ซื้อหุ้นด้วยห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคล
- ครรชิต ไพศาล
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 4637
- ผู้ติดตาม: 1
ซื้อหุ้นด้วยห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคล
โพสต์ที่ 4
ผมดูในหนังสือกฎหมายภาษี มันมีแต่ บุคคลธรรมดา กับ นิติบุคคล
คณะบุคคล ไม่มี
มีด้วยหรือครับ เปิดบัญชีกับโบรคเกอร์ ในนาม คณะบุคคล
สำหรับกรณี นิติบุคคล ตามกฎหมายไทย เขาบอกไว้ว่า
1. บริษัทจำกัด
2.บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
3.บริษัท Holding Company
ได้รับเงินปันผล จาก
1.ได้รับเงินปันผล จาก นิติบุคคลที่จัดตั้งตามกฎหมายไทย
2.ได้รับเงินปันผล จาก กองทุนรวม ที่จัดตั้งตามกฎหมายไทย
3.ได้รับเงินปันผล จาก บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมไทย ที่จัดตั้งตามกฎหมายไทย
เงื่อนไขแห่งการได้รับสิทธิประโยชน์
ต้องถือหุ้นก่อน วันจ่ายปันผล 3 เดือน และ ถือต่อไปจากวันจ่ายปันผล อีก 3 เดือน
ถ้าถือครบเงื่อนไขนี้
1.สำหรับบริษัทจำกัด ให้นำปันผลที่ได้รับจำนวนครึ่งหนึ่ง มารวมคำนวณภาษีกำไรหรือขาดทุน นิติบุคคล
2.สำหรับบริษัทจดทะเบียนหลักทรัพย์ หรือ Holding Company ไม่ต้องนำปันผลทั้งหมด ดังกล่าว มารวมในการคำนวณ ภาษีกำไรหรือขาดทุน นิติบุคคล
แต่ถ้าไม่เป็นไปตาม เงื่อนไขแห่งการได้รับสิทธิประโยชน์
นิติบุคคลนั้น ต้องนำปันผลทั้งหมด มารวมในการคำนวณ ภาษีกำไรหรือขาดทุน นิติบุคคล
แต่ถ้าเป็นเงินปันผลจากบริษัทที่ได้รับการส่งเสริมยกเว็นภาษีนิติบุคคล ก็ไม่ต้องนำมารวมในการคำนวณ ภาษีกำไรหรือขาดทุน นิติบุคคล
สำหรับ ปันผลจากกองทุนรวม ตามกฏหมายตลาดหลักทรัพย์
1.สำหรับบริษัทจำกัด ให้นำปันผลที่ได้รับจำนวนครึ่งหนึ่ง มารวมคำนวณภาษีกำไรหรือขาดทุน นิติบุคคล
2.สำหรับบริษัทจดทะเบียนหลักทรัพย์ ไม่ต้องนำปันผลทั้งหมด ดังกล่าว มารวมในการคำนวณ ภาษีกำไรหรือขาดทุน นิติบุคคล
ไม่มีเขียนเรื่องเครดิตภาษีกำไรนิติบุคล
เพราะถึงจะถึงจะคิดคืนมา ก็ต้องถูกหักกลับไปด้วยจำนวณที่เท่ากันอยู่ดี :lol:
คณะบุคคล ไม่มี
มีด้วยหรือครับ เปิดบัญชีกับโบรคเกอร์ ในนาม คณะบุคคล
สำหรับกรณี นิติบุคคล ตามกฎหมายไทย เขาบอกไว้ว่า
1. บริษัทจำกัด
2.บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
3.บริษัท Holding Company
ได้รับเงินปันผล จาก
1.ได้รับเงินปันผล จาก นิติบุคคลที่จัดตั้งตามกฎหมายไทย
2.ได้รับเงินปันผล จาก กองทุนรวม ที่จัดตั้งตามกฎหมายไทย
3.ได้รับเงินปันผล จาก บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมไทย ที่จัดตั้งตามกฎหมายไทย
