที่2-3 ต้องมีหลักทรัพย์ค้ำประกัน
3.EU Recession อาจกระทบยอดส่งออกหลากหลายประเทศ
ถ้าเกิดRecession ที่แรกคือเยอรมัน ซึ่งคิดเป็น 1ใน3ของEU ใครมีอยู่ให้ออกไปก่อน
4.FX Vulnerability : The Policy Trilemma for JPY
Japanใช้ทุนสำรองต่างประเทศสะกัดเงินเยนไม่ให้อ่อนจนเกินไป แต่สหรัฐขึ้นดอกเบี้ยค่า$แข็ง
จะทำให้เงินทุนสำรองของJapanลดลง ซึ่งตอนนี้ก็ต้องเตรียมรับมือกับหนี้สินต่อGDP ซึ่งสูงถึง250%
จะเห็นนโยบายการเงินแบบแปลกๆ เช่น นโยบายช่วยแบบโคตรๆพิเศษ เงินเยนส่งผลต่อ$ 10%
ดังนั้นถ้าเงินเยนมีปัญหา จะเหนื่อยมากขึ้น
5.Crypto Winter: หลากปัญหาเกิดในช่วงCryptoเป็นขาลง ซึ่งคนที่ลงทุนปัจจุบัน ลงทั้งหุ้นและCrypto
ดังนั้นเวลาCryptoมีปัญหา ก็ไม่มาลงทุนในหุ้นด้วย
Time line of Portfolio Actions
Predict , Prepare , Perform
Portfolio Action
1.De-risk ปรับลดสัดส่วนสินทรัพย์เสี่ยง เพิ่มสินทรัพย์ Safe Haven
Finnomina เริ่มแนะนำให้ลดตั้งแต่กลางปี2022
2.Golden Buying Opportunity : กลับมาลงทุนในสินทรัพย์เสี่ยง หลังตลาดซึมซับ
Recessionเต็มที่แล้ว โดยดูจากปัจจัยเหล่านี้
-สัญญาณยกธงขาว จากตลาดการลงทุน
-การกลับตัวด้านนโยบายของPolicy Makers เช่นการปรับลดดอกเบี้ยหรือกลับมาทำมาตราการกระตุ้น (QE)
Downside ยังมีและเริ่มเข้าใกล้จุดเข้าซื้อมากขึ้น
เงื่อนไขพิจารณาการกลับเข้าลงทุนในตราสารทุน
ถ้าเข้าเงื่อนไข2ใน4 ก็เข้าซื้อได้เลย
1.M:เศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัว กลับมาเป็นบวกได้
2.E: Earning Revision ปรับลงเต็มที่แล้วน่าสนใจ
3.V: ระดับที่ราคาตลาดลงมาถึงระดับที่ลงทุนได้ เช่น S&Pลง20% น่าสนใจมากๆ ซื้อได้เลย
4.T: นักลงทุนยอมจำนนในวงกว้างเลย
Bond Yield ปัจจัยกดดันหลักต่อหุ้นเทคในปีนี้
ตอนนี้ก็ลงในตราสารหนี้ ไปก่อน ถ้าเห็นสัญญาณ เข้าลงทุนในหุ้นเทคโนโลยี
สุดท้ายขอขอบคุณ คุณแบงค์ที่มาให้ข้อมูลครับ
Mild Recession : J.P.Morgan,BlackRock,Allianz,Fidelity,Bank of America
Soft Landing ( No Recession ) : Credit Suisse , Morgan Stanley
ทุกสำนักชอบการลงทุนในตราสารหนี้ แต่แตกต่างในรายละเอียด
US Treasury : J.P.Morgan , Allianz,BlackRock,Bank of America,Morgan Standley
IG : J.P.Morgan , Credit Suisse, Allianz, Fidelity , BlackRock, Morgan Standley
Emerging Market : Credit Suisse (EM hard currency ) , Fidelity (China Bond) , Morgan (Gov Bond)
ปัจจัยบวก
1.China Reopening: ตารางเที่ยวบินต่างประเทศของจีนเริ่มฟื้นตัวชัดเจนขึ้น
ฟินโนมิน่า เชื่อว่าจีนเปิดประเทศ ฮ่องกงกักตัวลดเหลือแค่4วันอยู่ในโรงแรม อาจแอบออกมาข้างนอกได้
ความหวังการRe-open มีอิทธิพลต่อหุ้นจีนในปีนี้ ดังนั้นตลาดหุ้นวิ่งนำไปก่อน
2.Strong Private BS: ภาคครัวเรือนยังมีExcess Savingยังสูงจาก fiscal support
-คนในUS ได้เช็คจากรัฐบาลทั้งทรัมป์และไบเดน ทำให้มีเงินเก็บซึ่งสามารถนำมาใช้ได้ตอนที่รายได้ไม่พอกับ
ค่าใช้จ่ายที่ปรับตัวสูงขึ้น
-D/E ของบริษัทในUS มีหนี้ต่ำมากๆ ดังนั้นการขึ้นดอกเบี้ยไม่ได้กระทบต่อภาระหนี้มากนักเมื่อเทียบกับก่อนโควิด
-ทางฝั่งของธนาคาร เงินกองทุนต่อสินทรัพย์กลุ่มธนาคารก็แกร่งกว่าปี2008
