ภาพรวมเศรษฐกิจ
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news28/12/07
โพสต์ที่ 571
รายชื่อหลักทรัพย์ที่นำมาใช้ในการคำนวณดัชนี SET50 ตั้งแต่ 1 ม.ค. - 30 มิ.ย. 51
Posted on Thursday, December 27, 2007
หมวดธุรกิจธุรกิจการเกษตร
บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) CPF
หมวดธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม
บริษัท น้ำตาลขอนแก่น จำกัด (มหาชน) KSL
บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) MINT
บริษัท ไทยยูเนียน โฟรเซ่น โปรดักส์ จำกัด (มหาชน) TUF
หมวดธุรกิจธนาคาร
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) BAY
ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) BBL
ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) KBANK
ธนาคารเกียรตินาคิน จำกัด (มหาชน) KK
ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) KTB
ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) SCB
ธนาคารนครหลวงไทย จำกัด (มหาชน) SCIB
ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) TMB
หมวดธุรกิจเงินทุนและหลักทรัพย์
บริษัท ทุนธนชาต จำกัด (มหาชน) TCAP
หมวดธุรกิจปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์
บริษัท ปตท.เคมิคอล จำกัด (มหาชน) PTTCH
บริษัท ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) TPC
หมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้าง
บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด(มหาชน) SCC
บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน) SCCC
บริษัท ทีพีไอ โพลีน จำกัด (มหาชน) TPIPL
หมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำกัด (มหาชน) AMATA
บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) CPN
บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) ITD
บริษัทแลนด์แอนด์เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน) LH
บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จำกัด (มหาชน) PS
หมวดธุรกิจพลังงานและสาธารณูปโภค
บริษัท บ้านปู จำกัด (มหาชน) BANPU
บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) EGCO
บริษัท โกลว์ พลังงาน จำกัด (มหาชน) GLOW
บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) IRPC
บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) PTT
บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) PTTAR*
บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) PTTEP
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) RATCH
บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) TOP
หมวดธุรกิจพาณิชย์
บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) CPALL
บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) MAKRO
หมวดธุรกิจการแพทย์
บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด(มหาชน) BGH
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) BH
หมวดธุรกิจสื่อและสิ่งพิมพ์
บริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) BEC
บริษัท เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ กรุ้ป จำกัด (มหาชน) MAJOR*
บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) MCOT
หมวดธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์
บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) AOT
บริษัท ทางด่วนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) BECL
บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) PSL
บริษัท อาร์ ซี แอล จำกัด (มหาชน) RCL
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) THAI
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จำกัด (มหาชน) TTA
หมวดธุรกิจชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
บริษัท แคล-คอมพ์ อีเล็คโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) CCET
บริษัทเดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) DELTA
บริษัท ฮานา ไมโครอิเล็คโทรนิคส จำกัด (มหาชน) HANA
หมวดธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ADVANC
บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) TRUE
http://www.moneychannel.co.th/BreakingN ... fault.aspx
Posted on Thursday, December 27, 2007
หมวดธุรกิจธุรกิจการเกษตร
บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) CPF
หมวดธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม
บริษัท น้ำตาลขอนแก่น จำกัด (มหาชน) KSL
บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) MINT
บริษัท ไทยยูเนียน โฟรเซ่น โปรดักส์ จำกัด (มหาชน) TUF
หมวดธุรกิจธนาคาร
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) BAY
ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) BBL
ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) KBANK
ธนาคารเกียรตินาคิน จำกัด (มหาชน) KK
ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) KTB
ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) SCB
ธนาคารนครหลวงไทย จำกัด (มหาชน) SCIB
ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) TMB
หมวดธุรกิจเงินทุนและหลักทรัพย์
บริษัท ทุนธนชาต จำกัด (มหาชน) TCAP
หมวดธุรกิจปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์
บริษัท ปตท.เคมิคอล จำกัด (มหาชน) PTTCH
บริษัท ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) TPC
หมวดธุรกิจวัสดุก่อสร้าง
บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด(มหาชน) SCC
บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน) SCCC
บริษัท ทีพีไอ โพลีน จำกัด (มหาชน) TPIPL
หมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำกัด (มหาชน) AMATA
บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) CPN
บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) ITD
บริษัทแลนด์แอนด์เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน) LH
บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จำกัด (มหาชน) PS
หมวดธุรกิจพลังงานและสาธารณูปโภค
บริษัท บ้านปู จำกัด (มหาชน) BANPU
บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) EGCO
บริษัท โกลว์ พลังงาน จำกัด (มหาชน) GLOW
บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) IRPC
บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) PTT
บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำกัด (มหาชน) PTTAR*
บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) PTTEP
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) RATCH
บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) TOP
หมวดธุรกิจพาณิชย์
บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) CPALL
บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) MAKRO
หมวดธุรกิจการแพทย์
บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด(มหาชน) BGH
บริษัท โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน) BH
หมวดธุรกิจสื่อและสิ่งพิมพ์
บริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) BEC
บริษัท เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ กรุ้ป จำกัด (มหาชน) MAJOR*
บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) MCOT
หมวดธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์
บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) AOT
บริษัท ทางด่วนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) BECL
บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) PSL
บริษัท อาร์ ซี แอล จำกัด (มหาชน) RCL
บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) THAI
บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จำกัด (มหาชน) TTA
หมวดธุรกิจชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
บริษัท แคล-คอมพ์ อีเล็คโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) CCET
บริษัทเดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) DELTA
บริษัท ฮานา ไมโครอิเล็คโทรนิคส จำกัด (มหาชน) HANA
หมวดธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) ADVANC
บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) TRUE
http://www.moneychannel.co.th/BreakingN ... fault.aspx
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news29/12/07
โพสต์ที่ 572
จีอีเผยสำรวจ ปีใหม่ไม่คึกคัก คนกระเป๋าแห้ง
โพสต์ทูเดย์ จีอี เผยผู้บริโภคไทยมีแผนใช้จ่ายช่วงปีใหม่น้อยลง เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจ
จีอีมันนี่ สำรวจพฤติกรรมการ ใช้จ่ายในช่วงคริสต์มาส และปีใหม่ของผู้บริโภคในภูมิภาคเอเชีย ใน ช่วงเดือน ธ.ค. พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามในประเทศไทย สิงคโปร์ และฟิลิปปินส์ มีแนวโน้มที่จะใช้ จ่ายน้อยลง โดยเฉพาะในประเทศไทยให้เหตุผลถึงแผนการใช้จ่าย ที่ลดลงว่า เป็นเพราะปัจจัยทางเศรษฐกิจเป็นหลัก
45% ของผู้บริโภคชาวไทย กล่าวว่า จะใช้จ่ายน้อยลงกว่าปีก่อน โดยระบุว่า สาเหตุหลักมาจากเรื่องของเศรษฐกิจ จีอีมันนี่ ระบุ
ทั้งนี้ ผู้ตอบแบบสอบถาม จากประเทศไทย 63% ระบุว่า มี แนวโน้มจะซื้อของขวัญปีใหม่ตามความจำเป็น มากกว่าจะวางแผนไว้ล่วงหน้า ลักษณะการซื้อตาม สถานการณ์เช่นนี้ แตกต่างอย่าง สิ้นเชิงกับผลสำรวจในประเทศอื่นๆ ซึ่งมีแนวโน้มจะซื้อของโดยวางแผนเอาไว้ก่อน
ผลสำรวจยังระบุด้วยว่า ผู้บริโภคชาวไทยซื้อของขวัญเพิ่มขึ้น 16% เมื่อวัดจากผู้ทำแบบสำรวจในปี 2549 ที่ระบุว่า ซื้อสินค้าที่ ไม่ใช่ของขวัญ มีประมาณ 37% ขณะที่ยอดปรับลดเหลือ 21% ในปี 2550
สำหรับผู้บริโภคชาวจีน และเกาหลี จะใช้จ่ายเพื่อซื้อของขวัญคริสต์มาส และปีใหม่มากกว่าปีที่แล้ว โดยกว่า 86% ของผู้ตอบแบบสอบถามในจีน และเกาหลี ระบุว่า จะใช้จ่ายมากขึ้น หรือเทียบเท่ากับ ปีที่แล้ว สืบเนื่องมาจากภาวะเศรษฐกิจที่กระเตื้องขึ้น
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=211624
โพสต์ทูเดย์ จีอี เผยผู้บริโภคไทยมีแผนใช้จ่ายช่วงปีใหม่น้อยลง เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจ
จีอีมันนี่ สำรวจพฤติกรรมการ ใช้จ่ายในช่วงคริสต์มาส และปีใหม่ของผู้บริโภคในภูมิภาคเอเชีย ใน ช่วงเดือน ธ.ค. พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามในประเทศไทย สิงคโปร์ และฟิลิปปินส์ มีแนวโน้มที่จะใช้ จ่ายน้อยลง โดยเฉพาะในประเทศไทยให้เหตุผลถึงแผนการใช้จ่าย ที่ลดลงว่า เป็นเพราะปัจจัยทางเศรษฐกิจเป็นหลัก
45% ของผู้บริโภคชาวไทย กล่าวว่า จะใช้จ่ายน้อยลงกว่าปีก่อน โดยระบุว่า สาเหตุหลักมาจากเรื่องของเศรษฐกิจ จีอีมันนี่ ระบุ
ทั้งนี้ ผู้ตอบแบบสอบถาม จากประเทศไทย 63% ระบุว่า มี แนวโน้มจะซื้อของขวัญปีใหม่ตามความจำเป็น มากกว่าจะวางแผนไว้ล่วงหน้า ลักษณะการซื้อตาม สถานการณ์เช่นนี้ แตกต่างอย่าง สิ้นเชิงกับผลสำรวจในประเทศอื่นๆ ซึ่งมีแนวโน้มจะซื้อของโดยวางแผนเอาไว้ก่อน
ผลสำรวจยังระบุด้วยว่า ผู้บริโภคชาวไทยซื้อของขวัญเพิ่มขึ้น 16% เมื่อวัดจากผู้ทำแบบสำรวจในปี 2549 ที่ระบุว่า ซื้อสินค้าที่ ไม่ใช่ของขวัญ มีประมาณ 37% ขณะที่ยอดปรับลดเหลือ 21% ในปี 2550
สำหรับผู้บริโภคชาวจีน และเกาหลี จะใช้จ่ายเพื่อซื้อของขวัญคริสต์มาส และปีใหม่มากกว่าปีที่แล้ว โดยกว่า 86% ของผู้ตอบแบบสอบถามในจีน และเกาหลี ระบุว่า จะใช้จ่ายมากขึ้น หรือเทียบเท่ากับ ปีที่แล้ว สืบเนื่องมาจากภาวะเศรษฐกิจที่กระเตื้องขึ้น
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=211624
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news29/12/07
โพสต์ที่ 573
หุ้นปี50กำไร26%
โพสต์ทูเดย์ ส่งท้ายปีหมู ดัชนี หุ้นโต 26.2% มาร์เก็ตแคปเพิ่ม 1.56 ล้านล้านบาท มาอยู่ที่ 6.63 ล้าน ล้านบาท
ดัชนีหุ้นวันที่ 28 ธ.ค. 2550 ซื้อขายวันสุดท้ายของปี ปิดตลาดที่ระดับ 858.10 จุด เพิ่มขึ้น 6.04 จุด มูลค่าการซื้อขาย 17,356 ล้านบาท ต่างชาติซื้อสุทธิ 280 ล้านบาท สถาบันซื้อ 1,467.46 ล้านบาท
ตลอดทั้งปีดัชนีเพิ่มขึ้น 178.26 จุด หรือ 26.22% เทียบกับปลายปี 2549 ซึ่งดัชนีปิดที่ระดับ 679.84 จุด
ขณะที่มูลค่าตลาดรวม (มาร์เก็ตแคป) สิ้นปี 2550 จบด้วยมูลค่า 6.63 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น 1.56 ล้านล้านบาท หรือ 30% เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมาที่มีจำนวน 5.07 ล้านล้านบาท และตลอดปีต่างชาติมียอดซื้อสุทธิ 5.5 หมื่นล้านบาท สถาบันซื้อสุทธิ 2.1 พันล้านบาท และรายย่อยขายสุทธิ 5.7 หมื่นล้านบาท
ทั้งนี้ ปี 2550 ดัชนีแตะระดับสูงสุด 915.03 จุด เมื่อวันที่ 29 ต.ค. 2550 อานิสงส์จากเงินทุนไหลเข้า ถือเป็นการทำสถิติสูงสุดในรอบ 11 ปี นับตั้งแต่เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ
หลักทรัพย์ที่มีมูลค่าการซื้อขายสูงสุดปีนี้ ณ วันที่ 27 ธ.ค. 2550 คือ ปตท. (PTT) มูลค่า 3.66 แสนล้านบาท ปตท.สผ. (PTTEP) มูลค่า 2.18 แสนล้านบาท และไทยออยล์ (TOP) มูลค่า 1.71 แสนล้านบาท
อย่างไรก็ตาม พบว่าอัตราเงินปันผลตอบแทนเฉลี่ยปี 2550 อยู่ที่ 3.35% ลดลง 20.80% เมื่อเทียบกับปี 2549 ซึ่งให้ผลตอบแทนที่ระดับ 4.23%
สำหรับจำนวนบัญชีการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ ตัวเลข ณ วันที่ 30 พ.ย. 2550 มีทั้งหมด 503,124 บัญชี เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปีที่ผ่านมาที่มีจำนวน 478,585 บัญชี เป็นบัญชีที่มีการซื้อขาย 112,530 บัญชี เพิ่มจาก 111,706 บัญชี ในปี 2549
จำนวนบริษัทเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ (หุ้นไอพีโอ) ในปี 2550 มีจำนวน 6 บริษัท ลดลง 50% จากปีที่ผ่านมาที่มี 12 บริษัท
ขณะที่มูลค่าการระดมทุนของบริษัทจดทะเบียนเข้าใหม่ในปีนี้รวมทั้งหมด 9.6 พันล้านบาท ลดลงถึง 73.9% เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมที่มีการระดมเงินถึง 3.67 หมื่นล้านบาท
นายพิชัย เลิศสุพงศ์กิจ ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายการตลาด บล.ธนชาต กล่าวว่า ตลาดหุ้นเอเชียหลายตลาดปรับตัวลง เนื่องจากมีความกังวลเรื่องการก่อการร้าย หลังจากที่มีการลอบสังหารนางเบนาซีร์ บุตโต อดีตนายกรัฐมนตรีของปากีสถาน เหตุการณ์นี้ทำให้ราคาน้ำมันดิบโลกพุ่งขึ้นไปแตะ 97 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล ส่งผลดีต่อหุ้นพลังงานที่ปิดในแดนบวก
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=211661
โพสต์ทูเดย์ ส่งท้ายปีหมู ดัชนี หุ้นโต 26.2% มาร์เก็ตแคปเพิ่ม 1.56 ล้านล้านบาท มาอยู่ที่ 6.63 ล้าน ล้านบาท
ดัชนีหุ้นวันที่ 28 ธ.ค. 2550 ซื้อขายวันสุดท้ายของปี ปิดตลาดที่ระดับ 858.10 จุด เพิ่มขึ้น 6.04 จุด มูลค่าการซื้อขาย 17,356 ล้านบาท ต่างชาติซื้อสุทธิ 280 ล้านบาท สถาบันซื้อ 1,467.46 ล้านบาท
ตลอดทั้งปีดัชนีเพิ่มขึ้น 178.26 จุด หรือ 26.22% เทียบกับปลายปี 2549 ซึ่งดัชนีปิดที่ระดับ 679.84 จุด
ขณะที่มูลค่าตลาดรวม (มาร์เก็ตแคป) สิ้นปี 2550 จบด้วยมูลค่า 6.63 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น 1.56 ล้านล้านบาท หรือ 30% เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมาที่มีจำนวน 5.07 ล้านล้านบาท และตลอดปีต่างชาติมียอดซื้อสุทธิ 5.5 หมื่นล้านบาท สถาบันซื้อสุทธิ 2.1 พันล้านบาท และรายย่อยขายสุทธิ 5.7 หมื่นล้านบาท
ทั้งนี้ ปี 2550 ดัชนีแตะระดับสูงสุด 915.03 จุด เมื่อวันที่ 29 ต.ค. 2550 อานิสงส์จากเงินทุนไหลเข้า ถือเป็นการทำสถิติสูงสุดในรอบ 11 ปี นับตั้งแต่เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ
หลักทรัพย์ที่มีมูลค่าการซื้อขายสูงสุดปีนี้ ณ วันที่ 27 ธ.ค. 2550 คือ ปตท. (PTT) มูลค่า 3.66 แสนล้านบาท ปตท.สผ. (PTTEP) มูลค่า 2.18 แสนล้านบาท และไทยออยล์ (TOP) มูลค่า 1.71 แสนล้านบาท
อย่างไรก็ตาม พบว่าอัตราเงินปันผลตอบแทนเฉลี่ยปี 2550 อยู่ที่ 3.35% ลดลง 20.80% เมื่อเทียบกับปี 2549 ซึ่งให้ผลตอบแทนที่ระดับ 4.23%
สำหรับจำนวนบัญชีการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ ตัวเลข ณ วันที่ 30 พ.ย. 2550 มีทั้งหมด 503,124 บัญชี เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปีที่ผ่านมาที่มีจำนวน 478,585 บัญชี เป็นบัญชีที่มีการซื้อขาย 112,530 บัญชี เพิ่มจาก 111,706 บัญชี ในปี 2549
จำนวนบริษัทเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ (หุ้นไอพีโอ) ในปี 2550 มีจำนวน 6 บริษัท ลดลง 50% จากปีที่ผ่านมาที่มี 12 บริษัท
ขณะที่มูลค่าการระดมทุนของบริษัทจดทะเบียนเข้าใหม่ในปีนี้รวมทั้งหมด 9.6 พันล้านบาท ลดลงถึง 73.9% เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมที่มีการระดมเงินถึง 3.67 หมื่นล้านบาท
นายพิชัย เลิศสุพงศ์กิจ ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายการตลาด บล.ธนชาต กล่าวว่า ตลาดหุ้นเอเชียหลายตลาดปรับตัวลง เนื่องจากมีความกังวลเรื่องการก่อการร้าย หลังจากที่มีการลอบสังหารนางเบนาซีร์ บุตโต อดีตนายกรัฐมนตรีของปากีสถาน เหตุการณ์นี้ทำให้ราคาน้ำมันดิบโลกพุ่งขึ้นไปแตะ 97 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล ส่งผลดีต่อหุ้นพลังงานที่ปิดในแดนบวก
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=211661
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news02/01/08
โพสต์ที่ 574
เตือนระวังเล่นหุ้นเดือนม.ค.
โพสต์ทูเดย์ นักวิเคราะห์ทั้งไทยและเทศมีมุมมองที่เป็นบวกต่อหุ้นเดือน ม.ค. แต่เตือนไม่ให้ผลีผลามลุย แนะเก็บแบงก์ใหญ่-พลังงาน
นักวิเคราะห์ บล.กิมเอ็ง (ประ เทศไทย) มีมุมมองที่ระมัดระวัง มากขึ้นต่อแนวโน้มหุ้นในเดือน ม.ค. นี้ เนื่องจากทิศทางการเมืองที่ไม่แน่นอนตามผลการเลือกตั้ง และดัชนีจะเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบ 800-860 จุด ใกล้เคียงปัจจุบัน
เรากำลังรอดูว่ารัฐบาลใหม่จะจัดตั้งได้เมื่อไหร่และแก้ปัญหาความขัดแย้งในช่วง 2 ปีที่ผ่านมาได้หรือไม่ และคาดว่าหุ้นจะได้รับผลกระทบหนักจากวิกฤตซับไพรม์หรือสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ด้อยคุณภาพในสหรัฐที่กำลังฉุดเศรษฐกิจสหรัฐชะลอตัวและถดถอย
บล.กิมเอ็ง ยังมีมุมมองเป็นบวกต่อหุ้นไทยปีนี้ เพราะเชื่อว่าจะได้รัฐบาลที่มาจากระบอบประชาธิปไตยในเดือน มี.ค. 2551 และการฟื้นตัวของความเชื่อมั่นผู้บริโภคและความต้องการในประเทศจะต่อเนื่องต่อไปที่จะช่วยให้กำไรบริษัทจดทะเบียนเติบโต
บล.แห่งนี้แนะนำหุ้นเด่นที่แนวโน้มผลประกอบการดีโดยเฉพาะผลประกอบการไตรมาส 4 ที่จะประกาศออกมาคือ บริษัท ปตท.(PTT) ธนาคารกรุงเทพ (BBL) บริษัท ซีพี ออลล์ (CPALL) บริษัท เมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ กรุ้ป (MAJOR) บริษัท จีเอ็มเอ็มแกรมมี่ (GRAMMY) บริษัท ที.เค.เอส.เทคโนโลยี (TKS) บริษัท เอสไอเอสดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) หรือSIS บริษัท สมบูรณ์แอดวานซ์เทคโนโลยี (SAT) บริษัท ยูนิคไมนิ่ง เซอร์วิสเซส (UMS) และบริษัท น้ำมันพืชไทย (TVO)
ด้านนักวิเคราะห์ บล.ซีแอลเอสเอ ยังมีมุมมองที่เป็นบวกต่อตลาดหุ้นไทยเช่นเดียวกัน ภายหลังพรรคพลังประชาชนชนะการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธ.ค.ที่ผ่านมา และได้คะแนนเสียงมากกว่าที่คาด
บล.แห่งนี้เชื่อว่าด้วยคะแนนเสียงที่เป็นเอกฉันท์จะทำให้รัฐบาลชุดใหม่ดำเนินนโยบายพลิกฟื้นเศรษฐกิจขึ้นมาได้
ทั้งนี้ ได้ให้น้ำหนักลงทุนหุ้นกลุ่มสถาบันการเงินเหนือตลาดจากการใช้จ่ายงบประมาณในโครงการขนาดใหญ่เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลใหม่และการฟื้นตัวของกำไรธนาคารที่มีการตั้งสำรองไว้สูงช่วงปี 2548-2550
บล.ซีแอลเอสเอ แนะนำให้ซื้อหุ้น BBL ที่กำไรจะฟื้นตัว, ธนาคารกสิกรไทย (KBANK) ราคาหุ้นยังถูกและขายหุ้นธนาคารกรุงไทย (KTB) ที่ตั้งสำรองไม่เพียงพอ
อย่างไรก็ตาม การลงทุนหุ้นกลุ่มธนาคารให้ระมัดระวังความเสี่ยงจากราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงและราคาน้ำมันจะกระทบกำไรบริษัททำให้ความมั่นใจในการดำเนินธุรกิจลดลง
นอกจากนั้น ยังให้น้ำหนักลงทุนเหนือตลาดหุ้นกลุ่มสื่อสาร ที่จะได้ดีจากความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่จะฟื้นตัวพร้อมกับการเปิดเสรีโทรคมนาคมของรัฐบาลชุดใหม่
ดังนั้น บล.ซีแอลเอสเอ ได้แนะนำให้ซื้อหุ้นบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น (d\DTAC) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น (TRUE) และ บริษัท แอดวานซ์อินโฟร์ เซอร์วิส (ADVANC)
นอกจากนี้ยังให้น้ำหนักเท่าตลาดกลุ่มพลังงาน โดย PTT ยังคงได้ดีจากราคาน้ำมันแพง และเป็นหุ้นที่ปลอดภัยจากปัญหาท่อก๊าซ
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=212204
โพสต์ทูเดย์ นักวิเคราะห์ทั้งไทยและเทศมีมุมมองที่เป็นบวกต่อหุ้นเดือน ม.ค. แต่เตือนไม่ให้ผลีผลามลุย แนะเก็บแบงก์ใหญ่-พลังงาน
นักวิเคราะห์ บล.กิมเอ็ง (ประ เทศไทย) มีมุมมองที่ระมัดระวัง มากขึ้นต่อแนวโน้มหุ้นในเดือน ม.ค. นี้ เนื่องจากทิศทางการเมืองที่ไม่แน่นอนตามผลการเลือกตั้ง และดัชนีจะเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบ 800-860 จุด ใกล้เคียงปัจจุบัน
เรากำลังรอดูว่ารัฐบาลใหม่จะจัดตั้งได้เมื่อไหร่และแก้ปัญหาความขัดแย้งในช่วง 2 ปีที่ผ่านมาได้หรือไม่ และคาดว่าหุ้นจะได้รับผลกระทบหนักจากวิกฤตซับไพรม์หรือสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ด้อยคุณภาพในสหรัฐที่กำลังฉุดเศรษฐกิจสหรัฐชะลอตัวและถดถอย
บล.กิมเอ็ง ยังมีมุมมองเป็นบวกต่อหุ้นไทยปีนี้ เพราะเชื่อว่าจะได้รัฐบาลที่มาจากระบอบประชาธิปไตยในเดือน มี.ค. 2551 และการฟื้นตัวของความเชื่อมั่นผู้บริโภคและความต้องการในประเทศจะต่อเนื่องต่อไปที่จะช่วยให้กำไรบริษัทจดทะเบียนเติบโต
บล.แห่งนี้แนะนำหุ้นเด่นที่แนวโน้มผลประกอบการดีโดยเฉพาะผลประกอบการไตรมาส 4 ที่จะประกาศออกมาคือ บริษัท ปตท.(PTT) ธนาคารกรุงเทพ (BBL) บริษัท ซีพี ออลล์ (CPALL) บริษัท เมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ กรุ้ป (MAJOR) บริษัท จีเอ็มเอ็มแกรมมี่ (GRAMMY) บริษัท ที.เค.เอส.เทคโนโลยี (TKS) บริษัท เอสไอเอสดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) หรือSIS บริษัท สมบูรณ์แอดวานซ์เทคโนโลยี (SAT) บริษัท ยูนิคไมนิ่ง เซอร์วิสเซส (UMS) และบริษัท น้ำมันพืชไทย (TVO)