เงื่อนไขแห่งการได้รับสิทธิประโยชน์
ต้องถือหุ้นก่อน วันจ่ายปันผล 3 เดือน และ ถือต่อไปจากวันจ่ายปันผล อีก 3 เดือน
ถ้าถือครบเงื่อนไขนี้
1.สำหรับบริษัทจำกัด ให้นำปันผลที่ได้รับจำนวนครึ่งหนึ่ง มารวมคำนวณภาษีกำไรหรือขาดทุน นิติบุคคล
2.สำหรับบริษัทจดทะเบียนหลักทรัพย์ หรือ Holding Company ไม่ต้องนำปันผลทั้งหมด ดังกล่าว มารวมในการคำนวณ ภาษีกำไรหรือขาดทุน นิติบุคคล
แต่ถ้าไม่เป็นไปตาม เงื่อนไขแห่งการได้รับสิทธิประโยชน์
นิติบุคคลนั้น ต้องนำปันผลทั้งหมด มารวมในการคำนวณ ภาษีกำไรหรือขาดทุน นิติบุคคล
แต่ถ้าเป็นเงินปันผลจากบริษัทที่ได้รับการส่งเสริมยกเว็นภาษีนิติบุคคล ก็ไม่ต้องนำมารวมในการคำนวณ ภาษีกำไรหรือขาดทุน นิติบุคคล
สำหรับ ปันผลจากกองทุนรวม ตามกฏหมายตลาดหลักทรัพย์
1.สำหรับบริษัทจำกัด ให้นำปันผลที่ได้รับจำนวนครึ่งหนึ่ง มารวมคำนวณภาษีกำไรหรือขาดทุน นิติบุคคล
2.สำหรับบริษัทจดทะเบียนหลักทรัพย์ ไม่ต้องนำปันผลทั้งหมด ดังกล่าว มารวมในการคำนวณ ภาษีกำไรหรือขาดทุน นิติบุคคล
ไม่มีเขียนเรื่องเครดิตภาษีกำไรนิติบุคล
เพราะถึงจะถึงจะคิดคืนมา ก็ต้องถูกหักกลับไปด้วยจำนวณที่เท่ากันอยู่ดี :lol:
ความสุขอื่น ยิ่งกว่าความสงบใจไม่มี นตฺถิ สนฺติ ปรํ สุขํ
หัดเล่น Facebook กะเขาบ้างแล้วนะครับ ใช้ชื่อ Kanchit Paisan ครับ
Facebook เพจ Eps16year Settrade Set ตลาดหลักทรัพย์ งบดุล ปันผล อัตราส่วนการเงิน กราฟ
Google เพจ kanchitpaisan
Google+ KANCHIT PAISAN
หัดเล่น Facebook กะเขาบ้างแล้วนะครับ ใช้ชื่อ Kanchit Paisan ครับ
Facebook เพจ Eps16year Settrade Set ตลาดหลักทรัพย์ งบดุล ปันผล อัตราส่วนการเงิน กราฟ
Google เพจ kanchitpaisan
Google+ KANCHIT PAISAN
-
- Verified User
- โพสต์: 1211
- ผู้ติดตาม: 0
ซื้อหุ้นด้วยห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคล
โพสต์ที่ 5
พี่ครรชิตครับ ลองดูกระทู้นี้หน่อยนะครับ
http://www.thaivi.com/webboard/viewtopic.php?t=27626
คือผมเองก็ไม่ค่อยแน่ใจเหมือนกัน แต่เห็นมีคนถาม ผมก็เลยคิดขึ้นมาได้ว่า ถ้าเป็นครอบครัวก็ลงทุนในนามคณะบุคคลขอลครอบครัวไปเลย น่าจะสะดวกต่อการคิดภาษีและการจัดการในอนาคตน่ะครับ แต่ไม่รู้ว่าจะเครดิตภาษีปันผลได้มั๊ย
http://www.thaivi.com/webboard/viewtopic.php?t=27626
คือผมเองก็ไม่ค่อยแน่ใจเหมือนกัน แต่เห็นมีคนถาม ผมก็เลยคิดขึ้นมาได้ว่า ถ้าเป็นครอบครัวก็ลงทุนในนามคณะบุคคลขอลครอบครัวไปเลย น่าจะสะดวกต่อการคิดภาษีและการจัดการในอนาคตน่ะครับ แต่ไม่รู้ว่าจะเครดิตภาษีปันผลได้มั๊ย