3.Strong US Service ดัชนีPMI ฝ่ายจัดซื้อของบริษัทจดทะเบียนในสหรัฐรายงานการซื้อวัตถุดิบมาใช้ผลิต
-ถ้าตัวเลขPMIเยอะ >50% แสดงว่าดี แต่ถ้าต่ำกว่า 50% เศรษฐกิจหดตัว
ตอนนี้ PMI >50% ทั้งภาคการผลิตและภาคบริการ แต่ตัวเลขมีแนวโน้มลดลง
ต้องดูต่ออีก 2-3เดือน ถ้าPMI<50%แสดงว่าเศรษฐกิจชะลอตัวจริง
4.Inflation Peaked: Global Supply Chain เริ่มฟื้นตัวดีขึ้นกว่าในช่วงก่อนหน้า
ก่อนหน้า กราฟสูงขึ้นไม่ดี เกิดคอขวด ตอนนี้กราฟเริ่มลง แสดงว่าดีขึ้น
5.Fed Pivot : แนวโน้มการขึ้นดอกเบี้ยนโยบายเริ่มชะลอตัวลง
มุมมองของFED เงินเฟ้อจะไม่สูงไปกว่านี้
ส่วนมองในแง่ร้าย
1.High Govt Debt: หลังโควิด ทั่วโลกมีหนี้สูงขึ้นก้าวกระโดด
ประเทศที่มีหนี้สูงจะลำบาก ดังนั้นอย่าไปว่าประเทศไทย
Japanจะอยู่แบบนี้ได้อย่างไร พยายามผันตัวเองออกจาก fiat currency
2.US Growth Recession:
-LEI ชี้ว่าเศรษฐกิจของสหรัฐอาจอยู่ในRecessionแล้ว
ปกติตัวเลขGDPติดลบเกิน6เดือน แสดงว่าRecession ตอนนี้ติดลบมา8เดือนแล้ว
-อัตราการว่างงานตอนนี้ 3.5%ซึ่งต่ำมากในประวัติศาสตร์ ถ้าRecession จะทำให้อัตราการว่างงานสูงขึ้น
-Inverted Yield Curve ชี้ว่า Recession กำลังมา
-ตลาดบ้านสหรัฐเริ่มชะลอตัวลง ตอนนี้คนกู้บ้านเสียดอกเบี้ย6% ถ้าขึ้นอีก NPLจะเกิดหรือเปล่า
ข้อดีในข่าวร้าย ธนาคารไม่ปล่อยกู้แบบตอนช่วงSubprime ซึ่งคนที่กู้หลังที่2-3 ต้องมีหลักทรัพย์ค้ำประกัน
3.EU Recession อาจกระทบยอดส่งออกหลากหลายประเทศ
ถ้าเกิดRecession ที่แรกคือเยอรมัน ซึ่งคิดเป็น 1ใน3ของEU ใครมีอยู่ให้ออกไปก่อน
4.FX Vulnerability : The Policy Trilemma for JPY
Japanใช้ทุนสำรองต่างประเทศสะกัดเงินเยนไม่ให้อ่อนจนเกินไป แต่สหรัฐขึ้นดอกเบี้ยค่า$แข็ง
จะทำให้เงินทุนสำรองของJapanลดลง ซึ่งตอนนี้ก็ต้องเตรียมรับมือกับหนี้สินต่อGDP ซึ่งสูงถึง250%
จะเห็นนโยบายการเงินแบบแปลกๆ เช่น นโยบายช่วยแบบโคตรๆพิเศษ เงินเยนส่งผลต่อ$ 10%
ดังนั้นถ้าเงินเยนมีปัญหา จะเหนื่อยมากขึ้น
5.Crypto Winter: หลากปัญหาเกิดในช่วงCryptoเป็นขาลง ซึ่งคนที่ลงทุนปัจจุบัน ลงทั้งหุ้นและCrypto
ดังนั้นเวลาCryptoมีปัญหา ก็ไม่มาลงทุนในหุ้นด้วย
Time line of Portfolio Actions
Predict , Prepare , Perform
Portfolio Action
1.De-risk ปรับลดสัดส่วนสินทรัพย์เสี่ยง เพิ่มสินทรัพย์ Safe Haven
Finnomina เริ่มแนะนำให้ลดตั้งแต่กลางปี2022
2.Golden Buying Opportunity : กลับมาลงทุนในสินทรัพย์เสี่ยง หลังตลาดซึมซับ
Recessionเต็มที่แล้ว โดยดูจากปัจจัยเหล่านี้
-สัญญาณยกธงขาว จากตลาดการลงทุน
-การกลับตัวด้านนโยบายของPolicy Makers เช่นการปรับลดดอกเบี้ยหรือกลับมาทำมาตราการกระตุ้น (QE)
Downside ยังมีและเริ่มเข้าใกล้จุดเข้าซื้อมากขึ้น
เงื่อนไขพิจารณาการกลับเข้าลงทุนในตราสารทุน
ถ้าเข้าเงื่อนไข2ใน4 ก็เข้าซื้อได้เลย
1.M:เศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัว กลับมาเป็นบวกได้
2.E: Earning Revision ปรับลงเต็มที่แล้วน่าสนใจ
3.V: ระดับที่ราคาตลาดลงมาถึงระดับที่ลงทุนได้ เช่น S&Pลง20% น่าสนใจมากๆ ซื้อได้เลย
4.T: นักลงทุนยอมจำนนในวงกว้างเลย
Bond Yield ปัจจัยกดดันหลักต่อหุ้นเทคในปีนี้
ตอนนี้ก็ลงในตราสารหนี้ ไปก่อน ถ้าเห็นสัญญาณ เข้าลงทุนในหุ้นเทคโนโลยี
สุดท้ายขอขอบคุณ คุณแบงค์ที่มาให้ข้อมูลครับ