ด้านนักวิเคราะห์ บล.ซีแอลเอสเอ ยังมีมุมมองที่เป็นบวกต่อตลาดหุ้นไทยเช่นเดียวกัน ภายหลังพรรคพลังประชาชนชนะการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธ.ค.ที่ผ่านมา และได้คะแนนเสียงมากกว่าที่คาด
บล.แห่งนี้เชื่อว่าด้วยคะแนนเสียงที่เป็นเอกฉันท์จะทำให้รัฐบาลชุดใหม่ดำเนินนโยบายพลิกฟื้นเศรษฐกิจขึ้นมาได้
ทั้งนี้ ได้ให้น้ำหนักลงทุนหุ้นกลุ่มสถาบันการเงินเหนือตลาดจากการใช้จ่ายงบประมาณในโครงการขนาดใหญ่เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลใหม่และการฟื้นตัวของกำไรธนาคารที่มีการตั้งสำรองไว้สูงช่วงปี 2548-2550
บล.ซีแอลเอสเอ แนะนำให้ซื้อหุ้น BBL ที่กำไรจะฟื้นตัว, ธนาคารกสิกรไทย (KBANK) ราคาหุ้นยังถูกและขายหุ้นธนาคารกรุงไทย (KTB) ที่ตั้งสำรองไม่เพียงพอ
อย่างไรก็ตาม การลงทุนหุ้นกลุ่มธนาคารให้ระมัดระวังความเสี่ยงจากราคาสินค้าโภคภัณฑ์สูงและราคาน้ำมันจะกระทบกำไรบริษัททำให้ความมั่นใจในการดำเนินธุรกิจลดลง
นอกจากนั้น ยังให้น้ำหนักลงทุนเหนือตลาดหุ้นกลุ่มสื่อสาร ที่จะได้ดีจากความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่จะฟื้นตัวพร้อมกับการเปิดเสรีโทรคมนาคมของรัฐบาลชุดใหม่
ดังนั้น บล.ซีแอลเอสเอ ได้แนะนำให้ซื้อหุ้นบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น (d\DTAC) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น (TRUE) และ บริษัท แอดวานซ์อินโฟร์ เซอร์วิส (ADVANC)
นอกจากนี้ยังให้น้ำหนักเท่าตลาดกลุ่มพลังงาน โดย PTT ยังคงได้ดีจากราคาน้ำมันแพง และเป็นหุ้นที่ปลอดภัยจากปัญหาท่อก๊าซ
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=212204
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news02/01/08
โพสต์ที่ 575
บสท.เร่งปรับหนี้เน่าก่อนยุบ
เดี้ยงคุยกันได้ ขู่ใครเบี้ยวฟ้อง ปิดแน่สิ้นปี54
โพสต์ทูเดย์ คลังตั้งเป้าขาย หนี้บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทยที่รับโอนมาให้ บสก.-บบส.สุขุมวิท บริหารต่อ เร่งปรับหนี้อีกรอบใครเบี้ยวฟ้อง
นางพรรณี สถาวโรดม ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ในฐานะประธานกรรมการบริหาร บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย (บสท.) กล่าวว่า หากในปี 2554 ซึ่งครบกำหนดปิดทำการของ บสท.ตามที่กฎหมายกำหนดแล้ว หาก บสท.ยังไม่สามารถปรับโครงสร้างหนี้ที่ได้รับโอนมาจากสถาบันการเงินทั้งสิ้น 1.52 หมื่นรายการ มูลค่าทางบัญชี 7.75 แสนล้านบาทได้หมด ก็จะขายหนี้และทรัพย์ที่เหลืออยู่ให้กับบริษัทบริหารสินทรัพย์สุขุมวิท (แซม) และบริษัทบริหารสินทรัพย์กรุงเทพพาณิชย์ (บสก.) ไปบริหารจัดการต่อไป
นางพรรณี กล่าวว่า นับตั้งแต่ที่ได้รับโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพมาจากสถาบันการเงินที่มีปัญหาจากวิกฤตเศรษฐกิจเมื่อปี 2540 นั้น เมื่อสิ้นเดือน ก.ค. 2550 บสท.ได้เจรจาปรับโครงสร้างหนี้ได้แล้ว 100% แต่ปัจจุบันยังมีลูกหนี้หลายรายที่ยังมีปัญหา ไม่สามารถชำระหนี้ได้ตามแผนที่วางไว้ได้ ทำให้ยังมีหนี้ค้างอยู่ส่วนหนึ่ง
อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการ บสท.ได้เห็นชอบแผนการดำเนินงานของ บสท.ในปี 2551 และแผนการดำเนินงานตั้งแต่ปี 2551 - มิ.ย. 2554 แล้ว โดย บสท.จะรายงานให้กระทรวงการคลังรับทราบต่อไป
ทั้งนี้ แผนงานในปี 2551 บสท.จะทำการเจรจาปรับโครงสร้างหนี้ส่วนที่ยังค้างอยู่อีกครั้ง โดย จะทำการตรวจสอบสาเหตุที่ไม่สามารถชำระหนี้ได้ตามแผน หากพบว่ามีปัญหาในธุรกิจที่ดำเนินการจริง บสท.ก็จะทำการปรับโครงสร้างหนี้ให้อีกครั้ง แต่หากพบว่าผิดปรกติ ลูกหนี้มีการถ่ายโอนทรัพย์ หรือหลีกเลี่ยงการชำระหนี้ ก็จะดำเนินการตามกฎหมายทันที
สำหรับผลการดำเนินล่าสุด ไตรมาส 3 ของปีก่อนนั้น บสท.บริหารทรัพย์สิน 7.75 แสนล้านบาท สามารถจัดเก็บหนี้ได้ 1.32 แสนล้านบาท ได้รับเงินจากการชำระหนี้ 1.08 แสนล้านบาท ได้รับเงินจากการขายและบริหารสินทรัพย์ 2.3 หมื่นล้านบาท และได้รับเงินจากการขายทอดตลาดทรัพย์หลักประกันอีก 1.45 พันล้านบาท
นอกจากนี้ บสท.ได้ให้การติดตามดูแลลูกหนี้อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาลูกหนี้ที่ผิดนัดชำระหนี้ตามแผนเกินกว่า 90 วัน หาก พบลูกหนี้รายใดมีสัญญาณว่าจะไม่สามารถดำเนินการตามแผนการชำระหนี้ที่ตกลงกันได้ก็จะรีบแก้ไขปัญหาโดยเร็ว โดยปัจจุบันมีลูกหนี้ ที่ผิดนัดชำระเกินกว่า 90 วัน 4.85% และได้ช่วยเหลือให้ลูกหนี้กลับไปดำเนินธุรกิจได้ตามปกติแล้ว 1.83 พันราย มูลค่าร่วม 5.23 หมื่นล้านบาท
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=212219
เดี้ยงคุยกันได้ ขู่ใครเบี้ยวฟ้อง ปิดแน่สิ้นปี54
โพสต์ทูเดย์ คลังตั้งเป้าขาย หนี้บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทยที่รับโอนมาให้ บสก.-บบส.สุขุมวิท บริหารต่อ เร่งปรับหนี้อีกรอบใครเบี้ยวฟ้อง
นางพรรณี สถาวโรดม ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ในฐานะประธานกรรมการบริหาร บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย (บสท.) กล่าวว่า หากในปี 2554 ซึ่งครบกำหนดปิดทำการของ บสท.ตามที่กฎหมายกำหนดแล้ว หาก บสท.ยังไม่สามารถปรับโครงสร้างหนี้ที่ได้รับโอนมาจากสถาบันการเงินทั้งสิ้น 1.52 หมื่นรายการ มูลค่าทางบัญชี 7.75 แสนล้านบาทได้หมด ก็จะขายหนี้และทรัพย์ที่เหลืออยู่ให้กับบริษัทบริหารสินทรัพย์สุขุมวิท (แซม) และบริษัทบริหารสินทรัพย์กรุงเทพพาณิชย์ (บสก.) ไปบริหารจัดการต่อไป
นางพรรณี กล่าวว่า นับตั้งแต่ที่ได้รับโอนสินทรัพย์ด้อยคุณภาพมาจากสถาบันการเงินที่มีปัญหาจากวิกฤตเศรษฐกิจเมื่อปี 2540 นั้น เมื่อสิ้นเดือน ก.ค. 2550 บสท.ได้เจรจาปรับโครงสร้างหนี้ได้แล้ว 100% แต่ปัจจุบันยังมีลูกหนี้หลายรายที่ยังมีปัญหา ไม่สามารถชำระหนี้ได้ตามแผนที่วางไว้ได้ ทำให้ยังมีหนี้ค้างอยู่ส่วนหนึ่ง
อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการ บสท.ได้เห็นชอบแผนการดำเนินงานของ บสท.ในปี 2551 และแผนการดำเนินงานตั้งแต่ปี 2551 - มิ.ย. 2554 แล้ว โดย บสท.จะรายงานให้กระทรวงการคลังรับทราบต่อไป
ทั้งนี้ แผนงานในปี 2551 บสท.จะทำการเจรจาปรับโครงสร้างหนี้ส่วนที่ยังค้างอยู่อีกครั้ง โดย จะทำการตรวจสอบสาเหตุที่ไม่สามารถชำระหนี้ได้ตามแผน หากพบว่ามีปัญหาในธุรกิจที่ดำเนินการจริง บสท.ก็จะทำการปรับโครงสร้างหนี้ให้อีกครั้ง แต่หากพบว่าผิดปรกติ ลูกหนี้มีการถ่ายโอนทรัพย์ หรือหลีกเลี่ยงการชำระหนี้ ก็จะดำเนินการตามกฎหมายทันที
สำหรับผลการดำเนินล่าสุด ไตรมาส 3 ของปีก่อนนั้น บสท.บริหารทรัพย์สิน 7.75 แสนล้านบาท สามารถจัดเก็บหนี้ได้ 1.32 แสนล้านบาท ได้รับเงินจากการชำระหนี้ 1.08 แสนล้านบาท ได้รับเงินจากการขายและบริหารสินทรัพย์ 2.3 หมื่นล้านบาท และได้รับเงินจากการขายทอดตลาดทรัพย์หลักประกันอีก 1.45 พันล้านบาท
นอกจากนี้ บสท.ได้ให้การติดตามดูแลลูกหนี้อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาลูกหนี้ที่ผิดนัดชำระหนี้ตามแผนเกินกว่า 90 วัน หาก พบลูกหนี้รายใดมีสัญญาณว่าจะไม่สามารถดำเนินการตามแผนการชำระหนี้ที่ตกลงกันได้ก็จะรีบแก้ไขปัญหาโดยเร็ว โดยปัจจุบันมีลูกหนี้ ที่ผิดนัดชำระเกินกว่า 90 วัน 4.85% และได้ช่วยเหลือให้ลูกหนี้กลับไปดำเนินธุรกิจได้ตามปกติแล้ว 1.83 พันราย มูลค่าร่วม 5.23 หมื่นล้านบาท
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=212219
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news02/01/08
โพสต์ที่ 576
ส.อ.ท.ประเมินรัฐบาลใหม่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจได้ในไตรมาส 2
2 มกราคม พ.ศ. 2551 11:42:00
ส.อ.ท.ประเมินรัฐบาลผสมชุดใหม่ นโยบายเศรษฐกิจลงตัวในไตรมาสที่ 2 ส่งผลเศรษฐกิจขยับตัวไตรมาสที่ 3
กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ : นายสันติ วิลาสศักดานนท์ ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) กล่าวว่าขณะนี้ ส.อ.ท.ได้รวบรวมข้อเสนอแนะด้านนโยบายเศรษฐกิจ พร้อมที่จะเสนอต่อรัฐบาลชุดใหม่ทันที โดยด้านการลงทุนนั้นรัฐบาลควรเร่งรัดการดำเนินโครงการลงทุนขนาดใหญ่ เพื่อเป็นการสร้างงานและช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ ต้องเร่งสร้างความมั่นใจในการลงทุน โดยเฉพาะการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ทั้งจากมาตรการของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) และกฎหมายประกอบธุรกิจคนต่างด้าว และต้องเร่งส่งเสริมการลงทุนของภาคเอกชนในต่างประเทศ ควรมีการจัดตั้งกองทุนในรูปเงินตราสหรัฐเพื่อการลงทุนในต่างประเทศ
ส่วนข้อเสนอแนะด้านภาษีนั้น ขอให้ยกเลิกนโยบายการสนับสนุนอุตสาหกรรมที่ให้มีการปรับปรุงโครงสร้างพิกัดอัตราภาษีศุลกากรเป็นรายอุตสาหกรรม ซึ่งกรณีที่ต้องการแก้ความลักลั่นของอัตราอากรก็ควรดำเนินการให้ครอบคลุมสินค้าทั้งหมด เพราะการที่กระทรวงการคลังได้แบ่งกลุ่มสินค้าตามโครงสร้างการผลิตออกเป็น 3 ขั้น ได้แก่ วัตถุดิบ (ต้นน้ำ) สินค้ากึ่งสำเร็จรูป (กลางน้ำ) และสินค้าสำเร็จรูป (ปลายน้ำ) นั้น ส.อ.ท.เห็นว่าการดำเนินการปรับโครงสร้างฯ เป็นรายสาขาอุตสาหกรรม ทำให้เกิดความลักลั่นของอัตราอากรในกรอบอัตราอากรทั่วไประหว่างกลุ่มอุตสาหกรรมและการลดภาษีภายใต้กรอบเจรจาการค้าต่าง ๆ เช่น เอฟทีเอ และอาเซียน ที่ได้ดำเนินการไปแล้ว
ขณะเดียวกันขอให้พิจารณาทบทวนการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตจากมลภาวะหรือมลพิษที่มีผลกระทบต่อสังคมหรือสิ่งแวดล้อม ตามร่าง พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต เนื่องจาก ส.อ.ท.เห็นว่าการจัดเก็บภาษีจากสินค้าและสิ่งแวดล้อม ได้มีหลายหน่วยงานดำเนินการจัดเก็บ โดยเฉพาะกรมสรรพสามิตมีการจัดเก็บภาษีจากสินค้าและบริการที่มีผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมอยู่แล้ว หากมีการจัดเก็บภาษีจากปริมาณมลพิษอีก ก็จะเกิดความซ้ำซ้อน และอาจมีข้อกำหนดในการกำกับดูแล เนื่องจากเป็นเรื่องเฉพาะ
ประธาน ส.อ.ท. ประเมินด้วยว่า เศรษฐกิจไทยปี 2551 น่าจะอยู่ในภาวะทรง ๆ ขยายตัวไม่หวือหวา โดยจีดีพี น่าจะขยายตัวประมาณ 4.0-5.0% เนื่องจากรัฐบาลใหม่เป็นรัฐบาลผสม จึงทำให้คาดว่าในไตรมาสที่ 2 ครม.ใหม่จึงจะร่วมวางกรอบนโยบายเศรษฐกิจให้เห็นพ้องไปในทิศทางเดียวกัน หลังจากนั้นไตรมาสที่ 3 น่าจะเห็นนโยบายเศรษฐกิจที่ชัดเจนขึ้น จากปัญหาเศรษฐกิจสหรัฐที่สืบเนื่องจากอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์จะส่งผลต่อเศรษฐกิจโลก เงินบาทจะมีแนวโน้มแข็งค่าขึ้น ราคาน้ำมันที่สูงขึ้นจะส่งผลต่อเงินเฟ้อของไทย จึงมีผลต่อเศรษฐกิจไทยด้วย
ภาคเอกชนหวังว่า การฟื้นไข้ของเศรษฐกิจไทยในปี 2551 จะไม่มีเหตุการณ์เลวร้าย จนทำให้ความไม่เชื่อมั่นกลับคืนมาซ้ำรอยเดิม เพราะหากประเมินปัจจัยพื้นฐานเศรษฐกิจของไทยเปรียบเทียบกับคู่แข่งในภูมิภาคนี้ ก็ยังถือว่าไทยมีศักยภาพในการแข่งขันอยู่ในระดับต้น ๆ ของภูมิภาคนี้ ประธาน ส.อ.ท. ระบุ
http://www.bangkokbiznews.com/2008/01/0 ... sid=216768
2 มกราคม พ.ศ. 2551 11:42:00
ส.อ.ท.ประเมินรัฐบาลผสมชุดใหม่ นโยบายเศรษฐกิจลงตัวในไตรมาสที่ 2 ส่งผลเศรษฐกิจขยับตัวไตรมาสที่ 3
กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ : นายสันติ วิลาสศักดานนท์ ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) กล่าวว่าขณะนี้ ส.อ.ท.ได้รวบรวมข้อเสนอแนะด้านนโยบายเศรษฐกิจ พร้อมที่จะเสนอต่อรัฐบาลชุดใหม่ทันที โดยด้านการลงทุนนั้นรัฐบาลควรเร่งรัดการดำเนินโครงการลงทุนขนาดใหญ่ เพื่อเป็นการสร้างงานและช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ ต้องเร่งสร้างความมั่นใจในการลงทุน โดยเฉพาะการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ทั้งจากมาตรการของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) และกฎหมายประกอบธุรกิจคนต่างด้าว และต้องเร่งส่งเสริมการลงทุนของภาคเอกชนในต่างประเทศ ควรมีการจัดตั้งกองทุนในรูปเงินตราสหรัฐเพื่อการลงทุนในต่างประเทศ
ส่วนข้อเสนอแนะด้านภาษีนั้น ขอให้ยกเลิกนโยบายการสนับสนุนอุตสาหกรรมที่ให้มีการปรับปรุงโครงสร้างพิกัดอัตราภาษีศุลกากรเป็นรายอุตสาหกรรม ซึ่งกรณีที่ต้องการแก้ความลักลั่นของอัตราอากรก็ควรดำเนินการให้ครอบคลุมสินค้าทั้งหมด เพราะการที่กระทรวงการคลังได้แบ่งกลุ่มสินค้าตามโครงสร้างการผลิตออกเป็น 3 ขั้น ได้แก่ วัตถุดิบ (ต้นน้ำ) สินค้ากึ่งสำเร็จรูป (กลางน้ำ) และสินค้าสำเร็จรูป (ปลายน้ำ) นั้น ส.อ.ท.เห็นว่าการดำเนินการปรับโครงสร้างฯ เป็นรายสาขาอุตสาหกรรม ทำให้เกิดความลักลั่นของอัตราอากรในกรอบอัตราอากรทั่วไประหว่างกลุ่มอุตสาหกรรมและการลดภาษีภายใต้กรอบเจรจาการค้าต่าง ๆ เช่น เอฟทีเอ และอาเซียน ที่ได้ดำเนินการไปแล้ว
ขณะเดียวกันขอให้พิจารณาทบทวนการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตจากมลภาวะหรือมลพิษที่มีผลกระทบต่อสังคมหรือสิ่งแวดล้อม ตามร่าง พ.ร.บ.ภาษีสรรพสามิต เนื่องจาก ส.อ.ท.เห็นว่าการจัดเก็บภาษีจากสินค้าและสิ่งแวดล้อม ได้มีหลายหน่วยงานดำเนินการจัดเก็บ โดยเฉพาะกรมสรรพสามิตมีการจัดเก็บภาษีจากสินค้าและบริการที่มีผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมอยู่แล้ว หากมีการจัดเก็บภาษีจากปริมาณมลพิษอีก ก็จะเกิดความซ้ำซ้อน และอาจมีข้อกำหนดในการกำกับดูแล เนื่องจากเป็นเรื่องเฉพาะ
ประธาน ส.อ.ท. ประเมินด้วยว่า เศรษฐกิจไทยปี 2551 น่าจะอยู่ในภาวะทรง ๆ ขยายตัวไม่หวือหวา โดยจีดีพี น่าจะขยายตัวประมาณ 4.0-5.0% เนื่องจากรัฐบาลใหม่เป็นรัฐบาลผสม จึงทำให้คาดว่าในไตรมาสที่ 2 ครม.ใหม่จึงจะร่วมวางกรอบนโยบายเศรษฐกิจให้เห็นพ้องไปในทิศทางเดียวกัน หลังจากนั้นไตรมาสที่ 3 น่าจะเห็นนโยบายเศรษฐกิจที่ชัดเจนขึ้น จากปัญหาเศรษฐกิจสหรัฐที่สืบเนื่องจากอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์จะส่งผลต่อเศรษฐกิจโลก เงินบาทจะมีแนวโน้มแข็งค่าขึ้น ราคาน้ำมันที่สูงขึ้นจะส่งผลต่อเงินเฟ้อของไทย จึงมีผลต่อเศรษฐกิจไทยด้วย
ภาคเอกชนหวังว่า การฟื้นไข้ของเศรษฐกิจไทยในปี 2551 จะไม่มีเหตุการณ์เลวร้าย จนทำให้ความไม่เชื่อมั่นกลับคืนมาซ้ำรอยเดิม เพราะหากประเมินปัจจัยพื้นฐานเศรษฐกิจของไทยเปรียบเทียบกับคู่แข่งในภูมิภาคนี้ ก็ยังถือว่าไทยมีศักยภาพในการแข่งขันอยู่ในระดับต้น ๆ ของภูมิภาคนี้ ประธาน ส.อ.ท. ระบุ
http://www.bangkokbiznews.com/2008/01/0 ... sid=216768
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news02/01/08
โพสต์ที่ 577
บล. ทิสโก้เปิดโผหุ้นเด่นประจำปี พร้อมแนะจับตาสถานการณ์เด่นหนุนหุ้นไทยสดใส
Posted on Wednesday, January 02, 2008
นายไพบูลย์ นลินทรางกูร กรรมการผู้จัดการ บล. ทิสโก้ กล่าวผ่านรายการ Stock in Focus ว่า ดัชนีหุ้นไทยในปี 2550 มีทิศทางที่ดี โดยปรับตัวขึ้นจากต้นปีที่ระดับ 600 จุด ไปแตะ 900 จุด ถึง 2 ครั้ง และแม้ว่าดัชนีระหว่างปีจะปรับลดลง จากปัญหา Subprime แต่ภาพรวมทั้งปีก็ยังสูงกว่าดัชนีต้นปีได้ เพราะปัญหาดังกล่าวได้คลี่คลายลงไปบ้างแล้ว ส่วนทิศทางของดัชนีหุ้นไทยในต้นปีนี้ก็มีแนวโน้มคล้ายกับปี 2550 คือ แม้ว่าจะมีความผันผวน แต่ก็มีโอกาสให้เข้าไปซื้อขายและสร้างผลตอบแทนที่ดีได้เช่นกัน แต่อัตราเงินเฟ้อในสหรัฐฯ ก็ยังเป็นสิ่งที่ควรจับตามองต่อไป เพราะอาจกดดันต่อระบบเศรษฐกิจของสหรัฐฯ และจะส่งผลต่อเนื่องไปยังตลาดหุ้นทั่วโลกได้อีก แต่นายไพบูลย์เชื่อว่า ปัญหาดังกล่าวจะดีขึ้นได้ภายในไตรมาส 2/2551
นอกจากนี้ ดัชนีหุ้นไทยมีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนด้วย ซึ่งที่ผ่านมาดัชนีหุ้นไทยขยายตัวได้ไม่มากนักตามผลประกอบการของบริษัทจดทะเบียนที่ไม่สดใส แต่ในปีนี้ กำไรต่อหุ้นของบริษัทจดทะเบียนมีแนวโน้มเติบโตได้ไม่น้อยกว่า 20% เนื่องจากฐานที่ต่ำในช่วงก่อนหน้านี้ ระบบเศรษฐกิจในประเทศมีทิศทางที่ดีขึ้น ประกอบกับความมั่นใจของนักลงทุนทั้งจากในและต่างประเทศก็เพิ่มขึ้นหลังจากปัจจัยภายในประเทศเริ่มคลี่คลายไป
ขณะที่ดัชนีหุ้นไทยยังคงมีมูลค่าไม่สูงมากนัก ส่งผลให้ยังคงมีแรงซื้อเข้ามามากเมื่อดัชนีหุ้นปรับลดลง และจะเป็นแรงขับเคลื่อนให้ดัชนีหุ้นไทยปรับเพิ่มขึ้นได้ในที่สุด อย่างไรก็ตาม บล. ทิสโก้ ก็ยังคาดหวังว่า รัฐบาลชุดใหม่จะออกมาตรการที่สามารถเพิ่มความมั่นใจของนักลงทุนต่างชาติได้
นายไพบูลย์คาดการณ์ด้วยว่า เศรษฐกิจทั่วโลกในปีนี้ มีแนวโน้มขยายตัวเฉลี่ยได้ต่ำกว่า 5% ซึ่งหากไทยพึ่งพิงการส่งออกอย่างเดียว ก็อาจได้รับผลกระทบได้ แม้ว่าในขณะนี้ไทยจะไม่เน้นส่งออกไปสหรัฐฯเป็นจำนวนมากอีกแล้ว แต่การขยายตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯก็ยังมีอิทธิพลต่อไทยอีกพอสมควร จึงเชื่อว่าการบริโภคภายในประเทศจะเป็นแนวทางที่นักลงทุนต่างชาติเริ่มให้ความสนใจมากขึ้น โดยเฉพาะหากไทยสามารถสร้างความมั่นใจของผู้บริโภคและนักลงทุนให้ฟื้นตัวขึ้นได้ ก็จะส่งผลดีต่อภาคธุรกิจและระบบเศรษฐกิจให้ขยายตัว และจะทำให้หุ้นของบริษัทที่มีรายได้จากการบริโภคภายในประเทศมีทิศทางที่ดีขึ้นได้ ซึ่งแตกต่างจากปี 2550 ที่หุ้นกลุ่มพลังงานโดดเด่นมาก
อย่างไรก็ตาม ตลาดหุ้นไทยไม่ได้มีหุ้นที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคภายในประเทศ ( Domestic Consumption) โดยตรง แต่ก็มีกลุ่มที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาคธุรกิจหรือการบริโภคในประเทศ คือ กลุ่มธนาคารพาณิชย์ที่ให้สินเชื่อกับภาคธุรกิจในประเทศ จึงเป็นตัวชี้วัดของเศรษฐกิจที่ดีได้เช่นกัน แต่ในช่วงที่ผ่านมากลุ่มธนาคารพาณิชย์มิอัตราการเติบโตที่ไม่ดีนักจากปัญหาการเมือง แต่เนื่องจากปัญหาดังกล่าวคลี่คลายลงไปแล้ว ก็จะส่งผลให้ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคสูงขึ้น และทำให้อัตราการเติบโตของสินเชื่อปรับเพิ่มขึ้นด้วย
ทั้งนี้ บล. ทิสโก้เชื่อว่า อัตราการให้สินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ในปีนี้มีแนวโน้มโตได้ 5-6% นอกจากนี้ ราคาหุ้นของกลุ่มธนาคารพาณิชย์ของไทยยังถือว่าถูกมากเมื่อเทียบกับต่างประเทศ จึงเชื่อว่าปัจจัยบวกทั้งหมดจะหนุนให้หุ้นกลุ่มนี้มีทิศทางที่ดีขึ้นได้ในไตรมาส 2/51
อย่างไรก็ตาม นักลงทุนก็ควรติดตามส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยสุทธิ (Net Interest Margin) ด้วย ซึ่งการที่อัตราดอกเบี้ยในระยะนี้ยังค่อนข้างต่ำ ทำให้ต้นทุนการดำเนินงานของธนาคารพาณิชย์ยังไม่สูงมากนัก และในปีนี้ กลุ่มธนาคารพาณิชย์ก็ไม่จำเป็นต้องตั้งสำรองหนี้ตามมาตรฐานบัญชีใหม่และสำรองจากการลงทุนในตราสารที่เกิดปัญหาอีกแล้ว จึงเชื่อว่าจะเป็นปัจจัยที่ทำให้ผลประกอบการของธนาคารพาณิชย์ในปีนี้เติบโตขึ้นได้มากอย่างแน่นอน โดยเฉพาะหุ้นของบมจ.ธนาคารกรุงเทพ (BBL) และ บมจ.ธนาคารกรุงไทย (KTB) ที่มูลค่าหุ้นยังถูก และยังมีศักยภาพอีกมาก
สำหรับกลุ่มบันเทิง ก็มีความเกี่ยวข้องกับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในประเทศเช่นกัน โดยเฉพาะกลุ่มที่ได้สัมปทานประกอบธุรกิจโทรทัศน์ที่มีรายได้หลักจากโฆษณาที่อิงกับระบบเศรษฐกิจโดยตรง เพราะหากเศรษฐกิจดี ผู้ประกอบการก็จะจัดงบโฆษณาเพิ่มมากขึ้น จึงเชื่อว่าจะเป็นอีกกลุ่มหนึ่งที่นักลงทุนจะสนใจ โดยกลุ่มดังกล่าวมีทิศทางที่ดีขึ้นตั้งแต่ปลายปี 2550 ซึ่งเป็นผลมาจากการเลือกตั้งที่ชัดเจน เช่น หุ้นบมจ. บีอีซี เวิลด์ (BEC)
นอกจากนี้ นายไพบูลย์เชื่อว่า บริษัทจดทะเบียนที่จะได้รับผลกระทบจากการถดถอยของเศรษฐกิจสหรัฐฯน้อยที่สุด หรือจะได้รับประโยชน์ ก็จะมีอัตราการเติบโตที่ดีด้วย โดยเฉพาะหุ้นของบมจ. ไทยยูเนียน โฟรเซ่น โปรดักส์ (TUF) ที่แม้ว่าจะมีรายได้หลักจากการส่งออกไปยังสหรัฐฯกว่า 50% แต่ก็จะยังได้รับผลดีจากเศรษฐกิจสหรัฐฯที่ชะลอตัว เนื่องจากสินค้าส่งออกของ TUF คือ ผลิตภัณฑ์ทูน่ากระป๋อง ซึ่งถือเป็นสินค้าที่มีราคาถูกในสหรัฐฯ ทำให้คนอเมริกันนิยมรับประทานเพิ่มขึ้นในช่วงเศรษฐกิจที่ชะลอตัว จึงจะส่งผลให้ TUF มีผลประกอบการดีในช่วงที่สหรัฐฯซบเซาได้ ประกอบกับเป็นช่วงขาขึ้นของ TUF ด้วย เพราะสภาพภูมิอากาศเอื้ออำนวยต่อการจับปลามากกว่าปี 2550 จึงเชื่อว่าผลประกอบการของ TUF จะมีทิศทางที่ดีขึ้นได้ในปีนี้
ส่วนกลุ่มรับเหมานั้น บล. ทิสโก้มองว่าที่ผ่านมามีราคาหุ้นเคลื่อนไหวค่อนข้างผันผวน เพราะเป็นหุ้นที่นักลงทุนมักจะซื้อขายตามข่าวการได้รับโครงการ ขณะที่มีการแข่งขันในธุรกิจมากขึ้น และกดดันอัตรากำไรขั้นต้นให้ลดลงด้วย จึงยังถือเป็นหุ้นที่ไม่น่าสนใจในปีนี้ แต่หากรัฐบาลจะผลักดันโครงการลงทุนในระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานมากขึ้นแล้ว ก็จะทำให้มีความน่าสนใจเพิ่มขึ้นได้
ขณะที่หุ้นกลุ่มพัฒนาอสังหาริมทรัพย์บางแห่งก็น่าสนใจลงทุนเช่นกัน แต่อาจต้องรอเวลาให้ความมั่นใจเพิ่มขึ้นจากการเมืองที่มีแนวโน้มชัดเจนในไตรมาส 2-3/51 ก่อน ก็จะทำให้ธุรกิจมีทิศทางที่ดีขึ้นได้ เช่น หุ้นของบมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (LH)
ขณะที่หุ้นกลุ่มพลังงานก็ยังไม่ปรับลดลง เพราะราคาพลังงานยังสามารถทรงตัวได้ในระดับสูง เนื่องจากปริมาณการผลิตยังไม่เพียงพอกับความต้องการในระยะสั้น แต่หากปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นมากแล้ว ก็จะกดดันให้ราคาพลังงานลดลงได้ แต่เชื่อว่าราคาพลังงานจะไม่สูงมากเท่าปี 2550 ซึ่งจะทำให้ราคาหุ้นพลังงานไม่โดดเด่นเท่ากับปีก่อนอีกแล้ว ส่วนคำตัดสินของศาลกรณีหุ้นบมจ.ปตท. (PTT) นั้น ถือเป็นประเด็นเฉพาะของบริษัทนั้น ๆ และไม่เกี่ยวข้องกับภาพรวมอุตสาหกรรม
นายไพบูลย์กล่าวอีกว่า การคาดการณ์ดัชนีหุ้นไทยของปีนี้สามารถทำได้ยาก แต่ยังคาดหวังว่าจะเห็นดัชนีแตะระดับ 1,000 จุดได้ในกลางปีนี้ แต่ก็ยังขึ้นกับปัจจัยภายในประเทศด้วยเช่นกัน โดยเชื่อว่าหากสถานการณ์ในประเทศมีเสถียรภาพ ดัชนีหุ้นไทยก็จะมีทิศทางที่ดีได้ เพราะนักลงทุนต่างชาติที่เป็นนักลงทุนระยะยาวก็ยังคงอยู่ในตลาดหุ้นไทย
http://www.moneychannel.co.th/Menu6/Sto ... fault.aspx
Posted on Wednesday, January 02, 2008
นายไพบูลย์ นลินทรางกูร กรรมการผู้จัดการ บล. ทิสโก้ กล่าวผ่านรายการ Stock in Focus ว่า ดัชนีหุ้นไทยในปี 2550 มีทิศทางที่ดี โดยปรับตัวขึ้นจากต้นปีที่ระดับ 600 จุด ไปแตะ 900 จุด ถึง 2 ครั้ง และแม้ว่าดัชนีระหว่างปีจะปรับลดลง จากปัญหา Subprime แต่ภาพรวมทั้งปีก็ยังสูงกว่าดัชนีต้นปีได้ เพราะปัญหาดังกล่าวได้คลี่คลายลงไปบ้างแล้ว ส่วนทิศทางของดัชนีหุ้นไทยในต้นปีนี้ก็มีแนวโน้มคล้ายกับปี 2550 คือ แม้ว่าจะมีความผันผวน แต่ก็มีโอกาสให้เข้าไปซื้อขายและสร้างผลตอบแทนที่ดีได้เช่นกัน แต่อัตราเงินเฟ้อในสหรัฐฯ ก็ยังเป็นสิ่งที่ควรจับตามองต่อไป เพราะอาจกดดันต่อระบบเศรษฐกิจของสหรัฐฯ และจะส่งผลต่อเนื่องไปยังตลาดหุ้นทั่วโลกได้อีก แต่นายไพบูลย์เชื่อว่า ปัญหาดังกล่าวจะดีขึ้นได้ภายในไตรมาส 2/2551