- v_sukit
- Verified User
- โพสต์: 153
- ผู้ติดตาม: 0
ซื้อหุ้นด้วยห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคล
โพสต์ที่ 7
รองอธิบดีกรมสรรพากร (นายสาธิต รังคสิริ)
กล่าวว่า การตั้งคณะบุคคล เป็นรูปแบบหนึ่งของการรวมตัวกันทำธุรกิจ แต่ไม่ได้เป็นนิติบุคคล ได้กลายเป็น
ช่องทางการเลี่ยงภาษีโดยถูกกฎหมาย ทำให้กรมสรรพากรเตรียมหาทางแก้ไขเพื่อปิดช่องโหว่นี้ ทั้งนี้ คณะบุคคลคือ ตั้งแต่ 2
คนรวมกันตั้งเป็นคณะบุคคลโดยร่วมทุนร่วมแรงกันทำงาน ซึ่งวิธีเสียภาษี และอัตราภาษีจะเท่ากับภาษีบุคคลธรรมดา เช่น
หักค่าใช้จ่ายได้ตามประเภทเงินได้ และกำหนดค่าลดหย่อนได้คนละ 30,000 บาท แต่ไม่เกิน 60,000 บาท และภาษีเป็นอัตรา
ก้าวหน้าตั้งแต่ 0-37% แต่ความได้เปรียบของคณะบุคคล คือไม่ต้องนำรายได้ ของคณะบุคคลไปรวมกับเงินได้ส่วนตัวของ
คนที่ร่วมอยู่ในคณะบุคคล
ที่มา : www.mof.go.th/ สรุปข่าวเศรษฐกิจรายวัน /วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2550
กล่าวว่า การตั้งคณะบุคคล เป็นรูปแบบหนึ่งของการรวมตัวกันทำธุรกิจ แต่ไม่ได้เป็นนิติบุคคล ได้กลายเป็น
ช่องทางการเลี่ยงภาษีโดยถูกกฎหมาย ทำให้กรมสรรพากรเตรียมหาทางแก้ไขเพื่อปิดช่องโหว่นี้ ทั้งนี้ คณะบุคคลคือ ตั้งแต่ 2
คนรวมกันตั้งเป็นคณะบุคคลโดยร่วมทุนร่วมแรงกันทำงาน ซึ่งวิธีเสียภาษี และอัตราภาษีจะเท่ากับภาษีบุคคลธรรมดา เช่น
หักค่าใช้จ่ายได้ตามประเภทเงินได้ และกำหนดค่าลดหย่อนได้คนละ 30,000 บาท แต่ไม่เกิน 60,000 บาท และภาษีเป็นอัตรา
ก้าวหน้าตั้งแต่ 0-37% แต่ความได้เปรียบของคณะบุคคล คือไม่ต้องนำรายได้ ของคณะบุคคลไปรวมกับเงินได้ส่วนตัวของ
คนที่ร่วมอยู่ในคณะบุคคล
ที่มา : www.mof.go.th/ สรุปข่าวเศรษฐกิจรายวัน /วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2550
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 25
- ผู้ติดตาม: 0
ซื้อหุ้นด้วยห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคล
โพสต์ที่ 8
เคยฟัง ๆ เค้ามาว่า การจดทะเบียนคณะบุคคล เป็นอีกวิธีหนึ่งในการเลี่ยง (เรียกว่าวางแผนจะดีกว่า) ภาษีอย่างหนึ่งครับ
และเราสามารถเป็นหนึ่งในคณะบุคคลหลาย ๆ คณะได้ด้วย
ส่วนเรื่องรายละเอียด ยังไงรอคอนเฟริมจากพี่ ๆ อีกทีนะครับ
และเราสามารถเป็นหนึ่งในคณะบุคคลหลาย ๆ คณะได้ด้วย
ส่วนเรื่องรายละเอียด ยังไงรอคอนเฟริมจากพี่ ๆ อีกทีนะครับ
- v_sukit
- Verified User
- โพสต์: 153
- ผู้ติดตาม: 0
ซื้อหุ้นด้วยห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคล
โพสต์ที่ 9