นอกจากนี้ ดัชนีหุ้นไทยมีความสัมพันธ์กับผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนด้วย ซึ่งที่ผ่านมาดัชนีหุ้นไทยขยายตัวได้ไม่มากนักตามผลประกอบการของบริษัทจดทะเบียนที่ไม่สดใส แต่ในปีนี้ กำไรต่อหุ้นของบริษัทจดทะเบียนมีแนวโน้มเติบโตได้ไม่น้อยกว่า 20% เนื่องจากฐานที่ต่ำในช่วงก่อนหน้านี้ ระบบเศรษฐกิจในประเทศมีทิศทางที่ดีขึ้น ประกอบกับความมั่นใจของนักลงทุนทั้งจากในและต่างประเทศก็เพิ่มขึ้นหลังจากปัจจัยภายในประเทศเริ่มคลี่คลายไป
ขณะที่ดัชนีหุ้นไทยยังคงมีมูลค่าไม่สูงมากนัก ส่งผลให้ยังคงมีแรงซื้อเข้ามามากเมื่อดัชนีหุ้นปรับลดลง และจะเป็นแรงขับเคลื่อนให้ดัชนีหุ้นไทยปรับเพิ่มขึ้นได้ในที่สุด อย่างไรก็ตาม บล. ทิสโก้ ก็ยังคาดหวังว่า รัฐบาลชุดใหม่จะออกมาตรการที่สามารถเพิ่มความมั่นใจของนักลงทุนต่างชาติได้
นายไพบูลย์คาดการณ์ด้วยว่า เศรษฐกิจทั่วโลกในปีนี้ มีแนวโน้มขยายตัวเฉลี่ยได้ต่ำกว่า 5% ซึ่งหากไทยพึ่งพิงการส่งออกอย่างเดียว ก็อาจได้รับผลกระทบได้ แม้ว่าในขณะนี้ไทยจะไม่เน้นส่งออกไปสหรัฐฯเป็นจำนวนมากอีกแล้ว แต่การขยายตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯก็ยังมีอิทธิพลต่อไทยอีกพอสมควร จึงเชื่อว่าการบริโภคภายในประเทศจะเป็นแนวทางที่นักลงทุนต่างชาติเริ่มให้ความสนใจมากขึ้น โดยเฉพาะหากไทยสามารถสร้างความมั่นใจของผู้บริโภคและนักลงทุนให้ฟื้นตัวขึ้นได้ ก็จะส่งผลดีต่อภาคธุรกิจและระบบเศรษฐกิจให้ขยายตัว และจะทำให้หุ้นของบริษัทที่มีรายได้จากการบริโภคภายในประเทศมีทิศทางที่ดีขึ้นได้ ซึ่งแตกต่างจากปี 2550 ที่หุ้นกลุ่มพลังงานโดดเด่นมาก
อย่างไรก็ตาม ตลาดหุ้นไทยไม่ได้มีหุ้นที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคภายในประเทศ ( Domestic Consumption) โดยตรง แต่ก็มีกลุ่มที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาคธุรกิจหรือการบริโภคในประเทศ คือ กลุ่มธนาคารพาณิชย์ที่ให้สินเชื่อกับภาคธุรกิจในประเทศ จึงเป็นตัวชี้วัดของเศรษฐกิจที่ดีได้เช่นกัน แต่ในช่วงที่ผ่านมากลุ่มธนาคารพาณิชย์มิอัตราการเติบโตที่ไม่ดีนักจากปัญหาการเมือง แต่เนื่องจากปัญหาดังกล่าวคลี่คลายลงไปแล้ว ก็จะส่งผลให้ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคสูงขึ้น และทำให้อัตราการเติบโตของสินเชื่อปรับเพิ่มขึ้นด้วย
ทั้งนี้ บล. ทิสโก้เชื่อว่า อัตราการให้สินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ในปีนี้มีแนวโน้มโตได้ 5-6% นอกจากนี้ ราคาหุ้นของกลุ่มธนาคารพาณิชย์ของไทยยังถือว่าถูกมากเมื่อเทียบกับต่างประเทศ จึงเชื่อว่าปัจจัยบวกทั้งหมดจะหนุนให้หุ้นกลุ่มนี้มีทิศทางที่ดีขึ้นได้ในไตรมาส 2/51
อย่างไรก็ตาม นักลงทุนก็ควรติดตามส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยสุทธิ (Net Interest Margin) ด้วย ซึ่งการที่อัตราดอกเบี้ยในระยะนี้ยังค่อนข้างต่ำ ทำให้ต้นทุนการดำเนินงานของธนาคารพาณิชย์ยังไม่สูงมากนัก และในปีนี้ กลุ่มธนาคารพาณิชย์ก็ไม่จำเป็นต้องตั้งสำรองหนี้ตามมาตรฐานบัญชีใหม่และสำรองจากการลงทุนในตราสารที่เกิดปัญหาอีกแล้ว จึงเชื่อว่าจะเป็นปัจจัยที่ทำให้ผลประกอบการของธนาคารพาณิชย์ในปีนี้เติบโตขึ้นได้มากอย่างแน่นอน โดยเฉพาะหุ้นของบมจ.ธนาคารกรุงเทพ (BBL) และ บมจ.ธนาคารกรุงไทย (KTB) ที่มูลค่าหุ้นยังถูก และยังมีศักยภาพอีกมาก
สำหรับกลุ่มบันเทิง ก็มีความเกี่ยวข้องกับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในประเทศเช่นกัน โดยเฉพาะกลุ่มที่ได้สัมปทานประกอบธุรกิจโทรทัศน์ที่มีรายได้หลักจากโฆษณาที่อิงกับระบบเศรษฐกิจโดยตรง เพราะหากเศรษฐกิจดี ผู้ประกอบการก็จะจัดงบโฆษณาเพิ่มมากขึ้น จึงเชื่อว่าจะเป็นอีกกลุ่มหนึ่งที่นักลงทุนจะสนใจ โดยกลุ่มดังกล่าวมีทิศทางที่ดีขึ้นตั้งแต่ปลายปี 2550 ซึ่งเป็นผลมาจากการเลือกตั้งที่ชัดเจน เช่น หุ้นบมจ. บีอีซี เวิลด์ (BEC)
นอกจากนี้ นายไพบูลย์เชื่อว่า บริษัทจดทะเบียนที่จะได้รับผลกระทบจากการถดถอยของเศรษฐกิจสหรัฐฯน้อยที่สุด หรือจะได้รับประโยชน์ ก็จะมีอัตราการเติบโตที่ดีด้วย โดยเฉพาะหุ้นของบมจ. ไทยยูเนียน โฟรเซ่น โปรดักส์ (TUF) ที่แม้ว่าจะมีรายได้หลักจากการส่งออกไปยังสหรัฐฯกว่า 50% แต่ก็จะยังได้รับผลดีจากเศรษฐกิจสหรัฐฯที่ชะลอตัว เนื่องจากสินค้าส่งออกของ TUF คือ ผลิตภัณฑ์ทูน่ากระป๋อง ซึ่งถือเป็นสินค้าที่มีราคาถูกในสหรัฐฯ ทำให้คนอเมริกันนิยมรับประทานเพิ่มขึ้นในช่วงเศรษฐกิจที่ชะลอตัว จึงจะส่งผลให้ TUF มีผลประกอบการดีในช่วงที่สหรัฐฯซบเซาได้ ประกอบกับเป็นช่วงขาขึ้นของ TUF ด้วย เพราะสภาพภูมิอากาศเอื้ออำนวยต่อการจับปลามากกว่าปี 2550 จึงเชื่อว่าผลประกอบการของ TUF จะมีทิศทางที่ดีขึ้นได้ในปีนี้
ส่วนกลุ่มรับเหมานั้น บล. ทิสโก้มองว่าที่ผ่านมามีราคาหุ้นเคลื่อนไหวค่อนข้างผันผวน เพราะเป็นหุ้นที่นักลงทุนมักจะซื้อขายตามข่าวการได้รับโครงการ ขณะที่มีการแข่งขันในธุรกิจมากขึ้น และกดดันอัตรากำไรขั้นต้นให้ลดลงด้วย จึงยังถือเป็นหุ้นที่ไม่น่าสนใจในปีนี้ แต่หากรัฐบาลจะผลักดันโครงการลงทุนในระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานมากขึ้นแล้ว ก็จะทำให้มีความน่าสนใจเพิ่มขึ้นได้
ขณะที่หุ้นกลุ่มพัฒนาอสังหาริมทรัพย์บางแห่งก็น่าสนใจลงทุนเช่นกัน แต่อาจต้องรอเวลาให้ความมั่นใจเพิ่มขึ้นจากการเมืองที่มีแนวโน้มชัดเจนในไตรมาส 2-3/51 ก่อน ก็จะทำให้ธุรกิจมีทิศทางที่ดีขึ้นได้ เช่น หุ้นของบมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (LH)
ขณะที่หุ้นกลุ่มพลังงานก็ยังไม่ปรับลดลง เพราะราคาพลังงานยังสามารถทรงตัวได้ในระดับสูง เนื่องจากปริมาณการผลิตยังไม่เพียงพอกับความต้องการในระยะสั้น แต่หากปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นมากแล้ว ก็จะกดดันให้ราคาพลังงานลดลงได้ แต่เชื่อว่าราคาพลังงานจะไม่สูงมากเท่าปี 2550 ซึ่งจะทำให้ราคาหุ้นพลังงานไม่โดดเด่นเท่ากับปีก่อนอีกแล้ว ส่วนคำตัดสินของศาลกรณีหุ้นบมจ.ปตท. (PTT) นั้น ถือเป็นประเด็นเฉพาะของบริษัทนั้น ๆ และไม่เกี่ยวข้องกับภาพรวมอุตสาหกรรม
นายไพบูลย์กล่าวอีกว่า การคาดการณ์ดัชนีหุ้นไทยของปีนี้สามารถทำได้ยาก แต่ยังคาดหวังว่าจะเห็นดัชนีแตะระดับ 1,000 จุดได้ในกลางปีนี้ แต่ก็ยังขึ้นกับปัจจัยภายในประเทศด้วยเช่นกัน โดยเชื่อว่าหากสถานการณ์ในประเทศมีเสถียรภาพ ดัชนีหุ้นไทยก็จะมีทิศทางที่ดีได้ เพราะนักลงทุนต่างชาติที่เป็นนักลงทุนระยะยาวก็ยังคงอยู่ในตลาดหุ้นไทย
http://www.moneychannel.co.th/Menu6/Sto ... fault.aspx
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news02/01/08
โพสต์ที่ 578
ช่วงที่ 2 ภาพรวมการลงทุนในปี 2551
นายชนิตร ชาญชัยณรงค์ ผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์ mai กล่าวว่า ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ mai ในปี 2550 สามารถปรับตัวเพิ่มขึ้นได้ถึง 30% และมีมูลค่าตลาดเพิ่มขึ้น 70% หลังจากที่ได้มีการจัดโครงการ Company Visit และ Opportunity Day เพื่อเปิดตัวบริษัทจดทะเบียนให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น และในปีหน้า ตลาดหลักทรัพย์ mai ก็ยังคาดหวังว่าจะเติบโตได้ต่อเนื่อง โดยมีแผนนำบริษัทเข้าจดทะเบียนประมาณ 12-15 บริษัท ในปี 2551 และคาดว่าจะเริ่มจดทะเบียนได้ 2-3 บริษัทในไตรมาส 1/50
อย่างไรก็ตาม นักลงทุนก็ยังควรติดตามผลการจัดตั้งทีมรัฐบาล ทั้งในส่วนตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้วย เพื่อทำให้สามารถคาดการณ์แนวโน้มเศรษฐกิจได้ ซึ่งแม้ว่าในช่วงที่ผ่านมาดัชนีตลาดหลักทรัพย์ mai จะมีมูลค่าตลาดไม่สูงมาก แต่บริษัทจดทะเบียนก็มีผลประกอบการที่ดี และมีอัตราการเติบโตสูง นักลงทุนก็สามารถหาข้อมูลการลงทุนในเว็บไซต์ www.mai.or.th ได้
นายสมบัติ นราวุฒิชัย เลขาธิการสมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ กล่าวว่า สถานการณ์การลงทุนและระบบเศรษฐกิจในปี 2551 มีแนวโน้มที่ดีขึ้นกว่าปี 2550 เพราะปัจจัยลบในประเทศได้เริ่มคลี่คลายลงไปแล้ว แต่อาจต้องติดตามทีมบริหารของรัฐบาลชุดใหม่ต่อไป ซึ่งการที่ดัชนีหุ้นไทยยังมีราคาถูก และมีปัจจัยสนับสนุนมากขึ้นในปีหน้า ก็อาจทำให้ดัชนี ทะลุ 1,000 จุดได้ในปี 2551
สำหรับกลุ่มธนาคารพาณิชย์ที่ต้องตั้งสำรองตามมาตรฐานบัญชีใหม่ IAS 39 ในปี 2550 และได้กดดันต่อผลประกอบการให้ลดลงมากนั้น นายสมบัติเชื่อว่าภาระการตั้งสำรองดังกล่าวในปี 2551 จะลดลงไปแล้ว และยังมีแนวโน้มให้สินเชื่อแก่ภาคเอกชนได้มากขึ้นด้วยตามความมั่นใจของผู้บริโภคและนักลงทุนที่เพิ่มขึ้น
ส่วนกลุ่มอสังหาริมทรัพย์และกลุ่มวัสดุก่อสร้างก็มีแนวโน้มที่ดีเช่นกัน ขณะที่กลุ่มพลังงานนั้นแม้ว่าราคาหุ้นในช่วงที่ผ่านมาจะปรับเพิ่มขึ้นมากแล้ว แต่ก็ยังมีแนวโน้มที่แข็งแกร่ง จึงเชื่อว่าจะหนุนให้ภาพรวมทั้งตลาดมีทิศทางที่ดีขึ้นได้
นายวิชชุ จันทาทับ ผู้อำนวยการลงทุนตราสารทุน บลจ. ไทยพาณิชย์ กล่าวว่า แม้ว่าจะทราบผลการเลือกตั้งที่ชัดเจนแล้ว แต่ก็ยังคงต้องรอการจัดตั้งทีมงานรัฐบาลต่อไป โดยเฉพาะในตำแหน่งสำคัญ คือ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งจะมีส่วนสนับสนุนให้เศรษฐกิจไทยมีทิศทางที่ดีขึ้นได้ แต่เชื่อว่าอาจต้องใช้เวลาอีกสักระยะที่การจัดตั้งจะเสร็จสิ้น
ขณะที่ปัจจัย Subprime ยังคงมีผลต่อการลงทุนทั่วโลก ทำให้การลงทุนในครึ่งปีแรกของไทย อาจจำเป็นต้องลงทุนในหุ้น Defensive Stock และมีอัตราการจ่ายปันผลสูง เพื่อความปลอดภัยของผลตอบแทน ส่วนในครึ่งปีหลังนั้น หากการจัดตั้งรัฐบาลมีความชัดเจนมากขึ้น ก็จะหนุนให้ระบบเศรษฐกิจและดัชนีมีทิศทางที่ดีขึ้นได้ และอาจปรับไปลงทุนในหุ้นที่มีความเสี่ยงสูงขึ้นได้แทน
ทั้งนี้ แม้ว่ากลุ่มพลังงานในช่วงที่ผ่านมาจะมีความผันผวนบ้าง แต่ผลประกอบการก็ยังมีแนวโน้มที่ดี เพราะราคาน้ำมันยังทรงตัวในระดับสูง และหากเศรษฐกิจฟื้นตัวได้แล้ว ก็จะส่งผลดีต่อกลุ่มสถาบันการเงินและธนาคารพาณิชย์ได้ ส่วนกลุ่มนิคมอุตสาหกรรมจะได้รับผลดีหากภาคการผลิตมีแนวโน้มที่ดีขึ้น
http://www.moneychannel.co.th/Menu6/Sma ... fault.aspx
นายชนิตร ชาญชัยณรงค์ ผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์ mai กล่าวว่า ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ mai ในปี 2550 สามารถปรับตัวเพิ่มขึ้นได้ถึง 30% และมีมูลค่าตลาดเพิ่มขึ้น 70% หลังจากที่ได้มีการจัดโครงการ Company Visit และ Opportunity Day เพื่อเปิดตัวบริษัทจดทะเบียนให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น และในปีหน้า ตลาดหลักทรัพย์ mai ก็ยังคาดหวังว่าจะเติบโตได้ต่อเนื่อง โดยมีแผนนำบริษัทเข้าจดทะเบียนประมาณ 12-15 บริษัท ในปี 2551 และคาดว่าจะเริ่มจดทะเบียนได้ 2-3 บริษัทในไตรมาส 1/50
อย่างไรก็ตาม นักลงทุนก็ยังควรติดตามผลการจัดตั้งทีมรัฐบาล ทั้งในส่วนตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้วย เพื่อทำให้สามารถคาดการณ์แนวโน้มเศรษฐกิจได้ ซึ่งแม้ว่าในช่วงที่ผ่านมาดัชนีตลาดหลักทรัพย์ mai จะมีมูลค่าตลาดไม่สูงมาก แต่บริษัทจดทะเบียนก็มีผลประกอบการที่ดี และมีอัตราการเติบโตสูง นักลงทุนก็สามารถหาข้อมูลการลงทุนในเว็บไซต์ www.mai.or.th ได้
นายสมบัติ นราวุฒิชัย เลขาธิการสมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ กล่าวว่า สถานการณ์การลงทุนและระบบเศรษฐกิจในปี 2551 มีแนวโน้มที่ดีขึ้นกว่าปี 2550 เพราะปัจจัยลบในประเทศได้เริ่มคลี่คลายลงไปแล้ว แต่อาจต้องติดตามทีมบริหารของรัฐบาลชุดใหม่ต่อไป ซึ่งการที่ดัชนีหุ้นไทยยังมีราคาถูก และมีปัจจัยสนับสนุนมากขึ้นในปีหน้า ก็อาจทำให้ดัชนี ทะลุ 1,000 จุดได้ในปี 2551
สำหรับกลุ่มธนาคารพาณิชย์ที่ต้องตั้งสำรองตามมาตรฐานบัญชีใหม่ IAS 39 ในปี 2550 และได้กดดันต่อผลประกอบการให้ลดลงมากนั้น นายสมบัติเชื่อว่าภาระการตั้งสำรองดังกล่าวในปี 2551 จะลดลงไปแล้ว และยังมีแนวโน้มให้สินเชื่อแก่ภาคเอกชนได้มากขึ้นด้วยตามความมั่นใจของผู้บริโภคและนักลงทุนที่เพิ่มขึ้น
ส่วนกลุ่มอสังหาริมทรัพย์และกลุ่มวัสดุก่อสร้างก็มีแนวโน้มที่ดีเช่นกัน ขณะที่กลุ่มพลังงานนั้นแม้ว่าราคาหุ้นในช่วงที่ผ่านมาจะปรับเพิ่มขึ้นมากแล้ว แต่ก็ยังมีแนวโน้มที่แข็งแกร่ง จึงเชื่อว่าจะหนุนให้ภาพรวมทั้งตลาดมีทิศทางที่ดีขึ้นได้
นายวิชชุ จันทาทับ ผู้อำนวยการลงทุนตราสารทุน บลจ. ไทยพาณิชย์ กล่าวว่า แม้ว่าจะทราบผลการเลือกตั้งที่ชัดเจนแล้ว แต่ก็ยังคงต้องรอการจัดตั้งทีมงานรัฐบาลต่อไป โดยเฉพาะในตำแหน่งสำคัญ คือ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งจะมีส่วนสนับสนุนให้เศรษฐกิจไทยมีทิศทางที่ดีขึ้นได้ แต่เชื่อว่าอาจต้องใช้เวลาอีกสักระยะที่การจัดตั้งจะเสร็จสิ้น
ขณะที่ปัจจัย Subprime ยังคงมีผลต่อการลงทุนทั่วโลก ทำให้การลงทุนในครึ่งปีแรกของไทย อาจจำเป็นต้องลงทุนในหุ้น Defensive Stock และมีอัตราการจ่ายปันผลสูง เพื่อความปลอดภัยของผลตอบแทน ส่วนในครึ่งปีหลังนั้น หากการจัดตั้งรัฐบาลมีความชัดเจนมากขึ้น ก็จะหนุนให้ระบบเศรษฐกิจและดัชนีมีทิศทางที่ดีขึ้นได้ และอาจปรับไปลงทุนในหุ้นที่มีความเสี่ยงสูงขึ้นได้แทน
ทั้งนี้ แม้ว่ากลุ่มพลังงานในช่วงที่ผ่านมาจะมีความผันผวนบ้าง แต่ผลประกอบการก็ยังมีแนวโน้มที่ดี เพราะราคาน้ำมันยังทรงตัวในระดับสูง และหากเศรษฐกิจฟื้นตัวได้แล้ว ก็จะส่งผลดีต่อกลุ่มสถาบันการเงินและธนาคารพาณิชย์ได้ ส่วนกลุ่มนิคมอุตสาหกรรมจะได้รับผลดีหากภาคการผลิตมีแนวโน้มที่ดีขึ้น
http://www.moneychannel.co.th/Menu6/Sma ... fault.aspx
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news02/01/08
โพสต์ที่ 579
แนวโน้มเศรษฐกิจโลกปี 2551...ผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย โดย กระแสหุ้น
ปี 2551 ผู้กำหนดนโยบายเศรษฐกิจของไทย อาจต้องเผชิญกับโจทย์ในการดูแลเสถียรภาพทางเศรษฐกิจที่มีความหลากหลายมากขึ้น ทั้งจากประเด็นทางเศรษฐกิจภายนอกประเทศ อาทิ การชะลอลงของเศรษฐกิจสหรัฐฯ และความผันผวนของราคาน้ำมันในตลาดโลก และจากประเด็นทางเศรษฐกิจภายใน ซึ่งเป็นภารกิจหลักของรัฐบาลใหม่ โดยเฉพาะในเรื่องของการเร่งฟื้นคืนความเชื่อมั่นของนักลงทุน ตลอดจนการเร่งผลักดันรายจ่ายงบประมาณเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยได้ทำการรวบรวมประเด็นแวดล้อมที่อาจส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยในปี 2551 ไว้ดังนี้
แนวโน้มเศรษฐกิจสหรัฐฯ
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมีมุมมองว่า เศรษฐกิจสหรัฐฯมีแนวโน้มที่จะซบเซาลงต่อเนื่องในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2550 จนถึงช่วงครึ่งแรกของปี 2551 ก่อนจะเริ่มฟื้นตัวขึ้นไม่มากก็น้อยในช่วงครึ่งหลังของปี 2551 พร้อมๆกับความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะ Stagflation (ภาวะชะลอตัวทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นพร้อมๆกับการพุ่งขึ้นของแรงกดดันด้านเงินเฟ้อ) ในช่วง 2 ไตรมาสแรกของปี 2551 เนื่องจากระดับราคาสินค้าในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมาได้ปรับตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยได้รับแรงหนุนจากการพุ่งขึ้นของราคาอาหารและพลังงาน
แนวโน้มอัตราดอกเบี้ยของสหรัฐฯ
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า ธนาคารกลางสหรัฐฯ ยังคงมีแนวโน้มที่จะดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายอย่างต่อเนื่องต่อไปในช่วงต้นปี 2551 โดยเฟดอาจทำการปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงอีก 2 ครั้ง รวมอย่างน้อยร้อยละ 0.50 ในการประชุมช่วงครึ่งแรกของปี 2551 สู่ระดับร้อยละ 3.75 เพื่อลดผลกระทบของการชะลอตัวทางเศรษฐกิจและภาวะตลาดสินเชื่อที่ตรึงตัว และหลังจากนั้นเฟดอาจคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่ระดับนั้นต่อเนื่องในช่วงครึ่งหลังของปี 2551 เพื่อประเมินแนวโน้มภาวะเศรษฐกิจและอัตราเงินเฟ้อในระยะถัดไป
แนวโน้มเศรษฐกิจในประเทศอื่นๆ
เศรษฐกิจยูโรโซน
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า การขยายตัวทางเศรษฐกิจของยูโรโซนมีแนวโน้มชะลอตัวลง เนื่องมาจากความปั่นป่วนที่กำลังส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินจะยังคงยืดเยื้อต่อไปอีกระยะหนึ่ง นอกจากนี้ แนวโน้มการแข็งค่าของเงินยูโรอย่างน้อยในระยะสั้น อาจเพิ่มภาระให้แก่เศรษฐกิจยุโรปด้วยอีกทางหนึ่ง อย่างไรก็ตาม เริ่มมีสัญญาณบ่งชี้ถึงแรงกดดันในช่วงขาขึ้นของระดับราคา ในขณะที่แรงกดดันจากการปรับเพิ่มค่าจ้างแรงงานอาจเพิ่มสูงขึ้นในปี 2551 เนื่องจากตลาดแรงงานของยูโรโซนกำลังตกอยู่ในสภาพตรึงตัว
เศรษฐกิจญี่ปุ่น
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า เศรษฐกิจญี่ปุ่นในปี 2551 มีแนวโน้มซบเซาอย่างต่อเนื่องจากในปี 2550 โดยถูกกดดันจากปัจจัยลบทั้งภายในและภายนอกประเทศ นอกจากนี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่า ธนาคารกลางญี่ปุ่นยังคงมีแนวโน้มที่จะคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 0.50 ต่อไปในปี 2551 เพื่อสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ในขณะที่ แรงกดดันของแนวโน้มการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางญี่ปุ่นนั้น อาจเริ่มมีขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปี 2551 เมื่ออุปสงค์ภายในประเทศและสถานการณ์เศรษฐกิจโลกโดยเฉพาะสหรัฐฯ มีสัญญาณของการฟื้นตัวที่ชัดเจนมากขึ้น
เศรษฐกิจจีน
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า เศรษฐกิจจีนมีแนวโน้มที่จะรักษาอัตราการขยายตัวในระดับสูง (ตัวเลขสองหลัก) ไว้ได้ต่อเนื่อง ในขณะที่แรงกดดันจากเงินเฟ้อยังคงมีอยู่ต่อไปในปี 2551 ซึ่งก็จะทำให้แนวโน้มนโยบายการเงินของธนาคารกลางจีนในปี 2551 ยังคงเป็นไปในเชิงคุมเข้มอย่างต่อเนื่อง เพื่อชะลอความร้อนแรงทางเศรษฐกิจ และสกัดการพุ่งขึ้นของแรงกดดันเงินเฟ้อ แต่แนวโน้มนโยบายการเงินของธนาคารกลางจีนจะไม่คุมเข้มจนเกินไป และเป็นไปในแนวทางที่ถูกควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิดจากทางการเพื่อประคับประคองเศรษฐกิจในทุกๆ ภาคการผลิตให้สามารถเติบโตไปพร้อมๆ กัน และเพื่อหลีกเลี่ยงโอกาสของการชะลอตัวลงอย่างรุนแรง ตลอดจนเพื่อลดกระแสการเก็งกำไรเงินหยวน
เศรษฐกิจอินเดีย และเวียดนาม
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า ในปี 2551 เศรษฐกิจอินเดียและเวียดนามยังคงสามารถรักษาอัตราการเติบโตในระดับสูงไว้ได้ต่อเนื่อง เนื่องจากอินเดียและเวียดนามยังคงมีศักยภาพที่เอื้อต่อการขยายตัวของภาคการผลิต และดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ
ตารางสรุปแนวโน้มเศรษฐกิจโลกปี 2551
ประเทศ
ประเด็นสำคัญในปี 2551
สหรัฐฯ
- เศรษฐกิจมีแนวโน้มชะลอลงต่อเนื่องถึงช่วงครึ่งแรกของปี 2551
- เฟดอาจต้องปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายต่อเนื่องอีก 2 ครั้งในช่วงครึ่งแรกของปี 2551
- การปรับลดอัตราดอกเบี้ยทำให้สินทรัพย์สกุลเงินดอลลาร์ฯ มีความน่าดึงดูดน้อยลง
ยูโรโซน
- เศรษฐกิจมีแนวโน้มชะลอลง
- แม้จะมีแรงกดดันเงินเฟ้อ ธนาคารกลางยุโรปมีแนวโน้มคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่ระดับ 4% ให้นานที่สุด
- ความอ่อนแอของเงินดอลลาร์ฯ เป็นปัจจัยสนับสนุนการแข็งค่าของเงินยูโรต่อไปอีกระยะหนึ่ง
ญี่ปุ่น
- เศรษฐกิจมีแนวโน้มชะลอลง
- ธนาคารกลางญี่ปุ่นมีแนวโน้มคงอัตราดอกเบี้ยที่ 0.50% ให้นานที่สุด เนื่องจากความซบเซาของเศรษฐกิจในประเทศ และความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลก
- ความอ่อนแอของเงินดอลลาร์ฯ และการหลีกเลี่ยงความเสี่ยงของนักลงทุน เป็นปัจจัยสนับสนุนการแข็งค่าของเงินเยนต่อไปอีกระยะหนึ่ง
จีน
- เศรษฐกิจมีแนวโน้มรักษาอัตราการขยายตัวในระดับสูงได้ต่อเนื่อง
- ธนาคารกลางจีนยังคงคุมเข้มนโยบายการเงินเพื่อลดแรงกดดันเงินเฟ้อและชะลอความร้อนแรงทางเศรษฐกิจ
- เงินหยวนยังคงมีแนวโน้มแข็งค่าเพื่อช่วยแก้ไขความไม่สมดุลทางการเงินโลก และปรับสมดุลให้กับเศรษฐกิจของจีน
อินเดีย, เวียดนาม
- เศรษฐกิจมีแนวโน้มขยายตัวได้ต่อเนื่อง
- ศักยภาพของการเติบโต จะช่วยดึงดูดเม็ดเงินลงทุนจากต่างประเทศแนวโน้มเศรษฐกิจโลก...นัยต่อเศรษฐกิจไทย
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่า ในปี 2551 ผู้กำหนดนโยบายเศรษฐกิจของไทย อาจต้องเผชิญกับโจทย์ในการดูแลเสถียรภาพทางเศรษฐกิจที่มีความหลากหลายมากขึ้น ซึ่งนั่นอาจหมายความรวมถึง แนวโน้มการชะลอลงของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะเศรษฐกิจสหรัฐฯ และการทรงตัวในระดับสูงของต้นทุนด้านพลังงาน ซึ่งทั้ง 2 ปัจจัยดังกล่าวล้วนมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยในปี 2551 อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
นอกจากจะมีอัตราการพึ่งพาน้ำมันในระดับสูงแล้ว เศรษฐกิจไทยยังพึ่งพาตลาดส่งออกไปยังสหรัฐฯ มากกว่าบางประเทศในภูมิภาคเอเชียอีกด้วย สะท้อนให้เห็นว่า แม้ว่าจีนจะมีสัดส่วนของการส่งออกไปยังตลาดสหรัฐฯ (รวมการส่งออกสินค้าขั้นกลางไปยังประเทศที่สามเพื่อที่จะนำไปผลิตเป็นสินค้าขั้นสุดท้ายที่มีจุดหมายปลายทางคือตลาดสหรัฐฯ) อยู่ในระดับที่สูงมากถึงประมาณร้อยะ 31.2 ส่วนประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชีย เช่น มาเลเซีย ไต้หวัน และอินเดีย ก็มีสัดส่วนการส่งออกไปยังตลาดสหรัฐฯ มากกว่าร้อยละ 25 ในขณะที่ การส่งออกของไทยพึ่งพิงตลาดสหรัฐฯน้อยกว่า โดยสัดส่วนดังกล่าวอยู่ที่ร้อยละ 24.7 ทั้งนี้ การส่งออกไปยังตลาดสหรัฐฯ นั้นมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจไทยมากกว่าเศรษฐกิจของจีน นั่นก็เป็นนัยว่า ภาคส่งออกไทยมีแนวโน้มที่จะได้รับผลกระทบจากภาวะการชะลอตัวลงของเศรษฐกิจสหรัฐฯ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แม้ว่าในปัจจุบัน ผู้ส่งออกไทยได้มีการขยายการส่งออกไปยังตลาดใหม่ๆ แล้วก็ตาม
หากแนวโน้มเศรษฐกิจโลกเข้าด้วยกันกับประเด็นทางเศรษฐกิจภายในประเทศแล้ว ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมีความเห็นว่า เศรษฐกิจไทยในปี 2551 นั้น อาจต้องเผชิญกับความท้าทายหลายประการ ทั้งปัจจัยภายนอก และปัจจัยภายใน ทั้งนี้เพื่อกระตุ้นการใช้จ่ายและสร้างบรรยากาศการลงทุนในประเทศให้กลับมาเป็นปัจจัยช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย เนื่องจากแนวโน้มเงินเฟ้อที่อาจเริ่มมีความชัดเจนมากขึ้นในช่วงไตรมาสแรกของปี 2551 อาจเป็นปัจจัยที่ธนาคารแห่งประเทศไทยต้องให้น้ำหนักความสำคัญมากยิ่งขึ้น ซึ่งนั่นก็จะหมายความว่า ธนาคารแห่งประเทศไทยจะต้องดำเนินนโยบายการเงินไปในแนวทางที่เสริมสร้างเสถียรภาพของราคาเป็นสำคัญ
จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า นโยบายการเงินอาจไม่ใช่ทางเลือกที่เด่นชัดมากนักในการกระตุ้นเศรษฐกิจไทยในปี 2551 ดังนั้นคาดการณ์ว่า รัฐบาลใหม่มีแนวโน้มที่จะดำเนินนโยบายการคลังแบบขยายตัว โดยมีการขาดดุลงบประมาณ(ในปี 2551) ที่เพิ่มมากขึ้นกว่าปี 2550
อย่างไรก็ตาม ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมีความเห็นว่า แม้ว่ามาตรการผ่อนคลายทางการคลังจะเหมาะสมกับสภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจของไทยในปี 2551 ที่ต้องการแรงขับเคลื่อนจากการใช้จ่ายในประเทศ ท่ามกลางแนวโน้มการชะลอตัวของภาคส่งออก แต่ก็มีประเด็นที่ต้องพึงระวัง 2 ประการ คือ ประการแรก การขาดดุลงบประมาณเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจจะต้องคำนึงการรักษากรอบวินัยทางการคลังที่กระทรวงการคลังกำหนด และประการที่สอง รัฐบาลควรจะตระหนักว่า แนวทางการขาดดุลงบประมาณนั้น แม้จะมีความสำคัญในการกระตุ้นเศรษฐกิจ แต่ก็ยังมีสัดส่วนที่น้อยกว่าการใช้จ่ายของภาคเอกชน (การบริโภคและการลงทุน) ซึ่งนั่นหมายความว่า ภาระกิจที่สำคัญอีกประการหนึ่งของรัฐ ก็คือ ภาครัฐต้องมีบทบาทในการฟื้นคืนความเชื่อมั่นของภาคเอกชนให้กลับคืนมาโดยเร็ว เพื่อช่วยให้การใช้จ่ายของภาคเอกชนกลับคืนมาเป็นตัวจักรหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยอีกครั้งหนึ่ง
http://www.settrade.com/S17_ContentDisp ... okerId=IPO
ปี 2551 ผู้กำหนดนโยบายเศรษฐกิจของไทย อาจต้องเผชิญกับโจทย์ในการดูแลเสถียรภาพทางเศรษฐกิจที่มีความหลากหลายมากขึ้น ทั้งจากประเด็นทางเศรษฐกิจภายนอกประเทศ อาทิ การชะลอลงของเศรษฐกิจสหรัฐฯ และความผันผวนของราคาน้ำมันในตลาดโลก และจากประเด็นทางเศรษฐกิจภายใน ซึ่งเป็นภารกิจหลักของรัฐบาลใหม่ โดยเฉพาะในเรื่องของการเร่งฟื้นคืนความเชื่อมั่นของนักลงทุน ตลอดจนการเร่งผลักดันรายจ่ายงบประมาณเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยได้ทำการรวบรวมประเด็นแวดล้อมที่อาจส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยในปี 2551 ไว้ดังนี้
แนวโน้มเศรษฐกิจสหรัฐฯ
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมีมุมมองว่า เศรษฐกิจสหรัฐฯมีแนวโน้มที่จะซบเซาลงต่อเนื่องในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2550 จนถึงช่วงครึ่งแรกของปี 2551 ก่อนจะเริ่มฟื้นตัวขึ้นไม่มากก็น้อยในช่วงครึ่งหลังของปี 2551 พร้อมๆกับความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะ Stagflation (ภาวะชะลอตัวทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นพร้อมๆกับการพุ่งขึ้นของแรงกดดันด้านเงินเฟ้อ) ในช่วง 2 ไตรมาสแรกของปี 2551 เนื่องจากระดับราคาสินค้าในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมาได้ปรับตัวสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยได้รับแรงหนุนจากการพุ่งขึ้นของราคาอาหารและพลังงาน
แนวโน้มอัตราดอกเบี้ยของสหรัฐฯ
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า ธนาคารกลางสหรัฐฯ ยังคงมีแนวโน้มที่จะดำเนินนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายอย่างต่อเนื่องต่อไปในช่วงต้นปี 2551 โดยเฟดอาจทำการปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงอีก 2 ครั้ง รวมอย่างน้อยร้อยละ 0.50 ในการประชุมช่วงครึ่งแรกของปี 2551 สู่ระดับร้อยละ 3.75 เพื่อลดผลกระทบของการชะลอตัวทางเศรษฐกิจและภาวะตลาดสินเชื่อที่ตรึงตัว และหลังจากนั้นเฟดอาจคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่ระดับนั้นต่อเนื่องในช่วงครึ่งหลังของปี 2551 เพื่อประเมินแนวโน้มภาวะเศรษฐกิจและอัตราเงินเฟ้อในระยะถัดไป
แนวโน้มเศรษฐกิจในประเทศอื่นๆ
เศรษฐกิจยูโรโซน
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า การขยายตัวทางเศรษฐกิจของยูโรโซนมีแนวโน้มชะลอตัวลง เนื่องมาจากความปั่นป่วนที่กำลังส่งผลกระทบต่อตลาดการเงินจะยังคงยืดเยื้อต่อไปอีกระยะหนึ่ง นอกจากนี้ แนวโน้มการแข็งค่าของเงินยูโรอย่างน้อยในระยะสั้น อาจเพิ่มภาระให้แก่เศรษฐกิจยุโรปด้วยอีกทางหนึ่ง อย่างไรก็ตาม เริ่มมีสัญญาณบ่งชี้ถึงแรงกดดันในช่วงขาขึ้นของระดับราคา ในขณะที่แรงกดดันจากการปรับเพิ่มค่าจ้างแรงงานอาจเพิ่มสูงขึ้นในปี 2551 เนื่องจากตลาดแรงงานของยูโรโซนกำลังตกอยู่ในสภาพตรึงตัว
เศรษฐกิจญี่ปุ่น
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า เศรษฐกิจญี่ปุ่นในปี 2551 มีแนวโน้มซบเซาอย่างต่อเนื่องจากในปี 2550 โดยถูกกดดันจากปัจจัยลบทั้งภายในและภายนอกประเทศ นอกจากนี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่า ธนาคารกลางญี่ปุ่นยังคงมีแนวโน้มที่จะคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 0.50 ต่อไปในปี 2551 เพื่อสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ในขณะที่ แรงกดดันของแนวโน้มการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางญี่ปุ่นนั้น อาจเริ่มมีขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปี 2551 เมื่ออุปสงค์ภายในประเทศและสถานการณ์เศรษฐกิจโลกโดยเฉพาะสหรัฐฯ มีสัญญาณของการฟื้นตัวที่ชัดเจนมากขึ้น
เศรษฐกิจจีน
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า เศรษฐกิจจีนมีแนวโน้มที่จะรักษาอัตราการขยายตัวในระดับสูง (ตัวเลขสองหลัก) ไว้ได้ต่อเนื่อง ในขณะที่แรงกดดันจากเงินเฟ้อยังคงมีอยู่ต่อไปในปี 2551 ซึ่งก็จะทำให้แนวโน้มนโยบายการเงินของธนาคารกลางจีนในปี 2551 ยังคงเป็นไปในเชิงคุมเข้มอย่างต่อเนื่อง เพื่อชะลอความร้อนแรงทางเศรษฐกิจ และสกัดการพุ่งขึ้นของแรงกดดันเงินเฟ้อ แต่แนวโน้มนโยบายการเงินของธนาคารกลางจีนจะไม่คุมเข้มจนเกินไป และเป็นไปในแนวทางที่ถูกควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิดจากทางการเพื่อประคับประคองเศรษฐกิจในทุกๆ ภาคการผลิตให้สามารถเติบโตไปพร้อมๆ กัน และเพื่อหลีกเลี่ยงโอกาสของการชะลอตัวลงอย่างรุนแรง ตลอดจนเพื่อลดกระแสการเก็งกำไรเงินหยวน
เศรษฐกิจอินเดีย และเวียดนาม
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่า ในปี 2551 เศรษฐกิจอินเดียและเวียดนามยังคงสามารถรักษาอัตราการเติบโตในระดับสูงไว้ได้ต่อเนื่อง เนื่องจากอินเดียและเวียดนามยังคงมีศักยภาพที่เอื้อต่อการขยายตัวของภาคการผลิต และดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ
ตารางสรุปแนวโน้มเศรษฐกิจโลกปี 2551
ประเทศ
ประเด็นสำคัญในปี 2551
สหรัฐฯ
- เศรษฐกิจมีแนวโน้มชะลอลงต่อเนื่องถึงช่วงครึ่งแรกของปี 2551
- เฟดอาจต้องปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายต่อเนื่องอีก 2 ครั้งในช่วงครึ่งแรกของปี 2551
- การปรับลดอัตราดอกเบี้ยทำให้สินทรัพย์สกุลเงินดอลลาร์ฯ มีความน่าดึงดูดน้อยลง
ยูโรโซน
- เศรษฐกิจมีแนวโน้มชะลอลง
- แม้จะมีแรงกดดันเงินเฟ้อ ธนาคารกลางยุโรปมีแนวโน้มคงอัตราดอกเบี้ยไว้ที่ระดับ 4% ให้นานที่สุด
- ความอ่อนแอของเงินดอลลาร์ฯ เป็นปัจจัยสนับสนุนการแข็งค่าของเงินยูโรต่อไปอีกระยะหนึ่ง
ญี่ปุ่น
- เศรษฐกิจมีแนวโน้มชะลอลง
- ธนาคารกลางญี่ปุ่นมีแนวโน้มคงอัตราดอกเบี้ยที่ 0.50% ให้นานที่สุด เนื่องจากความซบเซาของเศรษฐกิจในประเทศ และความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลก
- ความอ่อนแอของเงินดอลลาร์ฯ และการหลีกเลี่ยงความเสี่ยงของนักลงทุน เป็นปัจจัยสนับสนุนการแข็งค่าของเงินเยนต่อไปอีกระยะหนึ่ง
จีน
- เศรษฐกิจมีแนวโน้มรักษาอัตราการขยายตัวในระดับสูงได้ต่อเนื่อง
- ธนาคารกลางจีนยังคงคุมเข้มนโยบายการเงินเพื่อลดแรงกดดันเงินเฟ้อและชะลอความร้อนแรงทางเศรษฐกิจ
- เงินหยวนยังคงมีแนวโน้มแข็งค่าเพื่อช่วยแก้ไขความไม่สมดุลทางการเงินโลก และปรับสมดุลให้กับเศรษฐกิจของจีน
อินเดีย, เวียดนาม
- เศรษฐกิจมีแนวโน้มขยายตัวได้ต่อเนื่อง
- ศักยภาพของการเติบโต จะช่วยดึงดูดเม็ดเงินลงทุนจากต่างประเทศแนวโน้มเศรษฐกิจโลก...นัยต่อเศรษฐกิจไทย
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยคาดว่า ในปี 2551 ผู้กำหนดนโยบายเศรษฐกิจของไทย อาจต้องเผชิญกับโจทย์ในการดูแลเสถียรภาพทางเศรษฐกิจที่มีความหลากหลายมากขึ้น ซึ่งนั่นอาจหมายความรวมถึง แนวโน้มการชะลอลงของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะเศรษฐกิจสหรัฐฯ และการทรงตัวในระดับสูงของต้นทุนด้านพลังงาน ซึ่งทั้ง 2 ปัจจัยดังกล่าวล้วนมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยในปี 2551 อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
นอกจากจะมีอัตราการพึ่งพาน้ำมันในระดับสูงแล้ว เศรษฐกิจไทยยังพึ่งพาตลาดส่งออกไปยังสหรัฐฯ มากกว่าบางประเทศในภูมิภาคเอเชียอีกด้วย สะท้อนให้เห็นว่า แม้ว่าจีนจะมีสัดส่วนของการส่งออกไปยังตลาดสหรัฐฯ (รวมการส่งออกสินค้าขั้นกลางไปยังประเทศที่สามเพื่อที่จะนำไปผลิตเป็นสินค้าขั้นสุดท้ายที่มีจุดหมายปลายทางคือตลาดสหรัฐฯ) อยู่ในระดับที่สูงมากถึงประมาณร้อยะ 31.2 ส่วนประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชีย เช่น มาเลเซีย ไต้หวัน และอินเดีย ก็มีสัดส่วนการส่งออกไปยังตลาดสหรัฐฯ มากกว่าร้อยละ 25 ในขณะที่ การส่งออกของไทยพึ่งพิงตลาดสหรัฐฯน้อยกว่า โดยสัดส่วนดังกล่าวอยู่ที่ร้อยละ 24.7 ทั้งนี้ การส่งออกไปยังตลาดสหรัฐฯ นั้นมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจไทยมากกว่าเศรษฐกิจของจีน นั่นก็เป็นนัยว่า ภาคส่งออกไทยมีแนวโน้มที่จะได้รับผลกระทบจากภาวะการชะลอตัวลงของเศรษฐกิจสหรัฐฯ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แม้ว่าในปัจจุบัน ผู้ส่งออกไทยได้มีการขยายการส่งออกไปยังตลาดใหม่ๆ แล้วก็ตาม
หากแนวโน้มเศรษฐกิจโลกเข้าด้วยกันกับประเด็นทางเศรษฐกิจภายในประเทศแล้ว ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมีความเห็นว่า เศรษฐกิจไทยในปี 2551 นั้น อาจต้องเผชิญกับความท้าทายหลายประการ ทั้งปัจจัยภายนอก และปัจจัยภายใน ทั้งนี้เพื่อกระตุ้นการใช้จ่ายและสร้างบรรยากาศการลงทุนในประเทศให้กลับมาเป็นปัจจัยช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย เนื่องจากแนวโน้มเงินเฟ้อที่อาจเริ่มมีความชัดเจนมากขึ้นในช่วงไตรมาสแรกของปี 2551 อาจเป็นปัจจัยที่ธนาคารแห่งประเทศไทยต้องให้น้ำหนักความสำคัญมากยิ่งขึ้น ซึ่งนั่นก็จะหมายความว่า ธนาคารแห่งประเทศไทยจะต้องดำเนินนโยบายการเงินไปในแนวทางที่เสริมสร้างเสถียรภาพของราคาเป็นสำคัญ
จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า นโยบายการเงินอาจไม่ใช่ทางเลือกที่เด่นชัดมากนักในการกระตุ้นเศรษฐกิจไทยในปี 2551 ดังนั้นคาดการณ์ว่า รัฐบาลใหม่มีแนวโน้มที่จะดำเนินนโยบายการคลังแบบขยายตัว โดยมีการขาดดุลงบประมาณ(ในปี 2551) ที่เพิ่มมากขึ้นกว่าปี 2550
อย่างไรก็ตาม ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมีความเห็นว่า แม้ว่ามาตรการผ่อนคลายทางการคลังจะเหมาะสมกับสภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจของไทยในปี 2551 ที่ต้องการแรงขับเคลื่อนจากการใช้จ่ายในประเทศ ท่ามกลางแนวโน้มการชะลอตัวของภาคส่งออก แต่ก็มีประเด็นที่ต้องพึงระวัง 2 ประการ คือ ประการแรก การขาดดุลงบประมาณเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจจะต้องคำนึงการรักษากรอบวินัยทางการคลังที่กระทรวงการคลังกำหนด และประการที่สอง รัฐบาลควรจะตระหนักว่า แนวทางการขาดดุลงบประมาณนั้น แม้จะมีความสำคัญในการกระตุ้นเศรษฐกิจ แต่ก็ยังมีสัดส่วนที่น้อยกว่าการใช้จ่ายของภาคเอกชน (การบริโภคและการลงทุน) ซึ่งนั่นหมายความว่า ภาระกิจที่สำคัญอีกประการหนึ่งของรัฐ ก็คือ ภาครัฐต้องมีบทบาทในการฟื้นคืนความเชื่อมั่นของภาคเอกชนให้กลับคืนมาโดยเร็ว เพื่อช่วยให้การใช้จ่ายของภาคเอกชนกลับคืนมาเป็นตัวจักรหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยอีกครั้งหนึ่ง
http://www.settrade.com/S17_ContentDisp ... okerId=IPO
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news02/01/08
โพสต์ที่ 580
นักวิเคราะห์เชื่อ ปีนี้ศก.ฟื้นตัวแน่ โดย กระแสหุ้น
นักวิเคราะห์ เชื่อหากทีมเศรษฐกิจรัฐบาลชุดใหม่มั่นใจด้านการลงทุนและการบริโภคได้เร็ว จะเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยในปีนี้ ฟื้นตัวขึ้นช่วงไตรมาสที่ 2
นายธนวรรธน์ พลวิชัย คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ และผู้อำนวยการศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กล่าวถึงภาพรวมเศรษฐกิจไทยในปี 2551 ว่า สัญญาณทางเศรษฐกิจไทย มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นเป็นลำดับ จากตัวเลขการส่งออกช่วงไตรมาสที่ 4 ปี 2550 ขยายตัวสูงเกือบร้อยละ 20 ประกอบกับความชัดเจนทางการเมืองหลังการเลือกตั้ง แม้จะยังไม่มีการจัดตั้งรัฐบาลก็ตาม แต่เชื่อว่าสัญญาณการบริโภคและการลงทุนจะเริ่มฟื้นตัวเป็นลำดับและหากทีมเศรษฐกิจของรัฐบาลชุดใหม่ มีศักยภาพในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจจะฟื้นตัวมากขึ้นช่วงไตรมาสที่ 2 ของปี 2550 และจะเป็นแรงผลักดันให้เศรษฐกิจไทยขยายตัวที่ร้อยละ 4.5-5.0
อย่างไรก็ตามระหว่างนี้ คงต้องจับตาดูการจัดตั้งรัฐบาลชุดใหม่ โดยเฉพาะทีมเศรษฐกิจที่เข้ามาบริหารประเทศว่าจะสามารถสร้างความมั่นใจให้กับนักลงทุนได้มากน้อยเพียงไร
ทั้งนี้ จากการสำรวจการลงทุนในตลาดทุน พบว่าหลังการเลือกตั้ง นักลงทุนต่างชาติมีกระแสตอบรับในเชิงบวก ส่วนภาคการส่งออกในปีนี้ อาจจะไม่ดีเหมือนปี 2550 เฉลี่ยที่ร้อยละ 10 ทั้งนี้เป็นเพราะผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกาที่ชะลอตัวลง
http://www.settrade.com/S17_ContentDisp ... okerId=IPO
นักวิเคราะห์ เชื่อหากทีมเศรษฐกิจรัฐบาลชุดใหม่มั่นใจด้านการลงทุนและการบริโภคได้เร็ว จะเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยในปีนี้ ฟื้นตัวขึ้นช่วงไตรมาสที่ 2
นายธนวรรธน์ พลวิชัย คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ และผู้อำนวยการศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กล่าวถึงภาพรวมเศรษฐกิจไทยในปี 2551 ว่า สัญญาณทางเศรษฐกิจไทย มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นเป็นลำดับ จากตัวเลขการส่งออกช่วงไตรมาสที่ 4 ปี 2550 ขยายตัวสูงเกือบร้อยละ 20 ประกอบกับความชัดเจนทางการเมืองหลังการเลือกตั้ง แม้จะยังไม่มีการจัดตั้งรัฐบาลก็ตาม แต่เชื่อว่าสัญญาณการบริโภคและการลงทุนจะเริ่มฟื้นตัวเป็นลำดับและหากทีมเศรษฐกิจของรัฐบาลชุดใหม่ มีศักยภาพในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจจะฟื้นตัวมากขึ้นช่วงไตรมาสที่ 2 ของปี 2550 และจะเป็นแรงผลักดันให้เศรษฐกิจไทยขยายตัวที่ร้อยละ 4.5-5.0
อย่างไรก็ตามระหว่างนี้ คงต้องจับตาดูการจัดตั้งรัฐบาลชุดใหม่ โดยเฉพาะทีมเศรษฐกิจที่เข้ามาบริหารประเทศว่าจะสามารถสร้างความมั่นใจให้กับนักลงทุนได้มากน้อยเพียงไร
ทั้งนี้ จากการสำรวจการลงทุนในตลาดทุน พบว่าหลังการเลือกตั้ง นักลงทุนต่างชาติมีกระแสตอบรับในเชิงบวก ส่วนภาคการส่งออกในปีนี้ อาจจะไม่ดีเหมือนปี 2550 เฉลี่ยที่ร้อยละ 10 ทั้งนี้เป็นเพราะผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกาที่ชะลอตัวลง
http://www.settrade.com/S17_ContentDisp ... okerId=IPO
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news02/01/08
โพสต์ที่ 581
แจนยัวรี่เอฟเฟ็กดันหุ้น 900 จุด ฝรั่งไหลเงินซื้อแบงก์-พลังงาน โดย กระแสหุ้น
โบรกเกอร์-บลจ.ฟันธงหุ้นเดือนมกราคมมีแจนยัวรี่ เอฟเฟ็ก เหตุเห็นสัญญาณดัชนีฟื้นตัวตั้งแต่ปลายเดือนธ.ค. มั่นใจต่างชาติไหลเงินเข้าเดือนแรกอย่างน้อย 1-2 หมื่นล้านบาท ดันดัชนีพักฐานที่ 900 จุด พลังงาน-แบงก์ยังเป็นหุ้นเป้าหมาย เผยสถิติที่ผ่านมาฝรั่งไหลเงินเข้าแต่ละรอบมูลค่า 6 หมื่นล้านบาท-1.5 แสนล้านบาท ดันหุ้นขึ้น 70-270 จุด
นายสมบัติ นราวุฒิชัย เลขาธิการสมาคมนักวิเคราะห์ กล่าวว่า มีโอกาสที่ตลาดหุ้นไทยจะเกิดภาวะดัชนีปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อนแรงในเดือนมกราคม(แจนยัวรี่ เอฟเฟ็ก) โดยจะเห็นว่าดัชนีหุ้นไทยได้เริ่มปรับตัวเพิ่มขึ้นแล้วในช่วง 5 วันทำการสุดท้ายของเดือนธ.ค.50 และมีโอกาสปรับตัวเพิ่มขึ้นได้อีก
ทั้งนี้ สาเหตุที่เชื่อว่ามีโอกาสเกิดแจนยัวรี่ เอฟเฟ็ก เนื่องจากในช่วง 2 เดือนสุดท้ายของปี 50 นักลงทุนต่างชาติขายสุทธิออกไปมากแล้วประมาณ 5 หมื่นล้านบาท ทำให้น่าจะถึงเวลากลับมาซื้อ ประกอบกับภาพรวมของประเทศดูดีขึ้นกว่าปี 50 มาก ทั้งการเมืองที่มีการเลือกตั้งเรียบร้อยแล้ว และน่าจะมีการจัดตั้งรัฐบาลได้ไม่ยาก เนื่องจากอำนาจต่อรองของพรรคเล็กมีน้อย เศรษฐกิจก็จะฟื้นตัวดีขึ้นจากปีก่อน จีดีพีน่าจะขยายตัวประมาณ 4.9% เพราะเชื่อว่ารัฐบาลใหม่จะมีการกระตุ้นต่อเนื่อง รวมทั้งความเชื่อมั่นของผู้บริโภคและภาคเอกชนจะเริ่มปรับตัวดีขึ้น
ขณะที่ตลาดหุ้นไทยจะมีความน่าสนใจมากขึ้นเมื่อเทียบกับปี 50 เนื่องจากกำไรของบริษัทจดทะเบียน(บจ.)จะเติบโตขึ้นจากปีก่อนเฉลี่ยประมาณ 18% รวมทั้งอัตราส่วนราคาปิดต่อกำไรต่อหุ้น(พีอี)ของตลาดหุ้นไทยยังต่ำกว่าประเทศเพื่อนบ้านโดยปัจจุบันอยู่ที่ 12 เท่า นอกจากนี้ค่าเงินบาทยังมีแนวโน้มแข็งค่าขึ้นต่อเนื่องเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ และมีโอกาสที่แบงก์ชาติจะยกเลิกมาตรการ 30% เปิดทางให้สามารถทำกำไรจากราคาหุ้นและค่าเงินได้ ด้วยปัจจัยเหล่านี้ทำให้เชื่อว่ามีโอกาสที่ต่างชาติจะกลับมาซื้อสุทธิอีกครั้งและทำให้เกิดแจนยัวรี่ เอฟเฟ็ก
นายสมบัติ กล่าวต่อว่า จากการรวบรวมสถิติของการเข้าซื้อสุทธิของนักลงทุนต่างชาติ 5 รอบที่ผ่านมาพบว่า ต่างชาติเข้าซื้อสุทธิในแต่ละรอบจะใช้เวลายาวนานประมาณ 4-6 เดือน และมีมูลค่าเข้าซื้อสุทธิต่ำสุด 6 หมื่นล้านบาทต่อรอบ สูงสุด 1.5 แสนล้านบาทต่อรอบ ผลักดันให้ดัชนีปรับตัวเพิ่มขึ้นระหว่าง 70-270 จุด อย่างไรก็ตามในเดือนมกราคมนี้เชื่อว่าดัชนีน่าจะปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยู่ในระดับ 900 จุด บวกลบเล็กน้อยได้
หุ้นไทยรอบนี้เพิ่งปรับตัวเพิ่มขึ้นมาแค่ 5 วันทำการ ดังนั้นเปิดตลาดมาในเดือนมกราคมดัชนีมีโอกาสปรับตัวเพิ่มขึ้นได้อีก และน่าจะไปอยู่แถวใกล้ๆ 900 จุด เพราะบรรยากาศทุกอย่างดูดีขึ้นทั้งการเมืองและเศรษฐกิจ นอกจากนี้ปกติฝรั่งจะเข้าซื้อหุ้นไทยประมาณ 1 แสนล้านบาทต่อปี เชื่อว่าปีนี้ก็น่าจะใกล้เคียงกัน นายสมบัติ กล่าว
ดร.ศุภกร สุนทรกิจ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน(บลจ.)เอ็มเอฟซี จำกัด(มหาชน) กล่าวว่า มีโอกาสที่ปี 51 จะเกิดแจนยัวรี่ เอฟเฟ็ก และโดยปกติควรเกิดตั้งแต่เดือนธ.ค.50 แต่เนื่องจากประเทศไทยมีการเลือกตั้งทำให้ต่างชาติชะลอดูสถานการณ์ไปก่อน แต่น่าจะกลับมาลงทุนอีกครั้งหลังเปิดตลาดช่วงต้นปีนี้
อย่างไรก็ตาม ในเดือนมกราคมปี 50 ที่ผ่านมาจะเห็นว่าไม่มีปรากฎการณ์แจนยัวรี่ เอฟเฟ็ก เนื่องจากในปีนั้นมีการวางระเบิดทั่วกรุงเทพฯในช่วงปีใหม่ ซึ่งเป็นปัจจัยลบกระทบตลาดหุ้น แต่ในปีนี้เชื่อว่าไม่น่าจะมีเหตุการณ์ลักษณะนี้และหากการฟอร์มทีมจัดตั้งรัฐบาลเป็นไปอย่างราบรื่นและเห็นความชัดเจน เชื่อว่านักลงทุนต่างชาติจะกลับเข้ามาซื้อสุทธิแน่นอน
ทั้งนี้ ในเบื้องต้นประเมินว่าน่าจะมีเม็ดเงินจากต่างชาติเข้ามาซื้อหุ้นไทยในช่วงเดือนมกราคมประมาณ 1-2 หมื่นล้านบาท หรือประมาณวันละ 1 พันล้านบาท เนื่องจากที่ผ่านมาขายออกไปค่อนข้างมากรวมแล้วประมาณ 5 หมื่นล้านบาท แต่เชื่อว่าเม็ดเงินที่ขายออกไปคงจะยังไม่กลับมาทั้งหมด
สำหรับแนวโน้มดัชนีในเดือนมกราคมคาดว่าดัชนีน่าจะปรับตัวเพิ่มขึ้นไปทดสอบแนวต้านที่ระดับ 875 จุดก่อน และหากผ่านแนวต้านดังกล่าวไปได้ดัชนีมีโอกาสปรับตัวเพิ่มขึ้นทดสอบแนวต้านสำคัญที่ 900 จุด ขึ้นอยู่กับว่าสถานการณ์การเมืองจะชัดเจนแค่ไหนและเหตุการณ์ในประเทศปากีสถานจะรุนแรงขึ้นหรือไม่
ดร.ศุภกร กล่าวด้วยว่า สำหรับหุ้นที่นักลงทุนต่างชาติจะเข้ามาลงทุนรอบนี้ยังคงเป็นหุ้นบลูชิพขนาดใหญ่ โดยเฉพาะหุ้นกลุ่มพลังงานที่ยังได้รับผลดีจากราคาพลังงานที่ยังอยู่ในระดับสูง ตลอดจนหุ้นกลุ่มแบงก์ที่น่าจะยังได้รับความสนใจเหมือนเดิม ส่วนหุ้นกลุ่มวัสดุก่อสร้างและกลุ่มรับเหมาก่อสร้าง นักลงทุนต่างชาติจะรอดูนโยบายของรัฐบาลก่อน ว่าจะเดินหน้าโครงการเมกะโปรเจ็กอย่างไร ซึ่งหากมีความชัดเจนต่างชาติก็อาจจะเข้าลงทุนในกลุ่มนี้ด้วย
http://www.settrade.com/S17_ContentDisp ... okerId=IPO
โบรกเกอร์-บลจ.ฟันธงหุ้นเดือนมกราคมมีแจนยัวรี่ เอฟเฟ็ก เหตุเห็นสัญญาณดัชนีฟื้นตัวตั้งแต่ปลายเดือนธ.ค. มั่นใจต่างชาติไหลเงินเข้าเดือนแรกอย่างน้อย 1-2 หมื่นล้านบาท ดันดัชนีพักฐานที่ 900 จุด พลังงาน-แบงก์ยังเป็นหุ้นเป้าหมาย เผยสถิติที่ผ่านมาฝรั่งไหลเงินเข้าแต่ละรอบมูลค่า 6 หมื่นล้านบาท-1.5 แสนล้านบาท ดันหุ้นขึ้น 70-270 จุด
นายสมบัติ นราวุฒิชัย เลขาธิการสมาคมนักวิเคราะห์ กล่าวว่า มีโอกาสที่ตลาดหุ้นไทยจะเกิดภาวะดัชนีปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อนแรงในเดือนมกราคม(แจนยัวรี่ เอฟเฟ็ก) โดยจะเห็นว่าดัชนีหุ้นไทยได้เริ่มปรับตัวเพิ่มขึ้นแล้วในช่วง 5 วันทำการสุดท้ายของเดือนธ.ค.50 และมีโอกาสปรับตัวเพิ่มขึ้นได้อีก
ทั้งนี้ สาเหตุที่เชื่อว่ามีโอกาสเกิดแจนยัวรี่ เอฟเฟ็ก เนื่องจากในช่วง 2 เดือนสุดท้ายของปี 50 นักลงทุนต่างชาติขายสุทธิออกไปมากแล้วประมาณ 5 หมื่นล้านบาท ทำให้น่าจะถึงเวลากลับมาซื้อ ประกอบกับภาพรวมของประเทศดูดีขึ้นกว่าปี 50 มาก ทั้งการเมืองที่มีการเลือกตั้งเรียบร้อยแล้ว และน่าจะมีการจัดตั้งรัฐบาลได้ไม่ยาก เนื่องจากอำนาจต่อรองของพรรคเล็กมีน้อย เศรษฐกิจก็จะฟื้นตัวดีขึ้นจากปีก่อน จีดีพีน่าจะขยายตัวประมาณ 4.9% เพราะเชื่อว่ารัฐบาลใหม่จะมีการกระตุ้นต่อเนื่อง รวมทั้งความเชื่อมั่นของผู้บริโภคและภาคเอกชนจะเริ่มปรับตัวดีขึ้น
ขณะที่ตลาดหุ้นไทยจะมีความน่าสนใจมากขึ้นเมื่อเทียบกับปี 50 เนื่องจากกำไรของบริษัทจดทะเบียน(บจ.)จะเติบโตขึ้นจากปีก่อนเฉลี่ยประมาณ 18% รวมทั้งอัตราส่วนราคาปิดต่อกำไรต่อหุ้น(พีอี)ของตลาดหุ้นไทยยังต่ำกว่าประเทศเพื่อนบ้านโดยปัจจุบันอยู่ที่ 12 เท่า นอกจากนี้ค่าเงินบาทยังมีแนวโน้มแข็งค่าขึ้นต่อเนื่องเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ และมีโอกาสที่แบงก์ชาติจะยกเลิกมาตรการ 30% เปิดทางให้สามารถทำกำไรจากราคาหุ้นและค่าเงินได้ ด้วยปัจจัยเหล่านี้ทำให้เชื่อว่ามีโอกาสที่ต่างชาติจะกลับมาซื้อสุทธิอีกครั้งและทำให้เกิดแจนยัวรี่ เอฟเฟ็ก
นายสมบัติ กล่าวต่อว่า จากการรวบรวมสถิติของการเข้าซื้อสุทธิของนักลงทุนต่างชาติ 5 รอบที่ผ่านมาพบว่า ต่างชาติเข้าซื้อสุทธิในแต่ละรอบจะใช้เวลายาวนานประมาณ 4-6 เดือน และมีมูลค่าเข้าซื้อสุทธิต่ำสุด 6 หมื่นล้านบาทต่อรอบ สูงสุด 1.5 แสนล้านบาทต่อรอบ ผลักดันให้ดัชนีปรับตัวเพิ่มขึ้นระหว่าง 70-270 จุด อย่างไรก็ตามในเดือนมกราคมนี้เชื่อว่าดัชนีน่าจะปรับตัวเพิ่มขึ้นมาอยู่ในระดับ 900 จุด บวกลบเล็กน้อยได้
หุ้นไทยรอบนี้เพิ่งปรับตัวเพิ่มขึ้นมาแค่ 5 วันทำการ ดังนั้นเปิดตลาดมาในเดือนมกราคมดัชนีมีโอกาสปรับตัวเพิ่มขึ้นได้อีก และน่าจะไปอยู่แถวใกล้ๆ 900 จุด เพราะบรรยากาศทุกอย่างดูดีขึ้นทั้งการเมืองและเศรษฐกิจ นอกจากนี้ปกติฝรั่งจะเข้าซื้อหุ้นไทยประมาณ 1 แสนล้านบาทต่อปี เชื่อว่าปีนี้ก็น่าจะใกล้เคียงกัน นายสมบัติ กล่าว
ดร.ศุภกร สุนทรกิจ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน(บลจ.)เอ็มเอฟซี จำกัด(มหาชน) กล่าวว่า มีโอกาสที่ปี 51 จะเกิดแจนยัวรี่ เอฟเฟ็ก และโดยปกติควรเกิดตั้งแต่เดือนธ.ค.50 แต่เนื่องจากประเทศไทยมีการเลือกตั้งทำให้ต่างชาติชะลอดูสถานการณ์ไปก่อน แต่น่าจะกลับมาลงทุนอีกครั้งหลังเปิดตลาดช่วงต้นปีนี้
อย่างไรก็ตาม ในเดือนมกราคมปี 50 ที่ผ่านมาจะเห็นว่าไม่มีปรากฎการณ์แจนยัวรี่ เอฟเฟ็ก เนื่องจากในปีนั้นมีการวางระเบิดทั่วกรุงเทพฯในช่วงปีใหม่ ซึ่งเป็นปัจจัยลบกระทบตลาดหุ้น แต่ในปีนี้เชื่อว่าไม่น่าจะมีเหตุการณ์ลักษณะนี้และหากการฟอร์มทีมจัดตั้งรัฐบาลเป็นไปอย่างราบรื่นและเห็นความชัดเจน เชื่อว่านักลงทุนต่างชาติจะกลับเข้ามาซื้อสุทธิแน่นอน
ทั้งนี้ ในเบื้องต้นประเมินว่าน่าจะมีเม็ดเงินจากต่างชาติเข้ามาซื้อหุ้นไทยในช่วงเดือนมกราคมประมาณ 1-2 หมื่นล้านบาท หรือประมาณวันละ 1 พันล้านบาท เนื่องจากที่ผ่านมาขายออกไปค่อนข้างมากรวมแล้วประมาณ 5 หมื่นล้านบาท แต่เชื่อว่าเม็ดเงินที่ขายออกไปคงจะยังไม่กลับมาทั้งหมด
สำหรับแนวโน้มดัชนีในเดือนมกราคมคาดว่าดัชนีน่าจะปรับตัวเพิ่มขึ้นไปทดสอบแนวต้านที่ระดับ 875 จุดก่อน และหากผ่านแนวต้านดังกล่าวไปได้ดัชนีมีโอกาสปรับตัวเพิ่มขึ้นทดสอบแนวต้านสำคัญที่ 900 จุด ขึ้นอยู่กับว่าสถานการณ์การเมืองจะชัดเจนแค่ไหนและเหตุการณ์ในประเทศปากีสถานจะรุนแรงขึ้นหรือไม่
ดร.ศุภกร กล่าวด้วยว่า สำหรับหุ้นที่นักลงทุนต่างชาติจะเข้ามาลงทุนรอบนี้ยังคงเป็นหุ้นบลูชิพขนาดใหญ่ โดยเฉพาะหุ้นกลุ่มพลังงานที่ยังได้รับผลดีจากราคาพลังงานที่ยังอยู่ในระดับสูง ตลอดจนหุ้นกลุ่มแบงก์ที่น่าจะยังได้รับความสนใจเหมือนเดิม ส่วนหุ้นกลุ่มวัสดุก่อสร้างและกลุ่มรับเหมาก่อสร้าง นักลงทุนต่างชาติจะรอดูนโยบายของรัฐบาลก่อน ว่าจะเดินหน้าโครงการเมกะโปรเจ็กอย่างไร ซึ่งหากมีความชัดเจนต่างชาติก็อาจจะเข้าลงทุนในกลุ่มนี้ด้วย
http://www.settrade.com/S17_ContentDisp ... okerId=IPO
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news02/01/08
โพสต์ที่ 582
เปิดโผ12หุ้นเด็ดปันผลสูงกว่า7%ควรมีไว้ในพอร์ต
ถึงเวลาปรับกลยุทธ์ลงทุน หันซื้อหุ้นปันผลงามหลังปิดงบปี 50 ชู 12 หุ้นเด่นให้ยีลด์สูงกว่า 7% นำโดย TMT PSL SPALI MSC TISCO CSL DELTA HANA GMMM GRAMMY DCC TCAP CCET และ ADVANC ชี้ส่วนใหญ่เป็นหุ้นพื้นฐานดี ปันผลสม่ำเสมอ ควรมีไว้ในพอร์ตดีกว่าเอาเงินไปฝาก
นักวิเคราะห์จากบริษัทหลักทรัพย์ทรีนีตี้ จำกัด กล่าวว่า สำหรับหุ้นที่อยู่ในกลุ่มที่จ่ายเงินปันผลได้ดี และมีพื้นฐานที่แข็งแกร่งและมีแนวโน้มของอัตราการเติบโตในเกณฑ์ดี รวมทั้งยังมีส่วนต่างราคาหุ้น(อัพไซด์) ในระดับสูงที่น่าลงทุน ประกอบด้วย TISCO, DELTA, TCAP, SPALI, ROJANA และ QH เป็นต้น
ทั้งนี้ TISCO, TCAP และ KK คือ 3 หุ้นเด่นในกลุ่มธนาคารพาณิชย์ โดยมี 3 เหตุผลสนับสนุน คือ สินเชื่อโต ปันผลเด่น ผลการดำเนินงานก้าวกระโดด TISCO, TCAP และ KK เป็นหุ้นธนาคารพาณิชย์ ซึ่งมีดีที่ให้อัตราผลตอบแทนเงินปันผลในระดับสูง นอกจากนี้ ยังมีการเติบโตของสินเชื่อเช่าซื้อที่โดดเด่น โดยปี 2550 มีความสามารถในการทำกำไรอยู่ในระดับสูงกว่าปีที่แล้ว และคาดว่าในปี 2551 จะยังคงมีการเติบโตของสินเชื่ออย่างต่อเนื่อง เพราะความเชื่อมั่นในการบริโภคที่มีแนวโน้มสดใสขึ้น
ส่วน DELTA ผลประกอบการโดดเด่นและอยู่ในอุตสาหกรรมที่พยุงเศรษฐกิจอย่างแข็งแกร่งในปี 2549 และจะดีต่อเนื่องมายังปีนี้ด้วย ซึ่ง DELTA จะกลับมามีกำไรจากหน่วยงานผลิตอุปกรณ์จ่ายไฟสำหรับโทรคมนาคม ส่วน ROJANA ผลการดำเนินงานดี จ่ายปันผลงาม ซึ่งผลการดำเนินงานปี 2551 จะได้แรงผลักดันจากยอดขายโครงการคอนโดมิเนียม Kaina Plaza ในจีน ธุรกิจโรงไฟฟ้า SPP ขยายตัวต่อเนื่อง และการขายที่ดินนิคมให้กับกลุ่มยานยนต์และเครื่องไฟฟ้า LCD ทำให้ ROJANA ยังคงเป็นหุ้นที่น่าสนใจ
QH คาดว่าปี 2551 ดีต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมา บ้าน 5 คุณภาพกับ 5 เหตุผลที่ยังทำให้ QH เป็นหุ้นโดดเด่นในกลุ่มอสังหาริมทรัพย์ ส่วน SPALI นั้น แม้ว่า SPALI ในปัจจุบันมีความเสี่ยงที่ผลประกอบการในปี 2551 อาจจะสะดุดลง 1 ปี เนื่องจากมีการรับรู้รายได้คอนโดมิเนียมน้อย แต่จากการที่ SPALI เป็นบริษัทที่มีการจ่ายเงินปันผลในระดับ 7% อย่างต่ำมาอย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 และในกรณีเลวร้าย SPALI ก็ยังสามารถจ่ายเงินปันผลได้ไม่ต่ำกว่า 5% เมื่อเทียบกับราคาปัจจุบัน
นักวิเคราะห์จากบริษัทหลักทรัพย์กรุงศรีอยุธยา จำกัด กล่าวว่า การลงทุนในหลักทรัพย์ช่วงปี 2551 เพื่อคาดหวังให้ผลตอบแทนส่วนต่างการลงทุนในหุ้นรวม ในอัตราที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยของตลาดหลักทรัพย์ 16.8% ภายใต้เงื่อนไขในการคัดเลือกหุ้นนั้น ประกอบไปด้วย 1. หุ้นที่ยังมีส่วนต่างกำไรหรือมูลค่าตลาดที่ต่ำกว่ามูลค่าพื้นฐานประเมินสำหรับปี 2551 หรือดิสเคาท์ (ราคาหุ้นปัจจุบันยังต่ำกว่ามูลค่าพื้นฐานใวนปี 2551) ในอัตราที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยของ AYSs Stock Universe 13.2% (จำนวน 131 บริษัท) 2. จะต้องมีอัตราเงินปันผลสูงกว่าค่าเฉลี่ยของตลาดที่ 3.6% และไม่รวมหลักทรัพย์ที่ให้ผลตอบแทนเงินปันผลสูงสุด 13 อันดับที่ได้คัดเลือกในตอนต้น 3. และจะต้องมีผลตอบแทนการลงทุนรวม หรือ Total Return (Capital Gain+ Dividend Yield)สูงกว่าค่าเฉลี่ยที่ 16.8%
สำหรับ 13 บริษัทที่คาดว่าจะให้ผลตอบแทนเงินปันผลสูงสุดสำหรับปี 2550 ที่ผ่านมา จากจำนวนหลักทรัพย์รวม 131 บริษัท ใน 17 อุตสาหกรรม มีมูลค่าตลาดรวมเทียบเท่า 79% ของมูลค่าทั้งตลาดหลักทรัพย์ โดยคาดการณ์ว่าจะมีผลตอบแทนในรูปแบบของอัตราเงินปันผลเฉลี่ยคิดเป็น 3.6% สำหรับปี 2550 และมีอัตราผลตอบแทนในส่วนต่างกำไรจากราคาหุ้นปัจจุบัน เทียบกับมูลค่าหุ้นที่ประเมินเฉลี่ยที่ 16.8%
หลักทรัพย์ที่คาดการณ์ว่าจะให้ผลตอบแทนในรูปแบบของเงินปันผลสูงสุดสำหรับปี 2550 ใน 12 อันดับแรก ที่ประมาณการว่าจะให้ผลตอบแทนอัตราเงินปันผลตั้งแต่ 7% ขึ้นไปได้แก่ TMT 11.9%, PSL รวม 9.0% จ่ายแล้วในครึ่งแรก 5.6% เหลือ 3.5% สำหรับครึ่งปีหลัง, SPALI รวมทั้ปี 8.6% จ่ายแล้วครึ่งปีแรก 3.4% เหลือ 5.1% สำหรับครึ่งปีหลัง, MSC 8.0%, TISCO 7.5%, CSL 7.5%, DELTA 7.5%, HANA 7.4%, GMMM 7.0%,GRAMMY 7.0%, DCC 7.0%, TCAP 6.9%, CCET รวม 6.9% จ่ายแล้ว 2.9% ในครึ่งปีแรกเหลือ 4% สำหรับครึ่งปีหลัง และ ADVANC 6.9%
ทั้งนี้ ในส่วนของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากเฉลี่ย 7 ปีที่ 2.3% และพันธบัตรรัฐบาล 4.7% ทั้งนี้ ด้วยการลงทุนในหลักทรัพย์นั้นมีความเสี่ยงในระดับสูงกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับการลงทุนในรูปแบบของเงินฝากธนาคาร ณ ปัจจุบันเฉลี่ย 5 ธนาคารขนาดใหญ่ที่ 2.33% หรือสูงกว่าผลตอบแทนของพีนธบัตรรัฐบาล ณ ปัจจุบันที่ 4.7% และค่าเฉลี่ยอัตราเงินปันผลของตลาดหลักทรัพย์ที่ 3.6%
ดังนั้น อัตราการคาดหวังของผลตอบแทนในรูปแบบเงินปันผล ซึ่งเป็นผลตอบแทนขั้นต่ำที่คาดหวังจากการลงทุนในตลาดทุนจึงต้องสูงกว่า จึงประเมินอัตราความน่าสนใจของการลงทุนที่ให้ผลตอบแทนในรูปแบบเงินปันผลที่มีอัตราการจ่ายสูงกว่าทั้งจากอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาล โดยจะเป็นหลักทรัพย์ที่มีปัจจัยพื้นฐานดีรองรับกอปรกับมีประวัติการจ่ายเงินปันผลสม่ำเสมอ
http://www.settrade.com/S17_ContentDisp ... egoryId=16
ถึงเวลาปรับกลยุทธ์ลงทุน หันซื้อหุ้นปันผลงามหลังปิดงบปี 50 ชู 12 หุ้นเด่นให้ยีลด์สูงกว่า 7% นำโดย TMT PSL SPALI MSC TISCO CSL DELTA HANA GMMM GRAMMY DCC TCAP CCET และ ADVANC ชี้ส่วนใหญ่เป็นหุ้นพื้นฐานดี ปันผลสม่ำเสมอ ควรมีไว้ในพอร์ตดีกว่าเอาเงินไปฝาก
นักวิเคราะห์จากบริษัทหลักทรัพย์ทรีนีตี้ จำกัด กล่าวว่า สำหรับหุ้นที่อยู่ในกลุ่มที่จ่ายเงินปันผลได้ดี และมีพื้นฐานที่แข็งแกร่งและมีแนวโน้มของอัตราการเติบโตในเกณฑ์ดี รวมทั้งยังมีส่วนต่างราคาหุ้น(อัพไซด์) ในระดับสูงที่น่าลงทุน ประกอบด้วย TISCO, DELTA, TCAP, SPALI, ROJANA และ QH เป็นต้น
ทั้งนี้ TISCO, TCAP และ KK คือ 3 หุ้นเด่นในกลุ่มธนาคารพาณิชย์ โดยมี 3 เหตุผลสนับสนุน คือ สินเชื่อโต ปันผลเด่น ผลการดำเนินงานก้าวกระโดด TISCO, TCAP และ KK เป็นหุ้นธนาคารพาณิชย์ ซึ่งมีดีที่ให้อัตราผลตอบแทนเงินปันผลในระดับสูง นอกจากนี้ ยังมีการเติบโตของสินเชื่อเช่าซื้อที่โดดเด่น โดยปี 2550 มีความสามารถในการทำกำไรอยู่ในระดับสูงกว่าปีที่แล้ว และคาดว่าในปี 2551 จะยังคงมีการเติบโตของสินเชื่ออย่างต่อเนื่อง เพราะความเชื่อมั่นในการบริโภคที่มีแนวโน้มสดใสขึ้น
ส่วน DELTA ผลประกอบการโดดเด่นและอยู่ในอุตสาหกรรมที่พยุงเศรษฐกิจอย่างแข็งแกร่งในปี 2549 และจะดีต่อเนื่องมายังปีนี้ด้วย ซึ่ง DELTA จะกลับมามีกำไรจากหน่วยงานผลิตอุปกรณ์จ่ายไฟสำหรับโทรคมนาคม ส่วน ROJANA ผลการดำเนินงานดี จ่ายปันผลงาม ซึ่งผลการดำเนินงานปี 2551 จะได้แรงผลักดันจากยอดขายโครงการคอนโดมิเนียม Kaina Plaza ในจีน ธุรกิจโรงไฟฟ้า SPP ขยายตัวต่อเนื่อง และการขายที่ดินนิคมให้กับกลุ่มยานยนต์และเครื่องไฟฟ้า LCD ทำให้ ROJANA ยังคงเป็นหุ้นที่น่าสนใจ
QH คาดว่าปี 2551 ดีต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมา บ้าน 5 คุณภาพกับ 5 เหตุผลที่ยังทำให้ QH เป็นหุ้นโดดเด่นในกลุ่มอสังหาริมทรัพย์ ส่วน SPALI นั้น แม้ว่า SPALI ในปัจจุบันมีความเสี่ยงที่ผลประกอบการในปี 2551 อาจจะสะดุดลง 1 ปี เนื่องจากมีการรับรู้รายได้คอนโดมิเนียมน้อย แต่จากการที่ SPALI เป็นบริษัทที่มีการจ่ายเงินปันผลในระดับ 7% อย่างต่ำมาอย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 และในกรณีเลวร้าย SPALI ก็ยังสามารถจ่ายเงินปันผลได้ไม่ต่ำกว่า 5% เมื่อเทียบกับราคาปัจจุบัน
นักวิเคราะห์จากบริษัทหลักทรัพย์กรุงศรีอยุธยา จำกัด กล่าวว่า การลงทุนในหลักทรัพย์ช่วงปี 2551 เพื่อคาดหวังให้ผลตอบแทนส่วนต่างการลงทุนในหุ้นรวม ในอัตราที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยของตลาดหลักทรัพย์ 16.8% ภายใต้เงื่อนไขในการคัดเลือกหุ้นนั้น ประกอบไปด้วย 1. หุ้นที่ยังมีส่วนต่างกำไรหรือมูลค่าตลาดที่ต่ำกว่ามูลค่าพื้นฐานประเมินสำหรับปี 2551 หรือดิสเคาท์ (ราคาหุ้นปัจจุบันยังต่ำกว่ามูลค่าพื้นฐานใวนปี 2551) ในอัตราที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยของ AYSs Stock Universe 13.2% (จำนวน 131 บริษัท) 2. จะต้องมีอัตราเงินปันผลสูงกว่าค่าเฉลี่ยของตลาดที่ 3.6% และไม่รวมหลักทรัพย์ที่ให้ผลตอบแทนเงินปันผลสูงสุด 13 อันดับที่ได้คัดเลือกในตอนต้น 3. และจะต้องมีผลตอบแทนการลงทุนรวม หรือ Total Return (Capital Gain+ Dividend Yield)สูงกว่าค่าเฉลี่ยที่ 16.8%
สำหรับ 13 บริษัทที่คาดว่าจะให้ผลตอบแทนเงินปันผลสูงสุดสำหรับปี 2550 ที่ผ่านมา จากจำนวนหลักทรัพย์รวม 131 บริษัท ใน 17 อุตสาหกรรม มีมูลค่าตลาดรวมเทียบเท่า 79% ของมูลค่าทั้งตลาดหลักทรัพย์ โดยคาดการณ์ว่าจะมีผลตอบแทนในรูปแบบของอัตราเงินปันผลเฉลี่ยคิดเป็น 3.6% สำหรับปี 2550 และมีอัตราผลตอบแทนในส่วนต่างกำไรจากราคาหุ้นปัจจุบัน เทียบกับมูลค่าหุ้นที่ประเมินเฉลี่ยที่ 16.8%
หลักทรัพย์ที่คาดการณ์ว่าจะให้ผลตอบแทนในรูปแบบของเงินปันผลสูงสุดสำหรับปี 2550 ใน 12 อันดับแรก ที่ประมาณการว่าจะให้ผลตอบแทนอัตราเงินปันผลตั้งแต่ 7% ขึ้นไปได้แก่ TMT 11.9%, PSL รวม 9.0% จ่ายแล้วในครึ่งแรก 5.6% เหลือ 3.5% สำหรับครึ่งปีหลัง, SPALI รวมทั้ปี 8.6% จ่ายแล้วครึ่งปีแรก 3.4% เหลือ 5.1% สำหรับครึ่งปีหลัง, MSC 8.0%, TISCO 7.5%, CSL 7.5%, DELTA 7.5%, HANA 7.4%, GMMM 7.0%,GRAMMY 7.0%, DCC 7.0%, TCAP 6.9%, CCET รวม 6.9% จ่ายแล้ว 2.9% ในครึ่งปีแรกเหลือ 4% สำหรับครึ่งปีหลัง และ ADVANC 6.9%
ทั้งนี้ ในส่วนของอัตราดอกเบี้ยเงินฝากเฉลี่ย 7 ปีที่ 2.3% และพันธบัตรรัฐบาล 4.7% ทั้งนี้ ด้วยการลงทุนในหลักทรัพย์นั้นมีความเสี่ยงในระดับสูงกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับการลงทุนในรูปแบบของเงินฝากธนาคาร ณ ปัจจุบันเฉลี่ย 5 ธนาคารขนาดใหญ่ที่ 2.33% หรือสูงกว่าผลตอบแทนของพีนธบัตรรัฐบาล ณ ปัจจุบันที่ 4.7% และค่าเฉลี่ยอัตราเงินปันผลของตลาดหลักทรัพย์ที่ 3.6%
ดังนั้น อัตราการคาดหวังของผลตอบแทนในรูปแบบเงินปันผล ซึ่งเป็นผลตอบแทนขั้นต่ำที่คาดหวังจากการลงทุนในตลาดทุนจึงต้องสูงกว่า จึงประเมินอัตราความน่าสนใจของการลงทุนที่ให้ผลตอบแทนในรูปแบบเงินปันผลที่มีอัตราการจ่ายสูงกว่าทั้งจากอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก และอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาล โดยจะเป็นหลักทรัพย์ที่มีปัจจัยพื้นฐานดีรองรับกอปรกับมีประวัติการจ่ายเงินปันผลสม่ำเสมอ
http://www.settrade.com/S17_ContentDisp ... egoryId=16
-
- Verified User
- โพสต์: 497
- ผู้ติดตาม: 0
ภาพรวมเศรษฐกิจ
โพสต์ที่ 583
น้ำมัน-สินค้า-ดอกเบี้ย พาเหรดขึ้นราคารับปี"51 คนไทยเตรียมใจกระเป๋าฉีก
ประเทศไทยปี 2550 ประสบปัญหาที่หนักหนาสาหัส แต่ก็ยังมีหลายคนที่บอกว่านั่นเป็นแค่เผาหลอก แต่เผาจริงคือปี 2551 ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนสามารถเตรียมตัวรับมือกับสถานการณ์ต่างๆ ได้ "มติชน" จึงได้รวบรวมสารพัดปัญหาทางเศรษฐกิจที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในปีหนูเอาไว้ว่าอะไรกำลังจะเกิดขึ้นกับเศรษฐกิจไทย
- ราคาพลังงานแพง
มีแนวโน้มชัดเจนว่า ยังอยู่ในช่วงขาขึ้น โดยเฉพาะราคาน้ำมัน หากเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์ในปี 2551 ราคาน้ำมันจะยังคงทรงตัวระดับสูงทั้งในตลาดโลก และราคาขายปลีกในประเทศ โดยราคาน้ำมันดิบเฉลี่ยน่าจะอยู่ในระดับ 80-90 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล ขณะที่ราคาน้ำมันสำเร็จรูปทั้งเบนซิน และดีเซลในตลาดสิงคโปร์ก็คงเกินระดับ 100 เหรียญต่อบาร์เรล ส่วนราคาขายปลีกนั้น อาจจะมีช่วงขึ้นลงแตกต่างกัน แต่เฉลี่ยแล้วก็ยังแตะระดับ 30 บาทต่อลิตรอยู่ และในช่วงอันใกล้ประมาณวันที่ 2-3 มกราคมนี้ ปตท.อาจจะปรับราคาทุกชนิดขึ้นอีก 40 สตางค์ต่อลิตร หลังจากที่ยอมตรึงราคาในช่วงปีใหม่ให้แล้ว 6 วันนอกจากราคาน้ำมันแล้ว ก๊าซหุงต้ม หรือแอลพีจี ก็ต้องปรับขึ้นอีกแน่นอน หลังจากที่ได้ปรับขึ้นไปแล้ว 1.20 บาทต่อลิตร ในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา ตามสูตรราคาหน้าโรงกลั่นแบบใหม่ ที่กระทรวงพลังงานกำหนดให้สามารถอิงราคาในตลาดโลกที่สูงกว่าราคาในไทยกว่าเท่าตัวได้ โดยในช่วงไตรมาส 1 นี้สูตรใหม่กำหนดให้อิงราคาตลาดโลกได้ 5% และค่อยๆ ปรับขึ้นไปเรื่อยๆ สูงสุดให้อิงตลาดโลกได้ถึง 40% ซึ่งขณะนี้ราคาตลาดโลกอยู่ที่ระดับประมาณ 850 เหรียญสหรัฐต่อตัน ขณะที่ราคาหน้าโรงกลั่นอยู่แค่ 320 เหรียญต่อตันเท่านั้น หากในเดือนมกราคมนี้ราคาใหม่ในตลาดโลกทรงตัว หรือเพิ่มขึ้นอีก คาดว่าในช่วงไตรมาสแรกของปี ราคาขายปลีกแอลพีจีอาจจะปรับขึ้นเฉียด 1 บาทต่อกิโลกรัม และโดยรวมทั้งปีหากอิงราคาตลาดโลกถึง 40% ราคาขายปลีกอาจจะต้องปรับขึ้นอีกประมาณ 3-5 บาทต่อกิโลกรัม
- สารพัดสินค้าขึ้นราคา
ผลกระทบจากราคาน้ำมันที่เพิ่มสูงขึ้น มีสัญญาณมาตั้งแต่ปลายปี 2550 แล้วว่า สินค้าหลายรายการตั้งท่าปรับเพิ่มราคา อาทิ บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ปรับเพิ่มจากซองละ 5 บาท เป็น 6 บาท หรือเพิ่มมาอีกซองละ 1 บาท
น้ำมันพืช คาดว่าจะปรับเพิ่มขึ้นลิตรละ 4-5 บาท นมพร้อมดื่ม ราคาปรับเพิ่มขึ้นอีก 10-15% ปลากระป๋องปรับเพิ่มขึ้นอีกกระป๋องละ 2-3 บาท
และยังมีราคา หมู เนื้อ ไก่ ที่คาดว่าปรับเพิ่มขึ้นอย่างถ้วนหน้าผลสืบเนื่องมาจากวัตถุดิบอาหารสัตว์ประเภทข้าวโพด รำข้าว มันสำปะหลัง ราคาปรับเพิ่มขึ้นจากความต้องการใช้ผลิตพลังงานทดแทนประเภทเอทานอล ไบโอดีเซล
นอกจากนี้ ยังมีวัตถุดิบสินค้าเกษตรประเภท น้ำมันปาล์ม นมผง ซึ่งปรับเพิ่มขึ้นจากปัญหาภาวะโลกร้อนและส่งผลสืบเนื่องต่อน้ำนมดิบซึ่งผู้ประกอบการนมพร้อมดื่มพาสเจอไรซ์ ยูเอชที รับซื้อจากกลุ่มสหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนม ราคาปรับเพิ่มขึ้นมาถึง 2 ครั้งในรอบ ปี จาก 12.50 บาท มาเป็น 16.50 บาท หรือปรับเพิ่มขึ้นครั้งละ 2 บาทต่อกิโลกรัม ทำให้ผู้ประกอบการนมพาสเจอไรซ์ ซึ่งใช้ส่วนผสมของน้ำนมดิบ 100% ต้องขอปรับเพิ่มราคาสองครั้ง ในช่วงกลางปีและปลายปีโดยแต่ละครั้งราคาปรับเพิ่มขึ้น 10-15% ตามราคาน้ำนมดิบ
- ค่าโดยสารปรับราคา
สิ่งที่ประชาชนจะต้องเจอในปี 2551 อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ก็คือ การเพิ่มขึ้นของค่าสาธารณูปโภคต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งค่าขนส่ง เนื่องจากปัจจัยหลักที่เกี่ยวข้องกับค่าขนส่ง ก็คือ ราคาน้ำมัน ทำให้ค่าโดยสารรถประจำทาง ทั้งรถ ขสมก. รถ บ.ข.ส. รถร่วม บ.ข.ส. รถร่วม ขสมก. รถไฟ และเรือจะต้องปรับขึ้นอย่างแน่นอนโดยก่อนหน้านี้ ในส่วนของรถร่วม ขสมก.ได้มีการปรับราคาขึ้นไปก่อนแล้ว ขณะที่รถเมล์ ขสมก. บ.ข.ส. ยังไม่ปรับขึ้น แต่วันที่ 15 มกราคมนี้จะปรับขึ้นอีก 50 สตางค์อย่างแน่นอน ขณะที่เรือด่วนเจ้าพระยา เรือคลองแสนแสบ ก็จะปรับราคาด้วยเช่นกันนอกจากนี้ ในส่วนของค่าผ่านทางพิเศษจะมีการปรับราคาเพิ่มขึ้นอีก โดยทางด่วนดอนเมือง โทลล์เวย์ จะปรับขึ้นเป็น 55 บาท ตลอดเส้นทางในเดือนมกราคม 2551 ขณะที่ทางด่วนขั้นที่ 1 และ 2 จะมีการพิจารณาปรับขึ้นประมาณเดือนมีนาคม 2551 ซึ่งยังไม่รวมถึงค่ารถไฟที่ขณะนี้ยังอั้นราคาอยู่อย่างเต็มที่ เพราะฉะนั้นปี 2551 ประชาชนผู้ใช้บริการ คงจะต้องรัดเข็มขัดให้แน่นเข้าไปอีก
- ดอกเบี้ยขาขึ้น
ราคาสินค้าและค่าบริการที่ปรับขึ้นจากผลพวงน้ำมันแพงนั้น ย่อมต้องสร้างแรงกดดันต่ออัตราเงินเฟ้อ ซึ่งหนีไม่พ้นที่ ธปท.จะต้องปรับขึ้นดอกเบี้ยสกัดไม่ให้เงินเฟ้อเร่งตัวมากจนเกินไป และแน่นอนว่าเมื่อใดก็ตามที่อยู่ในทิศทางดอกเบี้ยขาขึ้น การส่งผ่านดอกเบี้ยนโยบายไปยังอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่ธนาคารพาณิชย์เรียกเก็บจากลูกค้ามักจะปรับขึ้นรวดเร็วกว่าในช่วงดอกเบี้ยขาลงอย่างมาก หรือหลายครั้งยังพบว่าธนาคารพาณิชย์ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ขึ้นไปก่อนที่ ธปท.จะขึ้นดอกเบี้ยนโยบายเสียด้วยซ้ำ ซึ่งหน่วยงานเศรษฐกิจหลายแห่งต่างคาดการณ์กันว่า สำหรับวัฏจักรเศรษฐกิจในรอบนี้เราคงได้เห็นอัตราดอกเบี้ยในประเทศเริ่มปรับตัวขึ้นประมาณไตรมาสที่ 2/2551 โดยคาดการณ์ว่าในปีหน้าดอกเบี้ยนโยบายอาจจะปรับขึ้นประมาณ 0.5% ทำให้อัตราดอกเบี้ยนโยบายน่าจะอยู่ที่ระดับ 3.75% ต่อปี ขณะที่อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ของธนาคารพาณิชย์ก็คงจะปรับขึ้นไม่ต่ำไปกว่าดอกเบี้ยนโยบาย ซึ่งปัจจุบันอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลอยตัวแบบมีระยะเวลาที่คิดกับลูกค้าชั้นดี (MLR) ของธนาคารพาณิชย์เฉลี่ยที่ประมาณ 6.8750% เพราะฉะนั้นในปีหน้าคนที่มีภาระผ่อนบ้านอยู่แล้วต้องลำบากขึ้น หรือคนที่คิดจะซื้อบ้าน ซื้อรถ สินค้าคงทนต่างๆ ก็ต้องคิดหน้าคิดหลังว่าจะสามารถแบกภาระของดอกเบี้ยที่แพงขึ้นได้หรือไม่ โดยเฉพาะในภาวะที่ดอกเบี้ยปรับขึ้นในช่วงเศรษฐกิจซบเซาแบบนี้
- คนไทยอาจเสียภาษีเพิ่ม
ปีงบประมาณ 2550 (ต.ค.2549-ก.ย.2550) อาจจะเป็นปีที่ผลการจัดเก็บรายได้ของรัฐบาลบรรลุผลเกินเป้าหมายที่ตั้งไว้ สามารถจัดเก็บได้ถึง 1,445,600 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการถึง 25,600 ล้านบาท และสูงกว่าปีงบประมาณ 2549 จำนวนถึง 105,912 ล้านบาท เป็นผลทำให้ฐานะเงินคงคลังของประเทศ ณ สิ้นปีงบประมาณ 2550 มีทั้งสิ้น 132,138 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนประมาณ 2,803 ล้านบาท จึงกล่าวได้ว่าฐานะเงินคงคลังของประเทศยังมีความมั่นคงอยู่มากแต่ปี 2551 สถานการณ์อาจจะไม่เหมือนเดิม เพราะเท่าที่ติดตามข้อมูลนโยบายด้านเศรษฐกิจต่างๆ ของพรรคการเมืองมารวบรวมและวิเคราะห์ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อฐานะการคลัง ล้วนแต่มีนโยบายด้านรายจ่ายต่างๆ จำนวนมาก ซึ่งอาจจะกระทบต่อเสถียรภาพทางการคลังได้ หากไม่มีแนวทางแสวงหารายได้เพิ่มที่ชัดเจนอย่างไรก็ตาม ปัจจุบันโครงสร้างภาษีทั้งระบบนั้น ภาษีตัวสำคัญที่สุด คือ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งมีสัดส่วนสูงถึง 26.5% ของรายได้รวม ซึ่งจะคงอยู่ที่ระดับ 7% จนถึงสิ้นเดือนกันยายนนี้ ซึ่งกระทรวงการคลังได้มีการศึกษาถึงผลกระทบของการเพิ่มขึ้นหรือลดลงไว้ว่าหากปรับขึ้น หรือลด 1% จะมีผลต่อรายได้ประมาณ 4 หมื่นล้านบาท ซึ่งรัฐบาลชุดใหม่มีเวลาที่จะตัดสินใจ โดยทางเลือกมีไม่มาก มีแค่ขึ้นเป็น 10% แล้วได้เม็ดเงินทันที 1.2 แสนล้านบาท แต่จะช็อคกำลังซื้อประชาชนที่ได้รับแรงกดดันจากเงินเฟ้ออยู่แล้ว หรือจะทยอยขึ้นปีละ 1% จะทำให้ได้รายได้เข้ามาปีละ 4 หมื่นล้าน แต่ยอมมีรายได้ไม่สูงมากนักขณะที่ภาษีสรรพสามิตซึ่งมีสัดส่วน 18.9% ของรายได้รวมนั้น ยังมีช่องว่างที่จะสามารถดำเนินการจัดเก็บรายได้เพิ่มเติมได้อีก โดยอาจจะขยายฐานการจัดเก็บไปยังสินค้าและบริการอื่นๆ รวมถึงการจัดเก็บภาษีตัวใหม่ๆ เช่น ภาษีสิ่งแวดล้อม ภาษีมรดก และภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ซึ่งกระทรวงการคลังได้เตรียมศึกษาประกอบการตัดสินใจของรัฐบาลชุดหน้าไว้แล้วจึงนับว่าเป็นงานหินที่รัฐบาลจะต้องเข้ามาแกะรอยงบประมาณ และบริหารฐานะการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ เพราะหากได้รัฐบาลที่ไม่มีความสามารถเพียงพอ สุดท้ายกรรมคงมาตกที่กระเป๋าประชาชนผ่านการเก็บภาษีไม่ทางตรงก็ทางอ้อมอย่างแน่นอนทั้งหมดที่เอ่ยมา ล้วนเป็นปัญหาที่ผู้บริโภคต้องประสบในปีหนู 2551 เตรียมใจรับกันหรือยัง??