v_sukit เขียน:รองอธิบดีกรมสรรพากร (นายสาธิต รังคสิริ)
กล่าวว่า การตั้งคณะบุคคล เป็นรูปแบบหนึ่งของการรวมตัวกันทำธุรกิจ แต่ไม่ได้เป็นนิติบุคคล ได้กลายเป็น
ช่องทางการเลี่ยงภาษีโดยถูกกฎหมาย ทำให้กรมสรรพากรเตรียมหาทางแก้ไขเพื่อปิดช่องโหว่นี้ ทั้งนี้ คณะบุคคลคือ ตั้งแต่ 2
คนรวมกันตั้งเป็นคณะบุคคลโดยร่วมทุนร่วมแรงกันทำงาน ซึ่งวิธีเสียภาษี และอัตราภาษีจะเท่ากับภาษีบุคคลธรรมดา เช่น
หักค่าใช้จ่ายได้ตามประเภทเงินได้ และกำหนดค่าลดหย่อนได้คนละ 30,000 บาท แต่ไม่เกิน 60,000 บาท และภาษีเป็นอัตรา
ก้าวหน้าตั้งแต่ 0-37% แต่ความได้เปรียบของคณะบุคคล คือไม่ต้องนำรายได้ ของคณะบุคคลไปรวมกับเงินได้ส่วนตัวของ
คนที่ร่วมอยู่ในคณะบุคคล
ที่มา : www.mof.go.th/ สรุปข่าวเศรษฐกิจรายวัน /วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2550
ลองคำนวณดูถ้ารับปันผล ไม่เกิน 190,000 บาท ไม่ต้องเสียภาษีครับ
ชักหน้าสนแล้ว ตอนนี้ผมเสียอย่ที่ 10-20 % เพราะรวมกับเงินเดือน
แล้วขั้นตอนการจดเเละค่าใช้จ่าย ? คณะบุคคลนักลงทุนเน้นคุณค่า หรือ ท่านอื่นๆ ช่วยให้ข้อมูลเพ่มด้วยครับ
- v_sukit
- Verified User
- โพสต์: 153
- ผู้ติดตาม: 0
ซื้อหุ้นด้วยห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคล
โพสต์ที่ 10
คณะบุคคล คือบุคคลตั้งแต่สองคน ไม่เกินสามคน (ที่ไม่ใช่ สามี ภรรยา ซึ่งจดทะเบียนสมรสกันตามกฎหมาย )
ร่วมธุรกิจกัน ประกอบกิจการ การค้า โดยต้อง ทำสัญญาตกลงจัดตั้งคณะบุคคล โดยระบุวัตถุประสงค์ที่ต้องการจัดตั้ง
และต้องมอบหมายให้ บุคคลใด บุคคลหนึ่ง เป็นผู้ดำเนินการของคณะบุคคลนี้ โดยยื่นต่อกรมสรรพากร
เพื่อขอ หมายเลข ประจำตัวผู้เสียภาษี โดยมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีดังนี้ 2XXXXXXXXX(ภ.ง.ด.3)
ต้องยื่นคำขอจดทะเบียนพาณิชย์ ต่อสำนักงานกลางทะเบียนพาณิชย์ หรือสำนักทะเบียนพาณิชย์ของแต่ละจังหวัด
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จะออกใบทะเบียนพาณิชย์ เลขที่XXXXXXXXXXXXX มาให้ ระบุชื่อที่ใช้ประกอบพาณิชยกิจ
การยื่นแบบเสียภาษี ยื่นแบบ ภ.ง.ด. 90(1 มกราคม ถึง 31 มีนาคม ของทุกปี) และ
ยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ ครึ่งปี ภ.ง.ด.94 (1 กรกฎาคม ถึง 30 กันยายน ของทุกปี)
การเสียภาษีของคณะบุคคล ใช้รายการเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(8)
หักค่าใช้จ่ายแบบจ่ายจริง(แนะนำให้ใช้แบบนี้) หรือ เหมาจ่าย ตามอัตราร้อยละ ที่กรมสรรพากรกำหนด
ค่าลดหย่อน ได้ 60,000 บาท ถึงแม้การทำบัญชีออกมา จะขาดทุน คณะบุคคล จำต้องเสียภาษีแบบเหมาจ่าย