http://www.norsorpor.com/go2.php?t=mg&u ... nid%3D0103
ประเทศไทยปี 2550 ประสบปัญหาที่หนักหนาสาหัส แต่ก็ยังมีหลายคนที่บอกว่านั่นเป็นแค่เผาหลอก แต่เผาจริงคือปี 2551 ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนสามารถเตรียมตัวรับมือกับสถานการณ์ต่างๆ ได้ "มติชน" จึงได้รวบรวมสารพัดปัญหาทางเศรษฐกิจที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในปีหนูเอาไว้ว่าอะไรกำลังจะเกิดขึ้นกับเศรษฐกิจไทย
- ราคาพลังงานแพง
มีแนวโน้มชัดเจนว่า ยังอยู่ในช่วงขาขึ้น โดยเฉพาะราคาน้ำมัน หากเป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์ในปี 2551 ราคาน้ำมันจะยังคงทรงตัวระดับสูงทั้งในตลาดโลก และราคาขายปลีกในประเทศ โดยราคาน้ำมันดิบเฉลี่ยน่าจะอยู่ในระดับ 80-90 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล ขณะที่ราคาน้ำมันสำเร็จรูปทั้งเบนซิน และดีเซลในตลาดสิงคโปร์ก็คงเกินระดับ 100 เหรียญต่อบาร์เรล ส่วนราคาขายปลีกนั้น อาจจะมีช่วงขึ้นลงแตกต่างกัน แต่เฉลี่ยแล้วก็ยังแตะระดับ 30 บาทต่อลิตรอยู่ และในช่วงอันใกล้ประมาณวันที่ 2-3 มกราคมนี้ ปตท.อาจจะปรับราคาทุกชนิดขึ้นอีก 40 สตางค์ต่อลิตร หลังจากที่ยอมตรึงราคาในช่วงปีใหม่ให้แล้ว 6 วันนอกจากราคาน้ำมันแล้ว ก๊าซหุงต้ม หรือแอลพีจี ก็ต้องปรับขึ้นอีกแน่นอน หลังจากที่ได้ปรับขึ้นไปแล้ว 1.20 บาทต่อลิตร ในช่วงปลายเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา ตามสูตรราคาหน้าโรงกลั่นแบบใหม่ ที่กระทรวงพลังงานกำหนดให้สามารถอิงราคาในตลาดโลกที่สูงกว่าราคาในไทยกว่าเท่าตัวได้ โดยในช่วงไตรมาส 1 นี้สูตรใหม่กำหนดให้อิงราคาตลาดโลกได้ 5% และค่อยๆ ปรับขึ้นไปเรื่อยๆ สูงสุดให้อิงตลาดโลกได้ถึง 40% ซึ่งขณะนี้ราคาตลาดโลกอยู่ที่ระดับประมาณ 850 เหรียญสหรัฐต่อตัน ขณะที่ราคาหน้าโรงกลั่นอยู่แค่ 320 เหรียญต่อตันเท่านั้น หากในเดือนมกราคมนี้ราคาใหม่ในตลาดโลกทรงตัว หรือเพิ่มขึ้นอีก คาดว่าในช่วงไตรมาสแรกของปี ราคาขายปลีกแอลพีจีอาจจะปรับขึ้นเฉียด 1 บาทต่อกิโลกรัม และโดยรวมทั้งปีหากอิงราคาตลาดโลกถึง 40% ราคาขายปลีกอาจจะต้องปรับขึ้นอีกประมาณ 3-5 บาทต่อกิโลกรัม
- สารพัดสินค้าขึ้นราคา
ผลกระทบจากราคาน้ำมันที่เพิ่มสูงขึ้น มีสัญญาณมาตั้งแต่ปลายปี 2550 แล้วว่า สินค้าหลายรายการตั้งท่าปรับเพิ่มราคา อาทิ บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ปรับเพิ่มจากซองละ 5 บาท เป็น 6 บาท หรือเพิ่มมาอีกซองละ 1 บาท
น้ำมันพืช คาดว่าจะปรับเพิ่มขึ้นลิตรละ 4-5 บาท นมพร้อมดื่ม ราคาปรับเพิ่มขึ้นอีก 10-15% ปลากระป๋องปรับเพิ่มขึ้นอีกกระป๋องละ 2-3 บาท
และยังมีราคา หมู เนื้อ ไก่ ที่คาดว่าปรับเพิ่มขึ้นอย่างถ้วนหน้าผลสืบเนื่องมาจากวัตถุดิบอาหารสัตว์ประเภทข้าวโพด รำข้าว มันสำปะหลัง ราคาปรับเพิ่มขึ้นจากความต้องการใช้ผลิตพลังงานทดแทนประเภทเอทานอล ไบโอดีเซล
นอกจากนี้ ยังมีวัตถุดิบสินค้าเกษตรประเภท น้ำมันปาล์ม นมผง ซึ่งปรับเพิ่มขึ้นจากปัญหาภาวะโลกร้อนและส่งผลสืบเนื่องต่อน้ำนมดิบซึ่งผู้ประกอบการนมพร้อมดื่มพาสเจอไรซ์ ยูเอชที รับซื้อจากกลุ่มสหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนม ราคาปรับเพิ่มขึ้นมาถึง 2 ครั้งในรอบ ปี จาก 12.50 บาท มาเป็น 16.50 บาท หรือปรับเพิ่มขึ้นครั้งละ 2 บาทต่อกิโลกรัม ทำให้ผู้ประกอบการนมพาสเจอไรซ์ ซึ่งใช้ส่วนผสมของน้ำนมดิบ 100% ต้องขอปรับเพิ่มราคาสองครั้ง ในช่วงกลางปีและปลายปีโดยแต่ละครั้งราคาปรับเพิ่มขึ้น 10-15% ตามราคาน้ำนมดิบ
- ค่าโดยสารปรับราคา
สิ่งที่ประชาชนจะต้องเจอในปี 2551 อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ก็คือ การเพิ่มขึ้นของค่าสาธารณูปโภคต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งค่าขนส่ง เนื่องจากปัจจัยหลักที่เกี่ยวข้องกับค่าขนส่ง ก็คือ ราคาน้ำมัน ทำให้ค่าโดยสารรถประจำทาง ทั้งรถ ขสมก. รถ บ.ข.ส. รถร่วม บ.ข.ส. รถร่วม ขสมก. รถไฟ และเรือจะต้องปรับขึ้นอย่างแน่นอนโดยก่อนหน้านี้ ในส่วนของรถร่วม ขสมก.ได้มีการปรับราคาขึ้นไปก่อนแล้ว ขณะที่รถเมล์ ขสมก. บ.ข.ส. ยังไม่ปรับขึ้น แต่วันที่ 15 มกราคมนี้จะปรับขึ้นอีก 50 สตางค์อย่างแน่นอน ขณะที่เรือด่วนเจ้าพระยา เรือคลองแสนแสบ ก็จะปรับราคาด้วยเช่นกันนอกจากนี้ ในส่วนของค่าผ่านทางพิเศษจะมีการปรับราคาเพิ่มขึ้นอีก โดยทางด่วนดอนเมือง โทลล์เวย์ จะปรับขึ้นเป็น 55 บาท ตลอดเส้นทางในเดือนมกราคม 2551 ขณะที่ทางด่วนขั้นที่ 1 และ 2 จะมีการพิจารณาปรับขึ้นประมาณเดือนมีนาคม 2551 ซึ่งยังไม่รวมถึงค่ารถไฟที่ขณะนี้ยังอั้นราคาอยู่อย่างเต็มที่ เพราะฉะนั้นปี 2551 ประชาชนผู้ใช้บริการ คงจะต้องรัดเข็มขัดให้แน่นเข้าไปอีก
- ดอกเบี้ยขาขึ้น
ราคาสินค้าและค่าบริการที่ปรับขึ้นจากผลพวงน้ำมันแพงนั้น ย่อมต้องสร้างแรงกดดันต่ออัตราเงินเฟ้อ ซึ่งหนีไม่พ้นที่ ธปท.จะต้องปรับขึ้นดอกเบี้ยสกัดไม่ให้เงินเฟ้อเร่งตัวมากจนเกินไป และแน่นอนว่าเมื่อใดก็ตามที่อยู่ในทิศทางดอกเบี้ยขาขึ้น การส่งผ่านดอกเบี้ยนโยบายไปยังอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่ธนาคารพาณิชย์เรียกเก็บจากลูกค้ามักจะปรับขึ้นรวดเร็วกว่าในช่วงดอกเบี้ยขาลงอย่างมาก หรือหลายครั้งยังพบว่าธนาคารพาณิชย์ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ขึ้นไปก่อนที่ ธปท.จะขึ้นดอกเบี้ยนโยบายเสียด้วยซ้ำ ซึ่งหน่วยงานเศรษฐกิจหลายแห่งต่างคาดการณ์กันว่า สำหรับวัฏจักรเศรษฐกิจในรอบนี้เราคงได้เห็นอัตราดอกเบี้ยในประเทศเริ่มปรับตัวขึ้นประมาณไตรมาสที่ 2/2551 โดยคาดการณ์ว่าในปีหน้าดอกเบี้ยนโยบายอาจจะปรับขึ้นประมาณ 0.5% ทำให้อัตราดอกเบี้ยนโยบายน่าจะอยู่ที่ระดับ 3.75% ต่อปี ขณะที่อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ของธนาคารพาณิชย์ก็คงจะปรับขึ้นไม่ต่ำไปกว่าดอกเบี้ยนโยบาย ซึ่งปัจจุบันอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลอยตัวแบบมีระยะเวลาที่คิดกับลูกค้าชั้นดี (MLR) ของธนาคารพาณิชย์เฉลี่ยที่ประมาณ 6.8750% เพราะฉะนั้นในปีหน้าคนที่มีภาระผ่อนบ้านอยู่แล้วต้องลำบากขึ้น หรือคนที่คิดจะซื้อบ้าน ซื้อรถ สินค้าคงทนต่างๆ ก็ต้องคิดหน้าคิดหลังว่าจะสามารถแบกภาระของดอกเบี้ยที่แพงขึ้นได้หรือไม่ โดยเฉพาะในภาวะที่ดอกเบี้ยปรับขึ้นในช่วงเศรษฐกิจซบเซาแบบนี้
- คนไทยอาจเสียภาษีเพิ่ม
ปีงบประมาณ 2550 (ต.ค.2549-ก.ย.2550) อาจจะเป็นปีที่ผลการจัดเก็บรายได้ของรัฐบาลบรรลุผลเกินเป้าหมายที่ตั้งไว้ สามารถจัดเก็บได้ถึง 1,445,600 ล้านบาท สูงกว่าประมาณการถึง 25,600 ล้านบาท และสูงกว่าปีงบประมาณ 2549 จำนวนถึง 105,912 ล้านบาท เป็นผลทำให้ฐานะเงินคงคลังของประเทศ ณ สิ้นปีงบประมาณ 2550 มีทั้งสิ้น 132,138 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนประมาณ 2,803 ล้านบาท จึงกล่าวได้ว่าฐานะเงินคงคลังของประเทศยังมีความมั่นคงอยู่มากแต่ปี 2551 สถานการณ์อาจจะไม่เหมือนเดิม เพราะเท่าที่ติดตามข้อมูลนโยบายด้านเศรษฐกิจต่างๆ ของพรรคการเมืองมารวบรวมและวิเคราะห์ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อฐานะการคลัง ล้วนแต่มีนโยบายด้านรายจ่ายต่างๆ จำนวนมาก ซึ่งอาจจะกระทบต่อเสถียรภาพทางการคลังได้ หากไม่มีแนวทางแสวงหารายได้เพิ่มที่ชัดเจนอย่างไรก็ตาม ปัจจุบันโครงสร้างภาษีทั้งระบบนั้น ภาษีตัวสำคัญที่สุด คือ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งมีสัดส่วนสูงถึง 26.5% ของรายได้รวม ซึ่งจะคงอยู่ที่ระดับ 7% จนถึงสิ้นเดือนกันยายนนี้ ซึ่งกระทรวงการคลังได้มีการศึกษาถึงผลกระทบของการเพิ่มขึ้นหรือลดลงไว้ว่าหากปรับขึ้น หรือลด 1% จะมีผลต่อรายได้ประมาณ 4 หมื่นล้านบาท ซึ่งรัฐบาลชุดใหม่มีเวลาที่จะตัดสินใจ โดยทางเลือกมีไม่มาก มีแค่ขึ้นเป็น 10% แล้วได้เม็ดเงินทันที 1.2 แสนล้านบาท แต่จะช็อคกำลังซื้อประชาชนที่ได้รับแรงกดดันจากเงินเฟ้ออยู่แล้ว หรือจะทยอยขึ้นปีละ 1% จะทำให้ได้รายได้เข้ามาปีละ 4 หมื่นล้าน แต่ยอมมีรายได้ไม่สูงมากนักขณะที่ภาษีสรรพสามิตซึ่งมีสัดส่วน 18.9% ของรายได้รวมนั้น ยังมีช่องว่างที่จะสามารถดำเนินการจัดเก็บรายได้เพิ่มเติมได้อีก โดยอาจจะขยายฐานการจัดเก็บไปยังสินค้าและบริการอื่นๆ รวมถึงการจัดเก็บภาษีตัวใหม่ๆ เช่น ภาษีสิ่งแวดล้อม ภาษีมรดก และภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ซึ่งกระทรวงการคลังได้เตรียมศึกษาประกอบการตัดสินใจของรัฐบาลชุดหน้าไว้แล้วจึงนับว่าเป็นงานหินที่รัฐบาลจะต้องเข้ามาแกะรอยงบประมาณ และบริหารฐานะการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ เพราะหากได้รัฐบาลที่ไม่มีความสามารถเพียงพอ สุดท้ายกรรมคงมาตกที่กระเป๋าประชาชนผ่านการเก็บภาษีไม่ทางตรงก็ทางอ้อมอย่างแน่นอนทั้งหมดที่เอ่ยมา ล้วนเป็นปัญหาที่ผู้บริโภคต้องประสบในปีหนู 2551 เตรียมใจรับกันหรือยัง??
http://www.norsorpor.com/go2.php?t=mg&u ... nid%3D0103
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news03/01/08
โพสต์ที่ 584
ดีบีเอสเปิดโผหุ้นเด็ด
บล.ดีบีเอส วิเคราะห์หุ้นเด่นรายกลุ่ม ใช้เป็นคู่มือตั้งรับการลงทุนปี 2551 เริ่มจากกลุ่มอสังหาริมทรัพย์ เปิดสถิติตัวเลขกำไรปีก่อน เติบโต 19% สูงสุดในตลาดหลักทรัพย์ คัดหุ้นน่าซื้อได้ 3 ทหารเสือ QH, AP และ PS พร้อมมองแนวโน้มหุ้นกลุ่มอุตสาหกรรมและก๊าซปีชวดได้เวลาเก็บเกี่ยวผลของการลงทุนที่จะเริ่มออกผลในรูปของกำลังผลิตที่เพิ่มขึ้นอย่างแข็งแกร่งในปีนี้ เชียร์เพิ่มน้ำหนักลงทุน PTT - PTTEP -PTTAR
บทวิเคราะห์บริษัทหลักทรัพย์ ดีบีเอส วิคเคอร์ส (ประเทศไทย) มองแนวโน้มธุรกิจในหมวดที่อยู่อาศัยดีขึ้นในปี 2551 จะปรับตัวดีขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา ด้วยเหตุผลความมั่นใจผู้บริโภคดีขึ้น ปัจจัยการเมืองคลี่คลายหลังการจัดตั้งรัฐบาลสำเร็จในอนาคตอันใกล้นี้ และเศรษฐกิจแข็งแกร่งขึ้น หลังการบริโภคภายในประเทศและการลงทุนเพิ่มขึ้น
จากการรวบรวมประมาณการพบสถิติที่น่าสนใจคือ อัตราการเติบโตของกำไรสุทธิในปี 2551 ของหมวดที่อยู่อาศัยเป็น 19% จากปีก่อน ซึ่งสูงสุดใน SET คือ สูงสุดเมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมอื่นๆ P/E เฉลี่ยปี 2551 ขณะนี้ซื้อขายที่ 12.60 เท่า และให้อัตราผลตอบแทนปันผลเฉลี่ยที่ 4.1% จึงคงคำแนะนำ ถ่วงน้ำหนักมากสำหรับอุตสาหกรรมนี้ Top Pick ในหมวดนี้คือ QH, AP และ PS
สำหรับ QH หนึ่งในผู้นำตลาดอสังหาริมทรัพย์ในไทย สัดส่วนรายได้ 85% มาจากการจำหน่ายที่อยู่อาศัยในระดับราคาปานกลางถึงสูง อีก 12% มาจากธุรกิจการให้เช่าที่ค่อนข้างสม่ำเสมอ และ 3% มาจากการลงทุน จุดเด่นคือ ประสบความสำเร็จขายบ้านเดี่ยวราคาปานกลางคือ คาซ่า วิลล์ อย่างมาก และมีโอกาสสูงที่จะจำหน่ายสินทรัพย์ให้กองทุนในปีนี้สำเร็จ จึงแนะนำซื้อ ราคาเป้าหมาย 2.57 บาท
ส่วน AP เป็นหนึ่งในผู้นำตลาดอสังหาริมทรัพย์ในไทย เน้นการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัย ระดับราคาปานกลางทั้ง คอนโดมิเนียม ทาวน์เฮ้าส์ และบ้านเดี่ยว จุดแข็งคือ มียอดขายรอรับรู้รายได้จำนวนมาก ทำให้การรับรู้รายได้มีเสถียรภาพ จึงแนะนำซื้อราคาเป้าหมาย 7.26 บาท
ด้านPS เป็นหนึ่งในผู้นำตลาดอสังหาริมทรัพย์ในไทย เน้นการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัย ระดับราคาปานกลางถึงล่าง ทั้ง คอนโดมิเนียม ทาวน์เฮ้าส์ และบ้านเดี่ยว จุดเด่นคือ เป็นผู้นำตลาดทาวน์เฮ้าส์ ราคาต่ำ โดยเฉพาะทาวน์เฮ้าส์บีโอไอและจะยิ่งขายดี เมื่อเศรษฐกิจฟื้น ระยะหลังประสบความสำเร็จอย่างมากในการเปิดขายคอนโดมิเนียมในเขตเมืองจึงคงแนะนำซื้อราคาเป้าหมาย 9.86 บาท
บล.ดีบีเอส ยังวิเคราะห์แนวโน้มกลุ่มอุตสาหกรรมก๊าซและน้ำมันในตลาดโลกมีแนวโน้มแข็งแกร่งในปี 2551 โดยคาดว่าราคาน้ำมันดิบ BRENT เฉลี่ยของปี 2551 จะอยู่ที่ 75 เหรียญดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้นจาก 72.50 เหรียญดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล ในปี 2550 และค่าการกลั่นสิงคโปร์ (ดูไบ) จะยังคงอยู่ในระดับสูงที่ 7.20 เหรียญดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล ซึ่งอ่อนลงเล็กน้อยจากเฉลี่ยในปี 2550 ที่ 7.70 เหรียญดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล
ส่วนบริษัทด้านก๊าซและน้ำมันหลายแห่งในไทย ได้แก่ PTTEP, PTT, TOP, PTTAR เป็นต้น มีการขยายกำลังการผลิต โดยจะแล้วเสร็จในปี25 51 ซึ่งจะได้รับผลดีจากภาวะอุตสาหกรรมที่แข็งแกร่งในปีนี้
ฝ่ายวิจัย ให้น้ำหนักการลงทุนเป็น Overweight โดยให้ PTT เป็นหุ้น Top pick แนะนำซื้อ ราคาพื้นฐาน 454 บาท เนื่องจากมีปัจจัยพื้นฐานที่แข็งแกร่ง Valuation ไม่สูง และยังแนะนำซื้อ PTTEP ราคาพื้นฐาน 168 บาท , TOP ราคาพื้นฐาน 96 บาท และ PTTAR ราคาพื้นฐาน 56 บาท เนื่องจากบริษัทเหล่านี้จะได้ประโยชน์จากการขยายกำลังการผลิต
http://www.thunhoon.com/home/
บล.ดีบีเอส วิเคราะห์หุ้นเด่นรายกลุ่ม ใช้เป็นคู่มือตั้งรับการลงทุนปี 2551 เริ่มจากกลุ่มอสังหาริมทรัพย์ เปิดสถิติตัวเลขกำไรปีก่อน เติบโต 19% สูงสุดในตลาดหลักทรัพย์ คัดหุ้นน่าซื้อได้ 3 ทหารเสือ QH, AP และ PS พร้อมมองแนวโน้มหุ้นกลุ่มอุตสาหกรรมและก๊าซปีชวดได้เวลาเก็บเกี่ยวผลของการลงทุนที่จะเริ่มออกผลในรูปของกำลังผลิตที่เพิ่มขึ้นอย่างแข็งแกร่งในปีนี้ เชียร์เพิ่มน้ำหนักลงทุน PTT - PTTEP -PTTAR
บทวิเคราะห์บริษัทหลักทรัพย์ ดีบีเอส วิคเคอร์ส (ประเทศไทย) มองแนวโน้มธุรกิจในหมวดที่อยู่อาศัยดีขึ้นในปี 2551 จะปรับตัวดีขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา ด้วยเหตุผลความมั่นใจผู้บริโภคดีขึ้น ปัจจัยการเมืองคลี่คลายหลังการจัดตั้งรัฐบาลสำเร็จในอนาคตอันใกล้นี้ และเศรษฐกิจแข็งแกร่งขึ้น หลังการบริโภคภายในประเทศและการลงทุนเพิ่มขึ้น
จากการรวบรวมประมาณการพบสถิติที่น่าสนใจคือ อัตราการเติบโตของกำไรสุทธิในปี 2551 ของหมวดที่อยู่อาศัยเป็น 19% จากปีก่อน ซึ่งสูงสุดใน SET คือ สูงสุดเมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมอื่นๆ P/E เฉลี่ยปี 2551 ขณะนี้ซื้อขายที่ 12.60 เท่า และให้อัตราผลตอบแทนปันผลเฉลี่ยที่ 4.1% จึงคงคำแนะนำ ถ่วงน้ำหนักมากสำหรับอุตสาหกรรมนี้ Top Pick ในหมวดนี้คือ QH, AP และ PS
สำหรับ QH หนึ่งในผู้นำตลาดอสังหาริมทรัพย์ในไทย สัดส่วนรายได้ 85% มาจากการจำหน่ายที่อยู่อาศัยในระดับราคาปานกลางถึงสูง อีก 12% มาจากธุรกิจการให้เช่าที่ค่อนข้างสม่ำเสมอ และ 3% มาจากการลงทุน จุดเด่นคือ ประสบความสำเร็จขายบ้านเดี่ยวราคาปานกลางคือ คาซ่า วิลล์ อย่างมาก และมีโอกาสสูงที่จะจำหน่ายสินทรัพย์ให้กองทุนในปีนี้สำเร็จ จึงแนะนำซื้อ ราคาเป้าหมาย 2.57 บาท
ส่วน AP เป็นหนึ่งในผู้นำตลาดอสังหาริมทรัพย์ในไทย เน้นการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัย ระดับราคาปานกลางทั้ง คอนโดมิเนียม ทาวน์เฮ้าส์ และบ้านเดี่ยว จุดแข็งคือ มียอดขายรอรับรู้รายได้จำนวนมาก ทำให้การรับรู้รายได้มีเสถียรภาพ จึงแนะนำซื้อราคาเป้าหมาย 7.26 บาท
ด้านPS เป็นหนึ่งในผู้นำตลาดอสังหาริมทรัพย์ในไทย เน้นการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัย ระดับราคาปานกลางถึงล่าง ทั้ง คอนโดมิเนียม ทาวน์เฮ้าส์ และบ้านเดี่ยว จุดเด่นคือ เป็นผู้นำตลาดทาวน์เฮ้าส์ ราคาต่ำ โดยเฉพาะทาวน์เฮ้าส์บีโอไอและจะยิ่งขายดี เมื่อเศรษฐกิจฟื้น ระยะหลังประสบความสำเร็จอย่างมากในการเปิดขายคอนโดมิเนียมในเขตเมืองจึงคงแนะนำซื้อราคาเป้าหมาย 9.86 บาท
บล.ดีบีเอส ยังวิเคราะห์แนวโน้มกลุ่มอุตสาหกรรมก๊าซและน้ำมันในตลาดโลกมีแนวโน้มแข็งแกร่งในปี 2551 โดยคาดว่าราคาน้ำมันดิบ BRENT เฉลี่ยของปี 2551 จะอยู่ที่ 75 เหรียญดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้นจาก 72.50 เหรียญดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล ในปี 2550 และค่าการกลั่นสิงคโปร์ (ดูไบ) จะยังคงอยู่ในระดับสูงที่ 7.20 เหรียญดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล ซึ่งอ่อนลงเล็กน้อยจากเฉลี่ยในปี 2550 ที่ 7.70 เหรียญดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล
ส่วนบริษัทด้านก๊าซและน้ำมันหลายแห่งในไทย ได้แก่ PTTEP, PTT, TOP, PTTAR เป็นต้น มีการขยายกำลังการผลิต โดยจะแล้วเสร็จในปี25 51 ซึ่งจะได้รับผลดีจากภาวะอุตสาหกรรมที่แข็งแกร่งในปีนี้
ฝ่ายวิจัย ให้น้ำหนักการลงทุนเป็น Overweight โดยให้ PTT เป็นหุ้น Top pick แนะนำซื้อ ราคาพื้นฐาน 454 บาท เนื่องจากมีปัจจัยพื้นฐานที่แข็งแกร่ง Valuation ไม่สูง และยังแนะนำซื้อ PTTEP ราคาพื้นฐาน 168 บาท , TOP ราคาพื้นฐาน 96 บาท และ PTTAR ราคาพื้นฐาน 56 บาท เนื่องจากบริษัทเหล่านี้จะได้ประโยชน์จากการขยายกำลังการผลิต
http://www.thunhoon.com/home/
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news03/01/08
โพสต์ที่ 585
อ้อนมะกันขอคืนจีเอสพี3สินค้า
โพสต์ทูเดย์ พาณิชย์ เตรียมส่ง ทีวีสี-ลิ้นจี่ และลำไยกระป๋อง ขอคืนสิทธิจีเอสพีจากสหรัฐอีก ครั้งเดือน ก.พ.นี้
นางอัญชนา วิทยาธรรมธัช รองอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ กล่าวว่า ขณะนี้กรมอยู่ระหว่างการเตรียมข้อมูลรายการสินค้าไทย ที่ถูกสหรัฐตัดสิทธิพิเศษ ทางภาษีศุลกากร (จีเอสพี) เพื่อยื่น ขอทบทวนสิทธิจีเอสพี กรณีปกติ (Re designation) ประจำปี 2551 ที่จะเปิดทบทวนในเดือน ก.พ.นี้ เบื้องต้นมีสินค้าที่ไทยจะยื่นขอสิทธิแน่นอนแล้ว 1 รายการ คือ เครื่องรับโทรทัศน์สี ซึ่งถูกสหรัฐ ตัดจีเอสพีเมื่อปี 2549 ทำให้ต้องเสียอัตราภาษีนำเข้า 3.9%
นอกจากนี้ ยังมีสินค้าที่สามารถยื่นขอทบทวนจีเอสพี เพราะส่งออกในมูลค่าต่ำกว่าเพดาน (De minimis) ที่สหรัฐกำหนดไว้ 18 ล้านเหรียญสหรัฐ และส่วนแบ่งการตลาดจะต้อง ไม่เกิน 50% เบื้องต้นมีสินค้าไทยที่เข้าตามหลักเกณฑ์นี้ ได้แก่ ลิ้นจี่และลำไยกระป๋อง ซึ่งถูกตัดสิทธิ ไปตั้งแต่เดือน ก.ค. ปี 2549 ทำให้เสียภาษีนำเข้า 7%
เหตุผลที่ขอให้สหรัฐทบทวนสิทธิ เราต้องชี้แจงว่าสินค้าที่ถูกตัดสิทธิส่งผลกระทบต่อขีดความสามารถการแข่งขันของไทย จน ไม่สามารถแข่งกับประเทศอื่นๆ ได้ คาดว่าจะใช้เวลา 1 เดือนก็จะทราบผล ซึ่งการขอคืนสิทธิกรณีปกติจะได้รับการต่อจีเอสพีปีต่อปีเท่านั้น นางอัญชนา กล่าว
แหล่งข่าวจากกระทรวงพาณิชย์เปิดเผยว่า ก่อนหน้านี้ กรมได้ยื่นขอคืนสิทธิจีเอสพีให้กับสินค้า 6 รายการ ได้แก่ บรรจุภัณฑ์พลาสติก ของใช้บนโต๊ะอาหาร ทำจากอะลูมิเนียม เม็ดพลาสติก โพลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต ลิ้นจี่ ลำไยกระป๋อง เครื่องรับโทรทัศน์สีพร้อมเครื่องเล่นวิดีโอ และไมโครเวฟ ซึ่งเป็นการยื่นขอผ่อนผันไม่ตัดสิทธิกรณีที่ส่งออกเกินเพดาน (Competitive Need Limit) เมื่อปลายเดือน พ.ย. 2550 แต่สหรัฐแจ้งว่าไม่สามารถคืนสิทธิให้ไทยได้ เพราะเป็นรายการที่ถูกตัดสิทธิไปแล้ว และให้ไทยยื่นรายการสินค้าเข้ามาใหม่ในรอบการทบทวนปกติช่วงเดือน ก.พ.
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=212377
โพสต์ทูเดย์ พาณิชย์ เตรียมส่ง ทีวีสี-ลิ้นจี่ และลำไยกระป๋อง ขอคืนสิทธิจีเอสพีจากสหรัฐอีก ครั้งเดือน ก.พ.นี้
นางอัญชนา วิทยาธรรมธัช รองอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ กล่าวว่า ขณะนี้กรมอยู่ระหว่างการเตรียมข้อมูลรายการสินค้าไทย ที่ถูกสหรัฐตัดสิทธิพิเศษ ทางภาษีศุลกากร (จีเอสพี) เพื่อยื่น ขอทบทวนสิทธิจีเอสพี กรณีปกติ (Re designation) ประจำปี 2551 ที่จะเปิดทบทวนในเดือน ก.พ.นี้ เบื้องต้นมีสินค้าที่ไทยจะยื่นขอสิทธิแน่นอนแล้ว 1 รายการ คือ เครื่องรับโทรทัศน์สี ซึ่งถูกสหรัฐ ตัดจีเอสพีเมื่อปี 2549 ทำให้ต้องเสียอัตราภาษีนำเข้า 3.9%
นอกจากนี้ ยังมีสินค้าที่สามารถยื่นขอทบทวนจีเอสพี เพราะส่งออกในมูลค่าต่ำกว่าเพดาน (De minimis) ที่สหรัฐกำหนดไว้ 18 ล้านเหรียญสหรัฐ และส่วนแบ่งการตลาดจะต้อง ไม่เกิน 50% เบื้องต้นมีสินค้าไทยที่เข้าตามหลักเกณฑ์นี้ ได้แก่ ลิ้นจี่และลำไยกระป๋อง ซึ่งถูกตัดสิทธิ ไปตั้งแต่เดือน ก.ค. ปี 2549 ทำให้เสียภาษีนำเข้า 7%
เหตุผลที่ขอให้สหรัฐทบทวนสิทธิ เราต้องชี้แจงว่าสินค้าที่ถูกตัดสิทธิส่งผลกระทบต่อขีดความสามารถการแข่งขันของไทย จน ไม่สามารถแข่งกับประเทศอื่นๆ ได้ คาดว่าจะใช้เวลา 1 เดือนก็จะทราบผล ซึ่งการขอคืนสิทธิกรณีปกติจะได้รับการต่อจีเอสพีปีต่อปีเท่านั้น นางอัญชนา กล่าว
แหล่งข่าวจากกระทรวงพาณิชย์เปิดเผยว่า ก่อนหน้านี้ กรมได้ยื่นขอคืนสิทธิจีเอสพีให้กับสินค้า 6 รายการ ได้แก่ บรรจุภัณฑ์พลาสติก ของใช้บนโต๊ะอาหาร ทำจากอะลูมิเนียม เม็ดพลาสติก โพลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต ลิ้นจี่ ลำไยกระป๋อง เครื่องรับโทรทัศน์สีพร้อมเครื่องเล่นวิดีโอ และไมโครเวฟ ซึ่งเป็นการยื่นขอผ่อนผันไม่ตัดสิทธิกรณีที่ส่งออกเกินเพดาน (Competitive Need Limit) เมื่อปลายเดือน พ.ย. 2550 แต่สหรัฐแจ้งว่าไม่สามารถคืนสิทธิให้ไทยได้ เพราะเป็นรายการที่ถูกตัดสิทธิไปแล้ว และให้ไทยยื่นรายการสินค้าเข้ามาใหม่ในรอบการทบทวนปกติช่วงเดือน ก.พ.
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=212377
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news03/01/08
โพสต์ที่ 586
เงินเฟ้อปีหนูต่ำเป้าขึ้น 2.3% คุมเข้มสินค้าปั่นป่วนราคา
โดย ผู้จัดการออนไลน์ 3 มกราคม 2551 07:21 น.
เงินเฟ้อ ธ.ค.พุ่งปรี๊ด 3.2% สูงสุดในรอบปี แต่เฉลี่ยทั้งปี 2.3% ต่ำกว่าเป้าที่ตั้งไว้ พาณิชย์"เป็นปลื้มมาตรการบริหารจัดการราคาสินค้าได้ผล ทำให้คุมเงินเฟ้อได้อยู่หมัด ส่วนเงินเฟ้อปีนี้ตั้งเป้าเพิ่ม 3-3.5% หลังสินค้าจ่อคิวขยับราคา ศิริพลสั่งกรมการค้าภายในเพิ่มมาตรการช่วยค่าครองชีพผู้บริโภค ขู่ใครทำสินค้าปั่นป่วนจับยัดบัญชีควบคุมทันที
นายศิริพล ยอดเมืองเจริญ ปลัดกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไป (เงินเฟ้อ) ประจำเดือนธ.ค.2550 เมื่อเทียบกับเดือนพ.ย.ที่ผ่านมา สูงขึ้น 0.1% เทียบกับเดือนธ.ค.2549 สูงขึ้น 3.2% เป็นอัตราที่สูงที่สุดในรอบปี2550 และเทียบเฉลี่ยทั้งปี 2550 กับปี2549 สูงขึ้น 2.3% ต่ำกว่าเป้าหมายที่กระทรวงพาณิชย์ตั้งไว้ว่าอัตราเฉลี่ยทั้งปีจะอยู่ที่ 2-2.5%
ทั้งนี้ เงินเฟ้อทั้งปีที่สูงขึ้น 2.3% นั้น เป็นอัตราที่ชะลอตัวลงเมื่อเทียบกับปี 2549 ที่เงินเฟ้อทั้งปีสูงถึง 4.7% เนื่องจากในช่วง 9 เดือนแรกราคาเฉลี่ยน้ำมันในประเทศมีแนวโน้มลดลง และเริ่มสูงขึ้นในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปีตามภาวะราคาตลาดโลก ที่ส่งผลให้มีการปรับค่าโดยสารสาธารณะ สินค้าต่างๆ มีต้นทุนการผลิตสูงขึ้น และยังมีการปรับภาษีสรรพสามิตบุหรี่และสุราสูงขึ้น ทำให้ดัชนีหมวดอื่นๆ ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่มสูงขึ้น 1.2% ถึงแม้ค่าไฟฟ้าจะปรับลดลงก็ตาม
ส่วนดัชนีหมวดอาหารและเครื่องดื่มในรอบปีสูงขึ้นค่อนข้างมาก 4% จากการสูงขึ้นของสินค้าในกลุ่มใช้ประกอบอาหารในช่วงครึ่งปีหลัง เช่น น้ำมันพืช น้ำปลา กาแฟ ถึงแม้กลุ่มอาหารสด โดยเฉพาะผักและผลไม้ราคาจะมีแนวโน้มลดลง แต่ถ้าเทียบกับปีที่ผ่านมา ดัชนียังคงสูงขึ้นถึง 11.9%
ผลจากการชะลอตัวของราคาสินค้าในช่วงครึ่งแรกของปี ประกอบกับการบริหารจัดการด้านราคาของกระทรวงพาณิชย์ที่ได้ผล ทำให้แรงกดดันต่อเงินเฟ้อในปี 2550 อ่อนตัวลงกว่าปีที่ผ่านมา และอยู่ในกรอบที่กระทรวงพาณิชย์ตั้งไว้นายศิริพลกล่าว
ส่วนเงินเฟ้อพื้นฐานของประเทศ ที่หักรายการสินค้ากลุ่มอาหาร และกลุ่มพลังงาน คิดเป็น 24% ของสัดส่วนค่าใช้จ่ายทั้งหมดออก เมื่อเทียบกับเดือนพ.ย.2550 สูงขึ้น 0.1% เทียบกับเดือนธ.ค.2549 สูงขึ้น 1.2% และเฉลี่ยทั้งปี 2550 สูงขึ้น 1.1%
นายศิริพลกล่าวว่า สำหรับเงินเฟ้อในปี 2551 กระทรวงพาณิชย์คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา โดยอยู่ในระดับ 3-3.5% ภายใต้สมมติฐานราคาน้ำมันดิบดูไบ 80-85 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล อัตราแลกเปลี่ยน 33-33.5 บาทต่อเหรียญสหรัฐ อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ 4-5% โดยมั่นใจว่ากระทรวงพาณิชย์จะดูแลอัตราเงินเฟ้อให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ได้ แม้ว่าในปีนี้จะมีแรงกดดันจากการปรับขึ้นราคาสินค้าหลายๆ รายการก็ตาม
การที่สินค้าจะปรับขึ้นราคาช่วงปีใหม่ แน่นอนว่าจะมีผลกระทบต่อภาวะเงินเฟ้อ แต่การประเมินเงินเฟ้อไม่ใช่ดูแค่สินค้ารายการใดรายการหนึ่ง ต้องดูภาพรวมสินค้าทั้งหมด ซึ่งมีทั้งปรับขึ้น และลดลง ดังนั้น จึงมั่นใจว่าคุมเงินเฟ้อได้ตามเป้าหมายแน่นายศิริพลกล่าว
นายศิริพลกล่าวว่า ในการดูแลค่าครองชีพของประชาชนในปีนี้ ได้สั่งการให้กรมการค้าภายในเพิ่มมาตรการที่ดำเนินการอยู่แล้วให้เข้มข้นมากขึ้น ทั้งการดูแลภาวะราคาสินค้า โครงการธงฟ้า และโครงการอิ่มทั่วฟ้าราคาประหยัด
ขณะเดียวกัน อยากจะขอเตือนผู้ประกอบการอย่าปรับขึ้นราคาสินค้าโดยคำนึงถึงแค่ตัวเอง ขอให้ดูผลกระทบต่อผู้ประกอบการหรือผู้ใช้สินค้าในขั้นถัดไปด้วยว่าได้รับผลกระทบหรือไม่ โดยหากพบเห็นการปรับขึ้นราคาแบบไม่มีเหตุอันควร ขอให้กรมการค้าภายในดำเนินการตามกฎหมายที่มีอยู่ รวมทั้งให้พิจารณานำเข้าเป็นสินค้าควบคุม ส่วนผู้บริโภคหากพบเห็นภาวะราคาสินค้าผิดปกติให้แจ้งสายด่วนแม่บ้าน 1569 กระทรวงพาณิชย์จะรีบเข้าไปดูแลทันที
http://www.manager.co.th/Business/ViewN ... 0000000362
โดย ผู้จัดการออนไลน์ 3 มกราคม 2551 07:21 น.