จากการคำนวณเงินได้พึงประเมินตั้งแต่ 60,000 บาทขึ้นไป คิดร้อยละ .5 ของยอดรวมเงินได้
เช่น ยอดรายได้รวม 500,000 บาท คิดแบบเหมาจ่าย คือ (500,000 x .005 =2,500 บาท)
หากบัญชีขาดทุน เสียแบบเหมาจ่าย 2,500 บาท
บัญชีกำไร 2,500 บาท เสียภาษี 2,500 บาท
บัญชีกำไร 2,501 บาท เสียภาษี 2,501 บาท
แนะนำว่า คณะบุคคลนี้ ควรมีงานบริการด้วย เพื่อนำภาษีเงินได้ ถูกหัก ณ.ที่จ่าย
มาหักลบ ออกจากภาษีที่คิดเหมาจ่ายข้างต้น
ร่วมธุรกิจกัน ประกอบกิจการ การค้า โดยต้อง ทำสัญญาตกลงจัดตั้งคณะบุคคล โดยระบุวัตถุประสงค์ที่ต้องการจัดตั้ง
และต้องมอบหมายให้ บุคคลใด บุคคลหนึ่ง เป็นผู้ดำเนินการของคณะบุคคลนี้ โดยยื่นต่อกรมสรรพากร
เพื่อขอ หมายเลข ประจำตัวผู้เสียภาษี โดยมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีดังนี้ 2XXXXXXXXX(ภ.ง.ด.3)
ต้องยื่นคำขอจดทะเบียนพาณิชย์ ต่อสำนักงานกลางทะเบียนพาณิชย์ หรือสำนักทะเบียนพาณิชย์ของแต่ละจังหวัด
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จะออกใบทะเบียนพาณิชย์ เลขที่XXXXXXXXXXXXX มาให้ ระบุชื่อที่ใช้ประกอบพาณิชยกิจ
การยื่นแบบเสียภาษี ยื่นแบบ ภ.ง.ด. 90(1 มกราคม ถึง 31 มีนาคม ของทุกปี) และ
ยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ ครึ่งปี ภ.ง.ด.94 (1 กรกฎาคม ถึง 30 กันยายน ของทุกปี)
การเสียภาษีของคณะบุคคล ใช้รายการเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(8)
หักค่าใช้จ่ายแบบจ่ายจริง(แนะนำให้ใช้แบบนี้) หรือ เหมาจ่าย ตามอัตราร้อยละ ที่กรมสรรพากรกำหนด
ค่าลดหย่อน ได้ 60,000 บาท ถึงแม้การทำบัญชีออกมา จะขาดทุน คณะบุคคล จำต้องเสียภาษีแบบเหมาจ่าย
จากการคำนวณเงินได้พึงประเมินตั้งแต่ 60,000 บาทขึ้นไป คิดร้อยละ .5 ของยอดรวมเงินได้
เช่น ยอดรายได้รวม 500,000 บาท คิดแบบเหมาจ่าย คือ (500,000 x .005 =2,500 บาท)
หากบัญชีขาดทุน เสียแบบเหมาจ่าย 2,500 บาท
บัญชีกำไร 2,500 บาท เสียภาษี 2,500 บาท
บัญชีกำไร 2,501 บาท เสียภาษี 2,501 บาท
แนะนำว่า คณะบุคคลนี้ ควรมีงานบริการด้วย เพื่อนำภาษีเงินได้ ถูกหัก ณ.ที่จ่าย
มาหักลบ ออกจากภาษีที่คิดเหมาจ่ายข้างต้น
-
- Verified User
- โพสต์: 222
- ผู้ติดตาม: 0
ซื้อหุ้นด้วยห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคล
โพสต์ที่ 12
เปิด port คณะบุคคลได้ครับ ผมเปิดอยู่กับ kimeng.. การ credit ภาษีน่าจะทำได้เหมือนบุคคลธรรมดา
ใน EPS13YEAR ของพี่ครรชิตก็มีผู้ถือหุ้นใหญ่ของบางบริษัทเป็นคณะบุคคลครับ เช่น CHARAN, CHUO, CMO, DVS, LNH, PHA, etc.
แต่อย่างนึงคือ บัญชีที่จะถอนเงินจากโบรค (ผมเปิด port แบบต้องฝากเงินเข้าไปก่อน) ต้องเป็นบัญชีของคณะบุคคลครับ ซึ่งบัญชีคณะบุคคล (ของผมเปิดกับไทยพานิชย์) นี่ต้องไปถอนที่สาขาที่เปิดอย่างเดียวเลยครับ ทำ ATM ไม่ได้, ใช้ EasyNet ไม่ได้, ถอนสาขาอื่นไม่ได้ :evil: :evil: :evil:
อย่างพี่ที่ทำงานเค้าเป็น freelance (ที่ปรึกษา IT) เค้าก็จดทะเบียนคณะบุคคลเหมือนกัน (เพื่อ split สัญญาแยกๆกัน.. เลี่ยงภาษีว่างั้นเถอะ) ก็ไม่เห็นมีใครพูดถึงการจดทะเบียนพานิชย์เลยนะครับ
ใน EPS13YEAR ของพี่ครรชิตก็มีผู้ถือหุ้นใหญ่ของบางบริษัทเป็นคณะบุคคลครับ เช่น CHARAN, CHUO, CMO, DVS, LNH, PHA, etc.
แต่อย่างนึงคือ บัญชีที่จะถอนเงินจากโบรค (ผมเปิด port แบบต้องฝากเงินเข้าไปก่อน) ต้องเป็นบัญชีของคณะบุคคลครับ ซึ่งบัญชีคณะบุคคล (ของผมเปิดกับไทยพานิชย์) นี่ต้องไปถอนที่สาขาที่เปิดอย่างเดียวเลยครับ ทำ ATM ไม่ได้, ใช้ EasyNet ไม่ได้, ถอนสาขาอื่นไม่ได้ :evil: :evil: :evil:
จำเป็นต้องจดทะเบียนพานิชย์ด้วยเหรอครับ? :shock: ตอนผมทำสัญญาที่สรรพากร, เปิดบัญชีกับโบรคและแบงค์ ไม่เห็นมีใครพูดถึงเลยต้องยื่นคำขอจดทะเบียนพาณิชย์ ต่อสำนักงานกลางทะเบียนพาณิชย์ หรือสำนักทะเบียนพาณิชย์ของแต่ละจังหวัด
อย่างพี่ที่ทำงานเค้าเป็น freelance (ที่ปรึกษา IT) เค้าก็จดทะเบียนคณะบุคคลเหมือนกัน (เพื่อ split สัญญาแยกๆกัน.. เลี่ยงภาษีว่างั้นเถอะ) ก็ไม่เห็นมีใครพูดถึงการจดทะเบียนพานิชย์เลยนะครับ
- ครรชิต ไพศาล
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 4637
- ผู้ติดตาม: 1
ซื้อหุ้นด้วยห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคล
โพสต์ที่ 13
การกระทำใดๆ ทางภาษี ตามแนวทางที่กฏหมายอนุญาต ให้ทำได้
เขาไม่เรียกว่า หลบเลียงภาษี เขาเรียกว่า เป็นการวางแผนทางภาษี :D
เขาไม่เรียกว่า หลบเลียงภาษี เขาเรียกว่า เป็นการวางแผนทางภาษี :D
ความสุขอื่น ยิ่งกว่าความสงบใจไม่มี นตฺถิ สนฺติ ปรํ สุขํ
หัดเล่น Facebook กะเขาบ้างแล้วนะครับ ใช้ชื่อ Kanchit Paisan ครับ
Facebook เพจ Eps16year Settrade Set ตลาดหลักทรัพย์ งบดุล ปันผล อัตราส่วนการเงิน กราฟ
Google เพจ kanchitpaisan
Google+ KANCHIT PAISAN
หัดเล่น Facebook กะเขาบ้างแล้วนะครับ ใช้ชื่อ Kanchit Paisan ครับ
Facebook เพจ Eps16year Settrade Set ตลาดหลักทรัพย์ งบดุล ปันผล อัตราส่วนการเงิน กราฟ
Google เพจ kanchitpaisan
Google+ KANCHIT PAISAN
-
- Verified User
- โพสต์: 674
- ผู้ติดตาม: 0