เงินเฟ้อ ธ.ค.พุ่งปรี๊ด 3.2% สูงสุดในรอบปี แต่เฉลี่ยทั้งปี 2.3% ต่ำกว่าเป้าที่ตั้งไว้ พาณิชย์"เป็นปลื้มมาตรการบริหารจัดการราคาสินค้าได้ผล ทำให้คุมเงินเฟ้อได้อยู่หมัด ส่วนเงินเฟ้อปีนี้ตั้งเป้าเพิ่ม 3-3.5% หลังสินค้าจ่อคิวขยับราคา ศิริพลสั่งกรมการค้าภายในเพิ่มมาตรการช่วยค่าครองชีพผู้บริโภค ขู่ใครทำสินค้าปั่นป่วนจับยัดบัญชีควบคุมทันที
นายศิริพล ยอดเมืองเจริญ ปลัดกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไป (เงินเฟ้อ) ประจำเดือนธ.ค.2550 เมื่อเทียบกับเดือนพ.ย.ที่ผ่านมา สูงขึ้น 0.1% เทียบกับเดือนธ.ค.2549 สูงขึ้น 3.2% เป็นอัตราที่สูงที่สุดในรอบปี2550 และเทียบเฉลี่ยทั้งปี 2550 กับปี2549 สูงขึ้น 2.3% ต่ำกว่าเป้าหมายที่กระทรวงพาณิชย์ตั้งไว้ว่าอัตราเฉลี่ยทั้งปีจะอยู่ที่ 2-2.5%
ทั้งนี้ เงินเฟ้อทั้งปีที่สูงขึ้น 2.3% นั้น เป็นอัตราที่ชะลอตัวลงเมื่อเทียบกับปี 2549 ที่เงินเฟ้อทั้งปีสูงถึง 4.7% เนื่องจากในช่วง 9 เดือนแรกราคาเฉลี่ยน้ำมันในประเทศมีแนวโน้มลดลง และเริ่มสูงขึ้นในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปีตามภาวะราคาตลาดโลก ที่ส่งผลให้มีการปรับค่าโดยสารสาธารณะ สินค้าต่างๆ มีต้นทุนการผลิตสูงขึ้น และยังมีการปรับภาษีสรรพสามิตบุหรี่และสุราสูงขึ้น ทำให้ดัชนีหมวดอื่นๆ ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่มสูงขึ้น 1.2% ถึงแม้ค่าไฟฟ้าจะปรับลดลงก็ตาม
ส่วนดัชนีหมวดอาหารและเครื่องดื่มในรอบปีสูงขึ้นค่อนข้างมาก 4% จากการสูงขึ้นของสินค้าในกลุ่มใช้ประกอบอาหารในช่วงครึ่งปีหลัง เช่น น้ำมันพืช น้ำปลา กาแฟ ถึงแม้กลุ่มอาหารสด โดยเฉพาะผักและผลไม้ราคาจะมีแนวโน้มลดลง แต่ถ้าเทียบกับปีที่ผ่านมา ดัชนียังคงสูงขึ้นถึง 11.9%
ผลจากการชะลอตัวของราคาสินค้าในช่วงครึ่งแรกของปี ประกอบกับการบริหารจัดการด้านราคาของกระทรวงพาณิชย์ที่ได้ผล ทำให้แรงกดดันต่อเงินเฟ้อในปี 2550 อ่อนตัวลงกว่าปีที่ผ่านมา และอยู่ในกรอบที่กระทรวงพาณิชย์ตั้งไว้นายศิริพลกล่าว
ส่วนเงินเฟ้อพื้นฐานของประเทศ ที่หักรายการสินค้ากลุ่มอาหาร และกลุ่มพลังงาน คิดเป็น 24% ของสัดส่วนค่าใช้จ่ายทั้งหมดออก เมื่อเทียบกับเดือนพ.ย.2550 สูงขึ้น 0.1% เทียบกับเดือนธ.ค.2549 สูงขึ้น 1.2% และเฉลี่ยทั้งปี 2550 สูงขึ้น 1.1%
นายศิริพลกล่าวว่า สำหรับเงินเฟ้อในปี 2551 กระทรวงพาณิชย์คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา โดยอยู่ในระดับ 3-3.5% ภายใต้สมมติฐานราคาน้ำมันดิบดูไบ 80-85 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล อัตราแลกเปลี่ยน 33-33.5 บาทต่อเหรียญสหรัฐ อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ 4-5% โดยมั่นใจว่ากระทรวงพาณิชย์จะดูแลอัตราเงินเฟ้อให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ได้ แม้ว่าในปีนี้จะมีแรงกดดันจากการปรับขึ้นราคาสินค้าหลายๆ รายการก็ตาม
การที่สินค้าจะปรับขึ้นราคาช่วงปีใหม่ แน่นอนว่าจะมีผลกระทบต่อภาวะเงินเฟ้อ แต่การประเมินเงินเฟ้อไม่ใช่ดูแค่สินค้ารายการใดรายการหนึ่ง ต้องดูภาพรวมสินค้าทั้งหมด ซึ่งมีทั้งปรับขึ้น และลดลง ดังนั้น จึงมั่นใจว่าคุมเงินเฟ้อได้ตามเป้าหมายแน่นายศิริพลกล่าว
นายศิริพลกล่าวว่า ในการดูแลค่าครองชีพของประชาชนในปีนี้ ได้สั่งการให้กรมการค้าภายในเพิ่มมาตรการที่ดำเนินการอยู่แล้วให้เข้มข้นมากขึ้น ทั้งการดูแลภาวะราคาสินค้า โครงการธงฟ้า และโครงการอิ่มทั่วฟ้าราคาประหยัด
ขณะเดียวกัน อยากจะขอเตือนผู้ประกอบการอย่าปรับขึ้นราคาสินค้าโดยคำนึงถึงแค่ตัวเอง ขอให้ดูผลกระทบต่อผู้ประกอบการหรือผู้ใช้สินค้าในขั้นถัดไปด้วยว่าได้รับผลกระทบหรือไม่ โดยหากพบเห็นการปรับขึ้นราคาแบบไม่มีเหตุอันควร ขอให้กรมการค้าภายในดำเนินการตามกฎหมายที่มีอยู่ รวมทั้งให้พิจารณานำเข้าเป็นสินค้าควบคุม ส่วนผู้บริโภคหากพบเห็นภาวะราคาสินค้าผิดปกติให้แจ้งสายด่วนแม่บ้าน 1569 กระทรวงพาณิชย์จะรีบเข้าไปดูแลทันที
http://www.manager.co.th/Business/ViewN ... 0000000362
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news04/01/08
โพสต์ที่ 587
สรุปตัวเลขโรงงานปิดกิจการในปี 2550ตัวเลขการปิดกิจการของโรงงานอุตสาหกรรมปี 2550 ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม แยกตามกลุ่มอุตสาหกรรม ปรากฎว่า โรงงานที่มีการปิดกิจการมากที่สุดเป็นอันดับแรก คือ อุตสาหกรรมการผลิตยานพาหนะและอุปกรณ์ รวมทั้งการซ่อมยานพาหนะและอุปกรณ์ โดยปี 2550 มีการปิดกิจการจำนวนทั้งสิ้น 230 แห่ง เงินลงทุนรวม 5964.46 ล้านบาท ซึ่งจากการปิดกิจการของกลุ่มอุตสาหกรรมดังกล่าว ทำให้มีคนงานตกงาน 10,409 คน ลดลงเมื่อเทียบกับปี 2549 ซึ่งมีการปิดกิจการจำนวนทั้งสิ้น 247 แห่ง เงินลงทุนรวม 2665.29 ล้านบาท มีคนงานตกงาน 13,923 คน
ขณะที่อุตสาหกรรมที่มีการปิดกิจการรองลงมา คือ อุตสาหกรรมผลิตโลหะ ซึ่งปี 2550 มีโรงงานปิดกิจการจำนวนทั้งสิ้น 240 แห่ง เงินลงทุนรวม 2,178.93 ล้านบาท มีคนงานในกลุ่มอุตสาหกรรมดังกล่าวตกงานจำนวนทั้งสิ้น 9,399 คน เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2549 ซึ่งมีโรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมดังกล่าวปิดกิจการจำนวนทั้งสิ้น 227 แห่ง เงินลงทุนรวม 1,210.75 ล้านบาท มีคนงานตกงานประมาณ 13,644 คน โดยโรงงานที่แจ้งเลิกกิจการกับกรมโรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ เป็นผู้ประกอบการที่ตั้งโรงงานอยู่ในเขต กทม.
ปี 2550 ที่ผ่านมา มีโรงงานในเขต กทม.แจ้งเลิกกิจการจำนวนทั้งสิ้น 481 แห่ง ลดลง เมื่อเทียบกับปี 2549 รองลงมาคือ จ.สมุทรปราการ ซึ่งปี 2550 ที่ผ่านมา มีจำนวนโรงงานที่แจ้งปิดกิจการจำนวน 110 แห่ง เงินลงทุนรวม 6,569.92 ล้านบาท มีคนงานที่ตกงาน 6,892 คน เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี 2549 ทั้งนี้ ตลอดทั้งปี 2550 ที่ผ่านมา มีโรงงานแจ้งเลิกกิจการจำนวนทั้งหมด 4,230 แห่ง เงินลงทุนรวม 142,737.42 ล้านบาท ลดลง เมื่อเทียบกับปี 2549 ที่มีโรงงานแจ้งเลิกกิจการทั้งสิ้น 5,260 แห่ง เงินลงทุนรวม 206,052.61 ล้านบาท
ราคาทองคำในไทยพุ่งทำสถิติสูงสุดในรอบ 28 ปี
นายจิตติ ตั้งสิทธิ์ภักดี นายกสมาคมผู้ค้าทองคำ และผู้จัดการห้างทองจินฮั้วเฮง บอกว่า สถานการณ์การซื้อขายทองคำในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2551 ที่ผ่านมา ประชาชนส่วนใหญ่จะนำทองคำมาขายมากกว่าการซื้อ เนื่องจากเป็นช่วงราคาทองคำมีการปรับตัวสูงขึ้นจากปีก่อน 20-30% จากราคาบาทละกว่า 10,000 บาท เป็นบาทละกว่า 13,000 บาท โดยจำนวนผู้ขายทองในช่วงดังกล่าวสูงขึ้นกว่า 50 % ขณะที่จำนวนผู้มาซื้อทองลดลง 30-40 % เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่ รายได้จากการจำหน่ายทองไม่ได้ปรับตัวลดลง เพราะราคาจำหน่ายมีการปรับตัวสูงขึ้น
ทั้งนี้ ลูกค้าที่มาซื้อทองคำส่วนใหญ่เป็นกลุ่มโรงงานและบริษัทต่างๆ เพื่อมอบเป็นของขวัญให้กับลูกค้า ขณะที่ผู้ซื้อรายย่อยมีปริมาณลดลง จากกำลังซื้อที่ลดลงจากภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว อีกทั้งการซื้อทองในช่วงที่ผ่านมา จะเป็นการซื้อเพื่อลงทุน เนื่องจากราคาทองคำปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เมื่อเทียบกับอัตราดอกเบี้ยเบี้ยเงินฝากซึ่งอยู่ในระดับต่ำกว่า ส่งผลให้คนซื้อเพื่อลงทุนเพิ่มขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่จะซื้อในรูปแบบทองคำแท่งในสัดส่วนที่พิ่มขึ้นราว 10-20% และการซื้อทองคำรูปพรรณลดลงราว 30-40% โดยแนวโน้มดังกล่าวเกิดขึ้นในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมา และมีแนวโน้มต่อไปอีกหลายปีข้างหน้า
"ขณะนี้ราคาน้ำมันก็แพงขึ้นต่อเนื่อง และยังเกิดความวุ่นวายในประเทศปากีสถาน รวมถึงความหวั่นเกรงปัญหาการก่อการร้ายที่จะเกิดขึ้น ทำให้ราคาผัวผวนอย่างหนัก ราคาพุ่งขึ้นตั้งแต่ปลายปีที่ผ่านมา และมีแนวโน้มขึ้นต่อเนื่อง โดยคาดว่าภายในไตรมาสแรกปีนี้ราคาทองคำแท่งจะถีบตัวสูงเกินกว่า 865 เหรียญสหรัฐ/ออนซ์ หรือราคาจะเข้าใกล้บาทละ14000 บาท ซึ่งจะเป็นการทำสถิติใหม่ ราคาสูงที่สุดในรอบ 28 ปี ที่ผ่านมา แต่ราคาจะไม่ยืนอยู่นาน จะขึ้นในระยะสั้นซึ่งเกิดจากการเก็งกำไร ดังนั้นนักลงทุนที่กำลังเก็งกำไรราคาต้องต้องระวัง เพราะจะขึ้นลงเร็ว"นายจิตติกล่าว
อย่างไรก็ตาม ภาพรวมราคาทองคำในปี 2551 ยังคงปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตามภาวะราคาของตลาดโลก ซึงปัจจัยที่มีผลต่อการปรับตัวของราคาทองคำมาจากราคาน้ำมันในตลาดโลกที่ปรับตัวสูงขึ้นเกือบ 100 เหรียญสหรัฐต่อบาเรล รวมทั้งสถานการณ์การก่อการร้ายต่างๆ ซึ่งหากสามารถควบคุมเหตุการณ์ดังกล่าวได้ ก็อาจทำให้ราคาทองคำในตลาดโลกไม่ปรับตัวสูงขึ้นมากนัก และอาจทำให้ราคาขายทองคำในประเทศไทยลดลงเล็กน้อย ส่วนภาพรวมการซื้อขายทองคำของปี 2551 จะต้องขึ้นอยู่กับภาวะเศรษฐกิจและการเมืองด้วย
http://www.moneychannel.co.th/Menu6/Mor ... fault.aspx
ขณะที่อุตสาหกรรมที่มีการปิดกิจการรองลงมา คือ อุตสาหกรรมผลิตโลหะ ซึ่งปี 2550 มีโรงงานปิดกิจการจำนวนทั้งสิ้น 240 แห่ง เงินลงทุนรวม 2,178.93 ล้านบาท มีคนงานในกลุ่มอุตสาหกรรมดังกล่าวตกงานจำนวนทั้งสิ้น 9,399 คน เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2549 ซึ่งมีโรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมดังกล่าวปิดกิจการจำนวนทั้งสิ้น 227 แห่ง เงินลงทุนรวม 1,210.75 ล้านบาท มีคนงานตกงานประมาณ 13,644 คน โดยโรงงานที่แจ้งเลิกกิจการกับกรมโรงงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ เป็นผู้ประกอบการที่ตั้งโรงงานอยู่ในเขต กทม.
ปี 2550 ที่ผ่านมา มีโรงงานในเขต กทม.แจ้งเลิกกิจการจำนวนทั้งสิ้น 481 แห่ง ลดลง เมื่อเทียบกับปี 2549 รองลงมาคือ จ.สมุทรปราการ ซึ่งปี 2550 ที่ผ่านมา มีจำนวนโรงงานที่แจ้งปิดกิจการจำนวน 110 แห่ง เงินลงทุนรวม 6,569.92 ล้านบาท มีคนงานที่ตกงาน 6,892 คน เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี 2549 ทั้งนี้ ตลอดทั้งปี 2550 ที่ผ่านมา มีโรงงานแจ้งเลิกกิจการจำนวนทั้งหมด 4,230 แห่ง เงินลงทุนรวม 142,737.42 ล้านบาท ลดลง เมื่อเทียบกับปี 2549 ที่มีโรงงานแจ้งเลิกกิจการทั้งสิ้น 5,260 แห่ง เงินลงทุนรวม 206,052.61 ล้านบาท
ราคาทองคำในไทยพุ่งทำสถิติสูงสุดในรอบ 28 ปี
นายจิตติ ตั้งสิทธิ์ภักดี นายกสมาคมผู้ค้าทองคำ และผู้จัดการห้างทองจินฮั้วเฮง บอกว่า สถานการณ์การซื้อขายทองคำในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2551 ที่ผ่านมา ประชาชนส่วนใหญ่จะนำทองคำมาขายมากกว่าการซื้อ เนื่องจากเป็นช่วงราคาทองคำมีการปรับตัวสูงขึ้นจากปีก่อน 20-30% จากราคาบาทละกว่า 10,000 บาท เป็นบาทละกว่า 13,000 บาท โดยจำนวนผู้ขายทองในช่วงดังกล่าวสูงขึ้นกว่า 50 % ขณะที่จำนวนผู้มาซื้อทองลดลง 30-40 % เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่ รายได้จากการจำหน่ายทองไม่ได้ปรับตัวลดลง เพราะราคาจำหน่ายมีการปรับตัวสูงขึ้น
ทั้งนี้ ลูกค้าที่มาซื้อทองคำส่วนใหญ่เป็นกลุ่มโรงงานและบริษัทต่างๆ เพื่อมอบเป็นของขวัญให้กับลูกค้า ขณะที่ผู้ซื้อรายย่อยมีปริมาณลดลง จากกำลังซื้อที่ลดลงจากภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว อีกทั้งการซื้อทองในช่วงที่ผ่านมา จะเป็นการซื้อเพื่อลงทุน เนื่องจากราคาทองคำปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เมื่อเทียบกับอัตราดอกเบี้ยเบี้ยเงินฝากซึ่งอยู่ในระดับต่ำกว่า ส่งผลให้คนซื้อเพื่อลงทุนเพิ่มขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่จะซื้อในรูปแบบทองคำแท่งในสัดส่วนที่พิ่มขึ้นราว 10-20% และการซื้อทองคำรูปพรรณลดลงราว 30-40% โดยแนวโน้มดังกล่าวเกิดขึ้นในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมา และมีแนวโน้มต่อไปอีกหลายปีข้างหน้า
"ขณะนี้ราคาน้ำมันก็แพงขึ้นต่อเนื่อง และยังเกิดความวุ่นวายในประเทศปากีสถาน รวมถึงความหวั่นเกรงปัญหาการก่อการร้ายที่จะเกิดขึ้น ทำให้ราคาผัวผวนอย่างหนัก ราคาพุ่งขึ้นตั้งแต่ปลายปีที่ผ่านมา และมีแนวโน้มขึ้นต่อเนื่อง โดยคาดว่าภายในไตรมาสแรกปีนี้ราคาทองคำแท่งจะถีบตัวสูงเกินกว่า 865 เหรียญสหรัฐ/ออนซ์ หรือราคาจะเข้าใกล้บาทละ14000 บาท ซึ่งจะเป็นการทำสถิติใหม่ ราคาสูงที่สุดในรอบ 28 ปี ที่ผ่านมา แต่ราคาจะไม่ยืนอยู่นาน จะขึ้นในระยะสั้นซึ่งเกิดจากการเก็งกำไร ดังนั้นนักลงทุนที่กำลังเก็งกำไรราคาต้องต้องระวัง เพราะจะขึ้นลงเร็ว"นายจิตติกล่าว
อย่างไรก็ตาม ภาพรวมราคาทองคำในปี 2551 ยังคงปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตามภาวะราคาของตลาดโลก ซึงปัจจัยที่มีผลต่อการปรับตัวของราคาทองคำมาจากราคาน้ำมันในตลาดโลกที่ปรับตัวสูงขึ้นเกือบ 100 เหรียญสหรัฐต่อบาเรล รวมทั้งสถานการณ์การก่อการร้ายต่างๆ ซึ่งหากสามารถควบคุมเหตุการณ์ดังกล่าวได้ ก็อาจทำให้ราคาทองคำในตลาดโลกไม่ปรับตัวสูงขึ้นมากนัก และอาจทำให้ราคาขายทองคำในประเทศไทยลดลงเล็กน้อย ส่วนภาพรวมการซื้อขายทองคำของปี 2551 จะต้องขึ้นอยู่กับภาวะเศรษฐกิจและการเมืองด้วย
http://www.moneychannel.co.th/Menu6/Mor ... fault.aspx
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news07/01/08
โพสต์ที่ 588
คาดหุ้นไทยสัปดาห์หน้ารีบาวด์ หลังจากสัปดาห์นี้ทรุดตัวต่อเนื่อง 4.2% จากแรงขาย ENERGY+PETRO+BANK
--------------------------------------------------------------------------------
Posted on Friday, January 04, 2008
การขาดปัจจับยหนุนใหม่ ๆ ประกอบกับมีแรงขายทำกำไรกระจายตัวออกมาอย่างต่อเนื่อง ในหุ้นกลุ่มพลังงาน ปิโตรเคมี และธนาคารพาณิชย์ ติดต่อกันสามวันทำการ ก็มีผลให้ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ส่งท้ายสปัดาห์ ในวันนี้ ค่อย ๆ ปรับฐานลงมาเป็นลำดับ นับจากเปิดตลาดครึ่งชั่วโมงแรก ซึ่งดัชนีทะยานตัวขึ้นไปถึงระดับ 839 จุด ก่อนปรับฐานลงมาเรื่อย ๆ และปิดทำการทำจุดต่ำสุดของวัน ที่ 821.71 จุด อ่อนตัวลง 10.92 จุด หรือ 1.31% ด้วยปริมาณการซื้อขายที่หนาน่นที่สุดในสัปดาห์ 22,434 ล้านบาท เบ็ดเสร็จแล้ว สัปดาห์นี้ หุ้นไทยอ่อนตัวลงมาถึง 4.2%
สำหรับแนวโน้มตลาดหลักทรัพย์สัปดาห์หน้า นักวิเคราะห์หลายสำนัก คาดหมายคล้ายกับฝ่ายวิจัย บล.เอเชีย พลัส (ASP) ซึ่งคาดว่าภาวะการซื้อขายของตลาดหุ้นทั่วโลกจะกลับเข้าสู่สภาวะปกติ จากการเปิดซื้อขายของตลาดทุกแห่ง แต่ด้วยความกังวลต่อภาวะเศรษฐกิจของสหรัฐ และการด้อยค่าลงของดอลลาร์นั้น คาดว่า
จะส่งผลให้กระแสการลงทุน (Fund flows) ให้ความสนใจต่อการลงทุนในตลาดสินค้าโภคภัณฑ์มากกว่าตลาดหุ้น ซึ่งจะผลักดันให้ราคาน้ำมันในตลาดโลกมีแนวโน้มเป็นขาขึ้นได้อย่างต่อเนื่อง
ส่วนการปรับแข็งค่าของหยวนอย่างรวดเร็วนับแต่ปลายปี 2550 เป็นต้นมา คาดว่าจะเป็นอิทธิพลให้ค่าเงินสกุลเอเชียอื่น ๆ มีแนวโน้มแข็งค่าในทิศทางเดียวกัน รวมถึงจะเป็นแรงดึงดูดความน่าสนใจต่อการถือครองสินทรัพย์สกุลเอเชียให้เพิ่มมากขึ้น ติดตามกระแสการลงทุน (Fund flows) ที่จะเข้าสู่ตลาดหุ้นเอเชีย รวมถึงตลาดหุ้นไทย คาดว่าจะได้รับอานิสงค์เชิงบวกด้วย โดยคาดว่าจะหนุนให้มูลค่าการซื้อขายของตลาดเพิ่มขึ้นเหนือระดับ 2.5 หมื่นล้านบาทต่อวัน
สำหรับตลาดหุ้นไทยนั้น ด้วยแรงขายของนักลงทุนต่างชาติที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้การปรับตัวของดัชนีเป็นไปอยู่ในกรอบที่จำกัด อย่างไรก็ตาม แรงซื้อที่เข้าสู่หุ้นพลังงาน จะหนุนให้ SET INDEX แกว่งตัวเพื่อสร้างฐาน โดยมีกรอบแนวรับที่ระดับ 820 จุด และแนวต้าน 865 จุด
อย่างไรก็ดี หุ้นตัวเล็ก และหุ้นเก็งกำไร อย่าง IEC MLINK WIN LIVE EVER SAM PE PSAP PAE และ THL น่าจะยังคงได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง เหมือนในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา
ขณะที่บรรยากาศการลงทุนในตลาดอนุพันธ์ (TFEX) ปรับตัวแดนลบตามดัชนีตลาดหลักทรัพย์เช่นกัน
โดยราคา SET50 Index Futures ที่หมดอายุในเดือนมีนาคม ต่อเนื่องถึงเดือนมิถุนายน เดือนกันยายน เจอแรงขายกดราคาทุรดตัวหลุด 600 จุด หลังจากในช่วงแรก มีแรงซื้อหนุนราคา SET50 Index Futures ทะยานตัวขึ้นมาเหนือ 613 จุด แต่ก่อนปิดตลาด กลับมีแรงซื้อหนุนเข้ามา ดันราคาปิดให้ดีดกลับมายืนเหนือ 596 จุด ทุกสัญญา
ทั้งนี้ สัญญาที่หมดอายุในเดือนมีนาคม ปิดทำการที่ 596.70 จุด อ่อนตัวลง 14.90 จุด จากการซื้อขาย 7,609 สัญญา ส่วนสัญญาที่หมดอายุในเดือนมิถุนายน และเดือนกันยายน ปิดทำการอ่อนตัวลงมายืนใกล้เคียงกัน ที่ 597.40 จุด และ 596.00 จุด จากการซื้อขาย 162 สัญญา และ 21 สัญญา ตามลำดับ ขณะที่สัญญาหมดอายุเดือนธันวาคม ปิดที 602.50 จุด อ่อนตัวน้อยที่สุด เพียง 14.90 จุด แต่ก็มีผลจากปริมาณการซื้อขายที่บางตา แค่ 7 สัญญา
ทั้งนี้ จำนวนสัญญาคงค้างของ SET50 Index Futures ปรับตัวเพิ่มขึ้นทั้งหมด ยกเว้นสัญญาคงค้างเดือนธันวาคม นิ่งเท่าเดิมที่ 15 สัญญา สะท้อนให้เห็นว่า มีแรงซื้อมากกว่าแรงขาย โดยสัญญาคงค้างเดือนมีนาคม มีปริมาณ 14,910 สัญญา ขณะที่สัญญาคงค้างเดือนมิถุนายน และเดือนกันยายน อยู่ที่ 408 สัญญา และ 203 สัญญา ตามลำดับ
ขณะที่ SET50 Index Options ยังคงมีการซื้อขายกระจุกตัวในสัญญาหมดอายุเดือนมีนาคมเพียงเดือนเดียว ด้วยจำนวน 313 สัญญา มากที่สุดในรอบสัปดาห์แบ่งเป็น Put Options 220 สัญญา และ Call Options 93 สัญญา โดย Put Options มีการปิดสถานะที่ระดับดัชนี 580 จุดมากที่สุด ถึง 139 สัญญา รองลงไปเป็นราคาที่ระดับดัชนี 610 จุดมากที่สุด
แต่เมื่อนับรวมสัญญาคงค้าง จะพบว่า ที่ระดับดัชนี 630 จุด มากที่สุด ด้วยจำนวนสัญญาคงค้าง 37 สัญญา รองลงไปเป็นสัญญาที่ระดับดัชนี 600 จุด และ 610 จุด ด้วยจำนวนสัญญาคงค้าง 42 และ 45 สัญญา ตามลำดับ
ส่วน Call Options มีการซื้อขายที่ระดับดัชนี 620 และ 630 จุด ในจำนวนใกล้เคียงกัน และมีผลให้จำนวนสัญญาคงค้าง 42 และ 45 สัญญา ตามลำดับ
สำหรับแนวโน้มการซื้อขายใน TFEX สัปดาห์หน้า นักวิเคราะห์ส่วนใหญ่ คาดว่า ตลาดมีโอกาสปรับฐานขึ้นมายืนเหนือ 600 จุดแน่ แต่ทั้งนี้ การปรับตัวของ SET50 Index น่าจะอิงกับตลาดหุ้นภูมิภาค และการประกาศตัวเลขสำคัญทางเศรษฐกิจสหรัฐ ตลอดจนสถานการณ์ทางการเมือง
ส่วนบรรยากาศการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์เอ็มเอไอ (mai) หลังจากเปิดตลาดในแดนบวก และดัชนีไต่ระดับขึ้นไปแตะ 272 จุด เหมือนเมื่อวันพฤหัสบดี ก็เริ่มเผชิญแรงขายทำกำไร กดราคาหุ้นให้ปรับฐานลงมาเป็นลำดับ กระทั่งหลุด 270 จุด และปิดทำการแตะจุดต่ำสุดของวัน ที่ 267.35 จุด อ่อนตัวลงอีก 2.22 จุด หรือ 0.82% ด้วยปริมาณการซื้อขาย 477 ล้านบาท เบาบางลงจากเมื่อวานราว 80 ล้านบาท เบ็ดเสร็จแล้ว 3 วันทำการแรกของสัปดาห์ ดัชนีตลาด mai ทรุดตัวลงมาราว ๆ 2.0%
อย่างไรก็ตาม มีข้อน่าสังเกตว่า แรงซื้อและขายหุ้นที่หนาแน่นในรอบวันนี้ กลับกระจุกตัวในหุ้น S2Y และ CIG-W1 2 ตัวรวมกัน 172 ล้านบาท หรือประมาณ 64% ของปริมาณการซื้อขายทั้งวัน เหมือนเมื่อวาน แต่วันนี้ แรงซื้อหดหายลงไป จึงมีผลให้ราคาหุ้นทั้ง 2 ตัวนี้ ปรับอ่อนตัวลงมากว่า 4% ใกล้เคียงกัน
สำหรับแนวโน้มสัปดาห์หน้า นักวิเคราะห์ ยังเชื่อว่า ทิศทางการปรับตัวของตลาด mai น่าจะอยู่ในลักษณะแกว่งตัว (SIDEWAY) ต่อไป ตามแรงเก็งกำไรหุ้นรายตัว แต่มีความเป็นไปได้สูงที่ดัชนี จะพลิกรีบาวด์ตัวจากที่ปรับฐานลงมาตลอด 3 วันทำการแรกของสัปดาห์ โดยให้กรอบการแกว่งตัวของดัชนี ระหว่าง 260 - 275 จุด
http://www.moneychannel.co.th/BreakingN ... fault.aspx
--------------------------------------------------------------------------------
Posted on Friday, January 04, 2008
การขาดปัจจับยหนุนใหม่ ๆ ประกอบกับมีแรงขายทำกำไรกระจายตัวออกมาอย่างต่อเนื่อง ในหุ้นกลุ่มพลังงาน ปิโตรเคมี และธนาคารพาณิชย์ ติดต่อกันสามวันทำการ ก็มีผลให้ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ส่งท้ายสปัดาห์ ในวันนี้ ค่อย ๆ ปรับฐานลงมาเป็นลำดับ นับจากเปิดตลาดครึ่งชั่วโมงแรก ซึ่งดัชนีทะยานตัวขึ้นไปถึงระดับ 839 จุด ก่อนปรับฐานลงมาเรื่อย ๆ และปิดทำการทำจุดต่ำสุดของวัน ที่ 821.71 จุด อ่อนตัวลง 10.92 จุด หรือ 1.31% ด้วยปริมาณการซื้อขายที่หนาน่นที่สุดในสัปดาห์ 22,434 ล้านบาท เบ็ดเสร็จแล้ว สัปดาห์นี้ หุ้นไทยอ่อนตัวลงมาถึง 4.2%
สำหรับแนวโน้มตลาดหลักทรัพย์สัปดาห์หน้า นักวิเคราะห์หลายสำนัก คาดหมายคล้ายกับฝ่ายวิจัย บล.เอเชีย พลัส (ASP) ซึ่งคาดว่าภาวะการซื้อขายของตลาดหุ้นทั่วโลกจะกลับเข้าสู่สภาวะปกติ จากการเปิดซื้อขายของตลาดทุกแห่ง แต่ด้วยความกังวลต่อภาวะเศรษฐกิจของสหรัฐ และการด้อยค่าลงของดอลลาร์นั้น คาดว่า