ซื้อหุ้นด้วยห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคล
โพสต์ที่ 15
คณะบุคคลแพทย์นี่เห็นบ่อยครับแต่ คณะบุคคลเล่นหุ้นนี่ไม่ค่อยเห็นเท่าไรv_sukit เขียน:รองอธิบดีกรมสรรพากร (นายสาธิต รังคสิริ)
กล่าวว่า การตั้งคณะบุคคล เป็นรูปแบบหนึ่งของการรวมตัวกันทำธุรกิจ แต่ไม่ได้เป็นนิติบุคคล ได้กลายเป็น
ช่องทางการเลี่ยงภาษีโดยถูกกฎหมาย ทำให้กรมสรรพากรเตรียมหาทางแก้ไขเพื่อปิดช่องโหว่นี้ ทั้งนี้ คณะบุคคลคือ ตั้งแต่ 2
คนรวมกันตั้งเป็นคณะบุคคลโดยร่วมทุนร่วมแรงกันทำงาน ซึ่งวิธีเสียภาษี และอัตราภาษีจะเท่ากับภาษีบุคคลธรรมดา เช่น
หักค่าใช้จ่ายได้ตามประเภทเงินได้ และกำหนดค่าลดหย่อนได้คนละ 30,000 บาท แต่ไม่เกิน 60,000 บาท และภาษีเป็นอัตรา
ก้าวหน้าตั้งแต่ 0-37% แต่ความได้เปรียบของคณะบุคคล คือไม่ต้องนำรายได้ ของคณะบุคคลไปรวมกับเงินได้ส่วนตัวของ
คนที่ร่วมอยู่ในคณะบุคคล
ที่มา : www.mof.go.th/ สรุปข่าวเศรษฐกิจรายวัน /วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2550
คิดว่าอีกไม่นานคงมีกฎหมายมาอุดช่องโหว่ตรงนี้แล้วล่ะครับ
สมัยก่อนผมก็โอนหุ้นให้คนอื่นรับปันผลแทน (อันนี้นี่เข้าข่ายหนีภาษีเลยด้วยซ้ำ)
เดี๋ยวนี้เลิกแล้วครับ
อันนี้ผมเห็นต่างกันครับการกระทำใดๆ ทางภาษี ตามแนวทางที่กฏหมายอนุญาต ให้ทำได้
เขาไม่เรียกว่า หลบเลียงภาษี เขาเรียกว่า เป็นการวางแผนทางภาษี
การกระทำใด ๆ ก็ตามที่ผิดเจตนารมณ์ของกฎหมายภาษี แม้ว่าจะไม่ผิดกฎหมายก็ตาม ถือเป็นการเลี่ยงภาษี (แต่ไม่ถึงขั้นหนีภาษีนะ)
ผมเชื่อว่าคนคิดกฎหมายภาษีคณะบุคคล ไม่ได้คิดมาเพื่อให้คนเสียภาษีน้อยลงหรอกครับ
ใครก็ตามที่จดทะเบียนคณะบุคคลโดยที่ไม่ได้ร่วมกันทำงาน และแบ่งผลตอบแทนกันจริง ผมว่าเป็นการเลี่ยงภาษีครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 520
- ผู้ติดตาม: 0
ซื้อหุ้นด้วยห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคล
โพสต์ที่ 16
คณะบุคคลถือเป็นบุคคลธรรมดาเสียภาษีแบบบุคคลธรรมดาครับครรชิต ไพศาล เขียน:ผมดูในหนังสือกฎหมายภาษี มันมีแต่ บุคคลธรรมดา กับ นิติบุคคล
คณะบุคคล ไม่มี
มีด้วยหรือครับ เปิดบัญชีกับโบรคเกอร์ ในนาม คณะบุคคล
เปิดบัญชีกับโบรคเกอร์ในนามคณะบุคคลได้ครับ ผมก็เปิดอยู่
ไม่ต้องจดทะเบียนพานิชย์นะครับ ผมจะไปจดแล้วเจ้าหน้าที่บอกว่าเปิดเพื่อซื้อหุ้น ไม่ต้องจดครับ เค้าโทรเชคเข้าไปที่กรมเค้าเลย ตอนแรกเค้าก็งงๆ
ว่าแต่เงินที่จะซื้อหุ้นถือเป็นรายได้พึงประเมินไหม? แล้วถ้าโอนหุ้นเข้าไปตรงๆนี่ต้องเสียภาษีไหมครับ?
In the long run, We are all dead.
-
- Verified User
- โพสต์: 222
- ผู้ติดตาม: 0
ซื้อหุ้นด้วยห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคล
โพสต์ที่ 17
ผมเปลี่ยนเป็น port คณะบุคคลได้แค่ประมาณ 3-4 เดือนครับ จึงยังไม่เคยได้ credit ภาษี แต่เท่าที่อ่านๆดูกระทู้เก่าๆ.. คุณ picatos ได้รับ credit ภาษีตามปกติครับ จึงคิดว่าไม่น่าจะมีปัญหาอะไร
สำหรับตัวผมเอง ที่เปิด port คณะบุคคลเนื่องจาก หุ้นใน port เป็นหุ้นของพ่อซัก 50% ได้ และฐานภาษีผม 20%+ ผมจึงไม่อยากให้พ่อต้องมีเสียภาษีที่ rate ของผมเวลา credit ภาษีอ่ะครับ
สำหรับตัวผมเอง ที่เปิด port คณะบุคคลเนื่องจาก หุ้นใน port เป็นหุ้นของพ่อซัก 50% ได้ และฐานภาษีผม 20%+ ผมจึงไม่อยากให้พ่อต้องมีเสียภาษีที่ rate ของผมเวลา credit ภาษีอ่ะครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 222
- ผู้ติดตาม: 0
ซื้อหุ้นด้วยห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคล
โพสต์ที่ 18
เอ้อ จริงแฮะ ไม่เคยคิดถึงข้อนี้เลย :? :? เปิด port เรียบร้อย โอนหุ้นไปเรียบร้อย.. 555 มีใครพอจะทราบมั้ยครับ?ว่าแต่เงินที่จะซื้อหุ้นถือเป็นรายได้พึงประเมินไหม? แล้วถ้าโอนหุ้นเข้าไปตรงๆนี่ต้องเสียภาษีไหมครับ?
- picatos
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 3352
- ผู้ติดตาม: 1
ซื้อหุ้นด้วยห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคล
โพสต์ที่ 19
จะมองว่าเป็นการเลี่ยงภาษีรึเปล่า?
ผมว่าขึ้นอยู่กับเจตนานะ คล้ายๆ กับการจัดตั้งห้างหุ้นส่วนแหละ
อย่างของผม เงินลงทุนไม่ได้เป็นของผมคนเดียว คือ มีของคนอื่นด้วย
ดังนั้นถ้ามา Book ลงในชื่อของผมคนเดียว ก็กลายเป็นว่าผมมีรายได้ที่ไม่ใช่ของผมด้วย ดังนั้นการจัดตั้งคณะบุคคลหรือตั้งห้างหุ้นส่วนก็น่าจะเป็นทางเลือกที่ดีนะครับ
ผมว่าขึ้นอยู่กับเจตนานะ คล้ายๆ กับการจัดตั้งห้างหุ้นส่วนแหละ
อย่างของผม เงินลงทุนไม่ได้เป็นของผมคนเดียว คือ มีของคนอื่นด้วย
ดังนั้นถ้ามา Book ลงในชื่อของผมคนเดียว ก็กลายเป็นว่าผมมีรายได้ที่ไม่ใช่ของผมด้วย ดังนั้นการจัดตั้งคณะบุคคลหรือตั้งห้างหุ้นส่วนก็น่าจะเป็นทางเลือกที่ดีนะครับ
- picatos
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 3352
- ผู้ติดตาม: 1
ซื้อหุ้นด้วยห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคล
โพสต์ที่ 20
ไม่แน่ใจเหมือนกันครับUnexpected เขียน: เอ้อ จริงแฮะ ไม่เคยคิดถึงข้อนี้เลย :? :? เปิด port เรียบร้อย โอนหุ้นไปเรียบร้อย.. 555 มีใครพอจะทราบมั้ยครับ?
แต่ผมมองว่าการโอนเงินเข้าพอร์ตคณะบุคคลก็เหมือนกับการนำสินทรัพย์มาลงทุนในกิจการครับ
ดังนั้นไม่น่าจะเสียจะครับ
- Eragon
- Verified User
- โพสต์: 271
- ผู้ติดตาม: 0
ซื้อหุ้นด้วยห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคล
โพสต์ที่ 21
ดูรายชื่อผู้ถือหุ้นใหญ่ของ Se-ed สครับ คนในตระกูลภู่วรวรรณมีตั้งหลายคณะบุคคล
http://www.set.or.th/set/companyinfo.do ... country=TH
http://www.set.or.th/set/companyinfo.do ... country=TH
- v_sukit
- Verified User
- โพสต์: 153
- ผู้ติดตาม: 0