จะส่งผลให้กระแสการลงทุน (Fund flows) ให้ความสนใจต่อการลงทุนในตลาดสินค้าโภคภัณฑ์มากกว่าตลาดหุ้น ซึ่งจะผลักดันให้ราคาน้ำมันในตลาดโลกมีแนวโน้มเป็นขาขึ้นได้อย่างต่อเนื่อง
ส่วนการปรับแข็งค่าของหยวนอย่างรวดเร็วนับแต่ปลายปี 2550 เป็นต้นมา คาดว่าจะเป็นอิทธิพลให้ค่าเงินสกุลเอเชียอื่น ๆ มีแนวโน้มแข็งค่าในทิศทางเดียวกัน รวมถึงจะเป็นแรงดึงดูดความน่าสนใจต่อการถือครองสินทรัพย์สกุลเอเชียให้เพิ่มมากขึ้น ติดตามกระแสการลงทุน (Fund flows) ที่จะเข้าสู่ตลาดหุ้นเอเชีย รวมถึงตลาดหุ้นไทย คาดว่าจะได้รับอานิสงค์เชิงบวกด้วย โดยคาดว่าจะหนุนให้มูลค่าการซื้อขายของตลาดเพิ่มขึ้นเหนือระดับ 2.5 หมื่นล้านบาทต่อวัน
สำหรับตลาดหุ้นไทยนั้น ด้วยแรงขายของนักลงทุนต่างชาติที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้การปรับตัวของดัชนีเป็นไปอยู่ในกรอบที่จำกัด อย่างไรก็ตาม แรงซื้อที่เข้าสู่หุ้นพลังงาน จะหนุนให้ SET INDEX แกว่งตัวเพื่อสร้างฐาน โดยมีกรอบแนวรับที่ระดับ 820 จุด และแนวต้าน 865 จุด
อย่างไรก็ดี หุ้นตัวเล็ก และหุ้นเก็งกำไร อย่าง IEC MLINK WIN LIVE EVER SAM PE PSAP PAE และ THL น่าจะยังคงได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง เหมือนในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา
ขณะที่บรรยากาศการลงทุนในตลาดอนุพันธ์ (TFEX) ปรับตัวแดนลบตามดัชนีตลาดหลักทรัพย์เช่นกัน
โดยราคา SET50 Index Futures ที่หมดอายุในเดือนมีนาคม ต่อเนื่องถึงเดือนมิถุนายน เดือนกันยายน เจอแรงขายกดราคาทุรดตัวหลุด 600 จุด หลังจากในช่วงแรก มีแรงซื้อหนุนราคา SET50 Index Futures ทะยานตัวขึ้นมาเหนือ 613 จุด แต่ก่อนปิดตลาด กลับมีแรงซื้อหนุนเข้ามา ดันราคาปิดให้ดีดกลับมายืนเหนือ 596 จุด ทุกสัญญา
ทั้งนี้ สัญญาที่หมดอายุในเดือนมีนาคม ปิดทำการที่ 596.70 จุด อ่อนตัวลง 14.90 จุด จากการซื้อขาย 7,609 สัญญา ส่วนสัญญาที่หมดอายุในเดือนมิถุนายน และเดือนกันยายน ปิดทำการอ่อนตัวลงมายืนใกล้เคียงกัน ที่ 597.40 จุด และ 596.00 จุด จากการซื้อขาย 162 สัญญา และ 21 สัญญา ตามลำดับ ขณะที่สัญญาหมดอายุเดือนธันวาคม ปิดที 602.50 จุด อ่อนตัวน้อยที่สุด เพียง 14.90 จุด แต่ก็มีผลจากปริมาณการซื้อขายที่บางตา แค่ 7 สัญญา
ทั้งนี้ จำนวนสัญญาคงค้างของ SET50 Index Futures ปรับตัวเพิ่มขึ้นทั้งหมด ยกเว้นสัญญาคงค้างเดือนธันวาคม นิ่งเท่าเดิมที่ 15 สัญญา สะท้อนให้เห็นว่า มีแรงซื้อมากกว่าแรงขาย โดยสัญญาคงค้างเดือนมีนาคม มีปริมาณ 14,910 สัญญา ขณะที่สัญญาคงค้างเดือนมิถุนายน และเดือนกันยายน อยู่ที่ 408 สัญญา และ 203 สัญญา ตามลำดับ
ขณะที่ SET50 Index Options ยังคงมีการซื้อขายกระจุกตัวในสัญญาหมดอายุเดือนมีนาคมเพียงเดือนเดียว ด้วยจำนวน 313 สัญญา มากที่สุดในรอบสัปดาห์แบ่งเป็น Put Options 220 สัญญา และ Call Options 93 สัญญา โดย Put Options มีการปิดสถานะที่ระดับดัชนี 580 จุดมากที่สุด ถึง 139 สัญญา รองลงไปเป็นราคาที่ระดับดัชนี 610 จุดมากที่สุด
แต่เมื่อนับรวมสัญญาคงค้าง จะพบว่า ที่ระดับดัชนี 630 จุด มากที่สุด ด้วยจำนวนสัญญาคงค้าง 37 สัญญา รองลงไปเป็นสัญญาที่ระดับดัชนี 600 จุด และ 610 จุด ด้วยจำนวนสัญญาคงค้าง 42 และ 45 สัญญา ตามลำดับ
ส่วน Call Options มีการซื้อขายที่ระดับดัชนี 620 และ 630 จุด ในจำนวนใกล้เคียงกัน และมีผลให้จำนวนสัญญาคงค้าง 42 และ 45 สัญญา ตามลำดับ
สำหรับแนวโน้มการซื้อขายใน TFEX สัปดาห์หน้า นักวิเคราะห์ส่วนใหญ่ คาดว่า ตลาดมีโอกาสปรับฐานขึ้นมายืนเหนือ 600 จุดแน่ แต่ทั้งนี้ การปรับตัวของ SET50 Index น่าจะอิงกับตลาดหุ้นภูมิภาค และการประกาศตัวเลขสำคัญทางเศรษฐกิจสหรัฐ ตลอดจนสถานการณ์ทางการเมือง
ส่วนบรรยากาศการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์เอ็มเอไอ (mai) หลังจากเปิดตลาดในแดนบวก และดัชนีไต่ระดับขึ้นไปแตะ 272 จุด เหมือนเมื่อวันพฤหัสบดี ก็เริ่มเผชิญแรงขายทำกำไร กดราคาหุ้นให้ปรับฐานลงมาเป็นลำดับ กระทั่งหลุด 270 จุด และปิดทำการแตะจุดต่ำสุดของวัน ที่ 267.35 จุด อ่อนตัวลงอีก 2.22 จุด หรือ 0.82% ด้วยปริมาณการซื้อขาย 477 ล้านบาท เบาบางลงจากเมื่อวานราว 80 ล้านบาท เบ็ดเสร็จแล้ว 3 วันทำการแรกของสัปดาห์ ดัชนีตลาด mai ทรุดตัวลงมาราว ๆ 2.0%
อย่างไรก็ตาม มีข้อน่าสังเกตว่า แรงซื้อและขายหุ้นที่หนาแน่นในรอบวันนี้ กลับกระจุกตัวในหุ้น S2Y และ CIG-W1 2 ตัวรวมกัน 172 ล้านบาท หรือประมาณ 64% ของปริมาณการซื้อขายทั้งวัน เหมือนเมื่อวาน แต่วันนี้ แรงซื้อหดหายลงไป จึงมีผลให้ราคาหุ้นทั้ง 2 ตัวนี้ ปรับอ่อนตัวลงมากว่า 4% ใกล้เคียงกัน
สำหรับแนวโน้มสัปดาห์หน้า นักวิเคราะห์ ยังเชื่อว่า ทิศทางการปรับตัวของตลาด mai น่าจะอยู่ในลักษณะแกว่งตัว (SIDEWAY) ต่อไป ตามแรงเก็งกำไรหุ้นรายตัว แต่มีความเป็นไปได้สูงที่ดัชนี จะพลิกรีบาวด์ตัวจากที่ปรับฐานลงมาตลอด 3 วันทำการแรกของสัปดาห์ โดยให้กรอบการแกว่งตัวของดัชนี ระหว่าง 260 - 275 จุด
http://www.moneychannel.co.th/BreakingN ... fault.aspx
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news07/01/08
โพสต์ที่ 589
3ผู้ว่าฯธปท.ฟันธงศก.ฟื้นแน่ ลุ้นดึงรมต.มืออาชีพซื้อใจนักลงทุน
เปิดมุมมอง 3 เซียนอดีตผู้ว่าการแบงก์ชาติต่อเศรษฐกิจไทยหลังเลือกตั้ง "หม่อมอุ๋ย" มั่นใจรัฐบาลใหม่ "พลังประชาชน" ปั๊มได้แน่ ผิดกับรัฐบาลเก่าเศรษฐกิจทรุด ขนาดใส่พานโครงการให้แล้วยัง ไม่ตัดสินใจ ขณะที่ "ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์" ติงระวังปัจจัยเสี่ยง ซับไพรม-น้ำมัน แนะมาตรการการคลัง 4 ข้อ กระตุ้นการลงทุน พร้อมชี้ทิศทางดอกเบี้ยต้องขึ้น คาดอย่างมาก 1% ส่วน "วิจิตร สุพินิจ" ทุบโต๊ะไม่เอานักวิชาการ รัฐมนตรีต้องทำงานเป็น กล้าตัดสินใจ และแบงก์ชาติอย่าห่วงเงินเฟ้อจนเกินเหตุ
นายชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กล่าวถึงภาพรวมเศรษฐกิจและแนวทางแก้ปัญหาสำหรับรัฐบาลใหม่ว่า ปัญหาที่น่าเป็นห่วงที่สุดคือซับไพรมในสหรัฐอเมริกาซึ่งยังไม่มีใครทราบได้ว่าความ เสียหายยังมีอีกหรือไม่ ถ้ามีอาจจะมีปัญหาเรื่องสภาพคล่องตามมา ก็จะทำให้เศรษฐกิจสหรัฐชะลอตัวลง จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกของประเทศไทย ส่วนปัจจัยเสี่ยงอีกตัวคือราคาน้ำมันที่มีแนวโน้มสูงขึ้นต่อเนื่องจากปีที่แล้ว
"ปีที่ผ่านมานั้นเศรษฐกิจไทยยังต้องเผชิญกับความไม่แน่นอนทางการเมือง ภาคเอกชนต้องป้องกันตัวเอง ไม่จับจ่ายใช้สอย ไม่ลงทุน ซึ่งคลังคาดว่าปี 2550 คงจะขยายตัว 4% แต่บังเอิญการส่งออกขยายตัวดีมากจึงทำให้เศรษฐกิจไทยในปีที่แล้วขยายตัวได้ถึง 5% ส่วนในปีนี้ยังไม่มั่นใจว่าภาคการส่งออกไทยจะขยายตัวดีเหมือนปีที่แล้วหรือไม่"
จากปัจจัยเสี่ยงข้างต้นนี้ตนจึงได้เสนอแนะรัฐบาลชุดใหม่ให้ดำเนินนโยบายการคลังอย่างบูรณาการ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจไทยให้สามารถเติบโตได้ในระดับ 5-6% ต่อปี ได้แก่ มาตรการทางด้านรายจ่าย, มาตรการทางด้านภาษี, นโยบายรัฐวิสาหกิจและการผลักดันงบฯรายจ่ายขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) โดยรัฐบาลชุดใหม่ที่เข้ามาจะต้องลงมือทำอย่างจริงจัง เพื่อเรียกความเชื่อมั่นของภาคเอกชนให้กลับมาโดยเร็ว
ในส่วนของมาตรการรายจ่าย รัฐบาลชุดใหม่ต้องจัดทำงบฯกลางปี 2551 เพิ่มเติมอีก 80,000 ล้านบาท ทำให้ดุลงบประมาณในปีนี้ขาดดุลทั้งสิ้น 245,000 ล้านบาท หรือ 2.72% ของจีดีพี งบฯกลางปีที่เพิ่มขึ้นต้องนำไปลงทุนเท่านั้น เช่น นำไปเพิ่มเติมในโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของรัฐ, พัฒนาแหล่งน้ำ, ลงทุนโลจิสติกส์และการศึกษา เป็นต้น หากเริ่มทำกันตั้งแต่ตอนนี้คาดว่าจะเข้า สู่การพิจารณาของสภาและประกาศใช้ได้ทันในไตรมาสที่ 2 ของปีนี้ หากทำได้เอกชนก็จะเกิดความเชื่อมั่นว่ารัฐบาลทำจริง
ขณะเดียวกันรัฐบาลจะต้องแสดงให้ภาคเอกชนเห็นด้วย ว่าการจัดทำงบประมาณขาดดุลติดต่อกับถึง 3 ปี จะกระทบกับกรอบความยั่งยืนทางการคลังอย่างไร และงบประมาณจะกลับมาสมดุลได้ในปี 2552 ทั้งนี้ข้อดีของการจัดทำงบฯขาดดุลเพื่อรักษาสัดส่วนงบฯลงทุนให้อยู่ในระดับ 25% ของงบประมาณรายจ่ายในแต่ละปี
ทางด้านมาตรการทางด้านภาษีจะต้องกระตุ้นทางด้านซัพพลาย เพื่อจูงใจให้ภาคเอกชนขยายการลงทุน เช่น บริษัทที่อยู่นอกตลาดหลักทรัพย์ฯ หากมีหลักฐานมาแสดงกับกรมสรรพากรว่าบริษัทมีการขยายการลงทุนเพิ่ม ให้นำรายจ่ายเพื่อการลงทุนดังกล่าวไปหักลดหย่อนภาษีได้ไม่เกิน 5%, ส่วนผู้ประกอบการ SMEs ที่มาลงทะเบียนเข้าสู่ระบบภาษีกับกรมสรรพากรจะได้รับการยกเว้นภาษีเป็นระยะเวลา 2 ปี หลังจากนั้นให้มาเสียภาษี
"บางครั้งเราไปห่วงว่ารัฐบาลอาจจะสูญเสียรายได้จากการลดภาษีซึ่งเป็นสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น แต่ก็มีความจำเป็นที่รัฐบาลจะต้องกระตุ้นภาคการลงทุนเพื่อรับมือกับปัญหาเงินเฟ้อที่อาจจะสูงถึง 4% เศรษฐกิจชะลอตัว ไม่มีใครจับจ่ายใช้สอย หรือที่เรียกว่า stagflation นโยบายดอกเบี้ยไม่ควรที่จะขึ้นแรง เพราะปัญหาไม่ได้มาจากดีมานด์ แต่มาจากต้นทุน นโยบายดอกเบี้ยไม่ควรขึ้นเกิน 1%"
ส่วนภาครัฐวิสาหกิจจะต้องเร่งรัดให้มีการเบิกจ่ายงบฯลงทุนให้มากขึ้นกว่านี้ ปัจจุบันหน่วยงานรัฐวิสาหกิจมีการเบิกจ่ายงบฯลงทุนเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจแค่ 2% ของจีดีพี โดยใช้ระบบการกำกับดูแลการเบิกจ่ายงบฯลงทุนของรัฐวิสาหกิจอย่างใกล้ชิด รวมทั้งการประเมินผลงานเพื่อพิจารณาเงินเดือน โบนัส ของรัฐวิสาหกิจนั้นๆ เป็นแรงจูงใจให้รัฐวิสาหกิจเร่งเบิกจ่ายงบฯลงทุนให้ได้มากที่สุด
สำหรับมาตรการเร่งรัดการเบิกจ่ายขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) มีงบฯลงทุน 300,000 ล้านบาท จะทำอย่างไรให้มีการเบิกจ่ายให้ได้มากที่สุดและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ปัจจุบันจะมีคณะกรรมการกระจายอำนาจการปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกรรมการ 34 คน เป็นผู้กำกับดูแลงบประมาณของ อปท. รัฐบาลกลางจะเข้าไปแทรกแซงไม่ได้ ซึ่ง อปท.บางแห่งนำงบประมาณไปใช้จ่ายอย่างไม่มีประสิทธิภาพ เป็นลักษณะ ต่างคนต่างทำ ไม่เกิดพลัง ทั้งนี้การลงทุนของ อปท.หรือรัฐบาลท้องถิ่นควรเชื่อมโยงและสอดรับกับโครงการของรัฐบาลกลาง มันถึงจะมีพลังในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ แต่ถ้าไม่มีเจ้าภาพ ดังนั้นการแก้ปัญหาประเทศในตอนนี้ ผู้นำที่จะเข้ามาจะต้องเห็นภาพใหญ่ทั้งหมดและทำจริง ความเชื่อมั่นถึงจะฟื้นกลับมา
"วิจิตร" ชี้ รมต.ใหม่ ทำงานเป็น-กล้าตัดสินใจ
นายวิจิตร สุพินิจ อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ให้ความเห็นว่า พื้นฐานเศรษฐกิจของไทยยังดีอยู่ แต่เศรษฐกิจจะขยายตัวได้ดีต่อเนื่องแค่ไหน ขอดูหน้าตาของรัฐบาลใหม่ก่อนว่าเป็นใครกันบ้าง โดยเฉพาะผู้นำในกระทรวงเศรษฐกิจที่สำคัญอย่างกระทรวงการคลังและกระทรวงพาณิชย์ จะต้องได้บุคคลที่ทำงานเป็น กล้าตัดสินใจ ถึงจะสามารถผลักดันโครงการลงทุนภาครัฐและการส่งออกให้ขยายตัวได้ต่อเนื่อง
"การนำนักวิชาการหรืออาจารย์ทั้งหลายเข้ามาทำงานในรัฐบาลชุดก่อน น่าจะเป็นประสบการณ์ที่ชี้ให้เห็นแล้วไม่สามารถบริหารเศรษฐกิจให้ขยายตัวได้ดีกว่าที่ควรจะเป็น ส่วนใหญ่ทำงานไม่เป็น ไม่เคยผ่านประสบการณ์บริหารเศรษฐกิจที่แท้จริง จึงไม่กล้าตัดสินใจ ข้าราชการซึ่งเป็นผู้ตามก็ไม่กล้าดำเนินการเช่นกัน เพราะต่างกลัวว่าจะมีความผิดด้วยกันทั้งนั้น ดังนั้นหากจะผลักดันเศรษฐกิจให้เดินหน้าต่อไปได้จะต้องมีรัฐบาลที่ทำงานเป็นและขับเคลื่อนไปพร้อมๆ กับข้าราชการประจำ เมื่อทั้งสองส่วนนี้เดินหน้า เกิดการลงทุนภาครัฐ เชื่อว่าการลงทุนภาคเอกชนก็จะตามมาเอง"
นายวิจิตรระบุว่า การขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในระดับที่เหมาะสมควรจะโตมากกว่า 5% เพราะจะได้มีรายได้เพียงพอนำมาขยายการลงทุนใหม่ๆ เพื่อให้เศรษฐกิจขับเคลื่อนและหมุนไปสู่ภาคเศรษฐกิจอื่นๆ ในระดับรากหญ้าได้ด้วย
นายวิจิตรเห็นว่านโยบายดอกเบี้ยของ ธปท. ควรเน้นกระตุ้นเศรษฐกิจมากกว่าดูแลเงินเฟ้อที่มีสาเหตุจากต้นทุนสูงตามราคาน้ำมัน ปัญหาเงินเฟ้อขณะนี้ยังไม่น่ากลัวถึงขนาดที่ต้องขึ้น ดอกเบี้ยไปควบคุม ควรให้เห็นของจริงก่อน แล้วค่อยๆ แก้ก็ทันการณ์ ขณะที่นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนควรเน้นสนับสนุนการส่งออกให้ขยายตัวได้
"ภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน การดำเนินนโยบายการคลังและการเงินจะต้องผสมผสานไปด้วยกัน โดยหัวใจของการบริหารนโยบายทั้งสองด้านนั้น สิ่งสำคัญคือต้องการคนที่ทำงานเป็น มีประสบ การณ์ทำงานที่แท้จริง ไม่ใช่นักวิชาการ หรือนักเรียนทุนที่อ่านแต่ตำราวิชาการเท่านั้น"
http://matichon.co.th/prachachat/pracha ... ionid=0201
เปิดมุมมอง 3 เซียนอดีตผู้ว่าการแบงก์ชาติต่อเศรษฐกิจไทยหลังเลือกตั้ง "หม่อมอุ๋ย" มั่นใจรัฐบาลใหม่ "พลังประชาชน" ปั๊มได้แน่ ผิดกับรัฐบาลเก่าเศรษฐกิจทรุด ขนาดใส่พานโครงการให้แล้วยัง ไม่ตัดสินใจ ขณะที่ "ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์" ติงระวังปัจจัยเสี่ยง ซับไพรม-น้ำมัน แนะมาตรการการคลัง 4 ข้อ กระตุ้นการลงทุน พร้อมชี้ทิศทางดอกเบี้ยต้องขึ้น คาดอย่างมาก 1% ส่วน "วิจิตร สุพินิจ" ทุบโต๊ะไม่เอานักวิชาการ รัฐมนตรีต้องทำงานเป็น กล้าตัดสินใจ และแบงก์ชาติอย่าห่วงเงินเฟ้อจนเกินเหตุ
นายชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กล่าวถึงภาพรวมเศรษฐกิจและแนวทางแก้ปัญหาสำหรับรัฐบาลใหม่ว่า ปัญหาที่น่าเป็นห่วงที่สุดคือซับไพรมในสหรัฐอเมริกาซึ่งยังไม่มีใครทราบได้ว่าความ เสียหายยังมีอีกหรือไม่ ถ้ามีอาจจะมีปัญหาเรื่องสภาพคล่องตามมา ก็จะทำให้เศรษฐกิจสหรัฐชะลอตัวลง จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกของประเทศไทย ส่วนปัจจัยเสี่ยงอีกตัวคือราคาน้ำมันที่มีแนวโน้มสูงขึ้นต่อเนื่องจากปีที่แล้ว
"ปีที่ผ่านมานั้นเศรษฐกิจไทยยังต้องเผชิญกับความไม่แน่นอนทางการเมือง ภาคเอกชนต้องป้องกันตัวเอง ไม่จับจ่ายใช้สอย ไม่ลงทุน ซึ่งคลังคาดว่าปี 2550 คงจะขยายตัว 4% แต่บังเอิญการส่งออกขยายตัวดีมากจึงทำให้เศรษฐกิจไทยในปีที่แล้วขยายตัวได้ถึง 5% ส่วนในปีนี้ยังไม่มั่นใจว่าภาคการส่งออกไทยจะขยายตัวดีเหมือนปีที่แล้วหรือไม่"
จากปัจจัยเสี่ยงข้างต้นนี้ตนจึงได้เสนอแนะรัฐบาลชุดใหม่ให้ดำเนินนโยบายการคลังอย่างบูรณาการ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจไทยให้สามารถเติบโตได้ในระดับ 5-6% ต่อปี ได้แก่ มาตรการทางด้านรายจ่าย, มาตรการทางด้านภาษี, นโยบายรัฐวิสาหกิจและการผลักดันงบฯรายจ่ายขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) โดยรัฐบาลชุดใหม่ที่เข้ามาจะต้องลงมือทำอย่างจริงจัง เพื่อเรียกความเชื่อมั่นของภาคเอกชนให้กลับมาโดยเร็ว
ในส่วนของมาตรการรายจ่าย รัฐบาลชุดใหม่ต้องจัดทำงบฯกลางปี 2551 เพิ่มเติมอีก 80,000 ล้านบาท ทำให้ดุลงบประมาณในปีนี้ขาดดุลทั้งสิ้น 245,000 ล้านบาท หรือ 2.72% ของจีดีพี งบฯกลางปีที่เพิ่มขึ้นต้องนำไปลงทุนเท่านั้น เช่น นำไปเพิ่มเติมในโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของรัฐ, พัฒนาแหล่งน้ำ, ลงทุนโลจิสติกส์และการศึกษา เป็นต้น หากเริ่มทำกันตั้งแต่ตอนนี้คาดว่าจะเข้า สู่การพิจารณาของสภาและประกาศใช้ได้ทันในไตรมาสที่ 2 ของปีนี้ หากทำได้เอกชนก็จะเกิดความเชื่อมั่นว่ารัฐบาลทำจริง
ขณะเดียวกันรัฐบาลจะต้องแสดงให้ภาคเอกชนเห็นด้วย ว่าการจัดทำงบประมาณขาดดุลติดต่อกับถึง 3 ปี จะกระทบกับกรอบความยั่งยืนทางการคลังอย่างไร และงบประมาณจะกลับมาสมดุลได้ในปี 2552 ทั้งนี้ข้อดีของการจัดทำงบฯขาดดุลเพื่อรักษาสัดส่วนงบฯลงทุนให้อยู่ในระดับ 25% ของงบประมาณรายจ่ายในแต่ละปี
ทางด้านมาตรการทางด้านภาษีจะต้องกระตุ้นทางด้านซัพพลาย เพื่อจูงใจให้ภาคเอกชนขยายการลงทุน เช่น บริษัทที่อยู่นอกตลาดหลักทรัพย์ฯ หากมีหลักฐานมาแสดงกับกรมสรรพากรว่าบริษัทมีการขยายการลงทุนเพิ่ม ให้นำรายจ่ายเพื่อการลงทุนดังกล่าวไปหักลดหย่อนภาษีได้ไม่เกิน 5%, ส่วนผู้ประกอบการ SMEs ที่มาลงทะเบียนเข้าสู่ระบบภาษีกับกรมสรรพากรจะได้รับการยกเว้นภาษีเป็นระยะเวลา 2 ปี หลังจากนั้นให้มาเสียภาษี
"บางครั้งเราไปห่วงว่ารัฐบาลอาจจะสูญเสียรายได้จากการลดภาษีซึ่งเป็นสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น แต่ก็มีความจำเป็นที่รัฐบาลจะต้องกระตุ้นภาคการลงทุนเพื่อรับมือกับปัญหาเงินเฟ้อที่อาจจะสูงถึง 4% เศรษฐกิจชะลอตัว ไม่มีใครจับจ่ายใช้สอย หรือที่เรียกว่า stagflation นโยบายดอกเบี้ยไม่ควรที่จะขึ้นแรง เพราะปัญหาไม่ได้มาจากดีมานด์ แต่มาจากต้นทุน นโยบายดอกเบี้ยไม่ควรขึ้นเกิน 1%"
ส่วนภาครัฐวิสาหกิจจะต้องเร่งรัดให้มีการเบิกจ่ายงบฯลงทุนให้มากขึ้นกว่านี้ ปัจจุบันหน่วยงานรัฐวิสาหกิจมีการเบิกจ่ายงบฯลงทุนเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจแค่ 2% ของจีดีพี โดยใช้ระบบการกำกับดูแลการเบิกจ่ายงบฯลงทุนของรัฐวิสาหกิจอย่างใกล้ชิด รวมทั้งการประเมินผลงานเพื่อพิจารณาเงินเดือน โบนัส ของรัฐวิสาหกิจนั้นๆ เป็นแรงจูงใจให้รัฐวิสาหกิจเร่งเบิกจ่ายงบฯลงทุนให้ได้มากที่สุด
สำหรับมาตรการเร่งรัดการเบิกจ่ายขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) มีงบฯลงทุน 300,000 ล้านบาท จะทำอย่างไรให้มีการเบิกจ่ายให้ได้มากที่สุดและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ปัจจุบันจะมีคณะกรรมการกระจายอำนาจการปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกรรมการ 34 คน เป็นผู้กำกับดูแลงบประมาณของ อปท. รัฐบาลกลางจะเข้าไปแทรกแซงไม่ได้ ซึ่ง อปท.บางแห่งนำงบประมาณไปใช้จ่ายอย่างไม่มีประสิทธิภาพ เป็นลักษณะ ต่างคนต่างทำ ไม่เกิดพลัง ทั้งนี้การลงทุนของ อปท.หรือรัฐบาลท้องถิ่นควรเชื่อมโยงและสอดรับกับโครงการของรัฐบาลกลาง มันถึงจะมีพลังในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ แต่ถ้าไม่มีเจ้าภาพ ดังนั้นการแก้ปัญหาประเทศในตอนนี้ ผู้นำที่จะเข้ามาจะต้องเห็นภาพใหญ่ทั้งหมดและทำจริง ความเชื่อมั่นถึงจะฟื้นกลับมา
"วิจิตร" ชี้ รมต.ใหม่ ทำงานเป็น-กล้าตัดสินใจ
นายวิจิตร สุพินิจ อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ให้ความเห็นว่า พื้นฐานเศรษฐกิจของไทยยังดีอยู่ แต่เศรษฐกิจจะขยายตัวได้ดีต่อเนื่องแค่ไหน ขอดูหน้าตาของรัฐบาลใหม่ก่อนว่าเป็นใครกันบ้าง โดยเฉพาะผู้นำในกระทรวงเศรษฐกิจที่สำคัญอย่างกระทรวงการคลังและกระทรวงพาณิชย์ จะต้องได้บุคคลที่ทำงานเป็น กล้าตัดสินใจ ถึงจะสามารถผลักดันโครงการลงทุนภาครัฐและการส่งออกให้ขยายตัวได้ต่อเนื่อง
"การนำนักวิชาการหรืออาจารย์ทั้งหลายเข้ามาทำงานในรัฐบาลชุดก่อน น่าจะเป็นประสบการณ์ที่ชี้ให้เห็นแล้วไม่สามารถบริหารเศรษฐกิจให้ขยายตัวได้ดีกว่าที่ควรจะเป็น ส่วนใหญ่ทำงานไม่เป็น ไม่เคยผ่านประสบการณ์บริหารเศรษฐกิจที่แท้จริง จึงไม่กล้าตัดสินใจ ข้าราชการซึ่งเป็นผู้ตามก็ไม่กล้าดำเนินการเช่นกัน เพราะต่างกลัวว่าจะมีความผิดด้วยกันทั้งนั้น ดังนั้นหากจะผลักดันเศรษฐกิจให้เดินหน้าต่อไปได้จะต้องมีรัฐบาลที่ทำงานเป็นและขับเคลื่อนไปพร้อมๆ กับข้าราชการประจำ เมื่อทั้งสองส่วนนี้เดินหน้า เกิดการลงทุนภาครัฐ เชื่อว่าการลงทุนภาคเอกชนก็จะตามมาเอง"
นายวิจิตรระบุว่า การขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในระดับที่เหมาะสมควรจะโตมากกว่า 5% เพราะจะได้มีรายได้เพียงพอนำมาขยายการลงทุนใหม่ๆ เพื่อให้เศรษฐกิจขับเคลื่อนและหมุนไปสู่ภาคเศรษฐกิจอื่นๆ ในระดับรากหญ้าได้ด้วย
นายวิจิตรเห็นว่านโยบายดอกเบี้ยของ ธปท. ควรเน้นกระตุ้นเศรษฐกิจมากกว่าดูแลเงินเฟ้อที่มีสาเหตุจากต้นทุนสูงตามราคาน้ำมัน ปัญหาเงินเฟ้อขณะนี้ยังไม่น่ากลัวถึงขนาดที่ต้องขึ้น ดอกเบี้ยไปควบคุม ควรให้เห็นของจริงก่อน แล้วค่อยๆ แก้ก็ทันการณ์ ขณะที่นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนควรเน้นสนับสนุนการส่งออกให้ขยายตัวได้
"ภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน การดำเนินนโยบายการคลังและการเงินจะต้องผสมผสานไปด้วยกัน โดยหัวใจของการบริหารนโยบายทั้งสองด้านนั้น สิ่งสำคัญคือต้องการคนที่ทำงานเป็น มีประสบ การณ์ทำงานที่แท้จริง ไม่ใช่นักวิชาการ หรือนักเรียนทุนที่อ่านแต่ตำราวิชาการเท่านั้น"
http://matichon.co.th/prachachat/pracha ... ionid=0201
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news07/01/08
โพสต์ที่ 590
มอร์แกนฯคงน้ำหนักลงทุน2% โบรกฯหวั่นตลาดหุ้นครึ่งแรกอืด
นักวิเคราะห์คาดตลาดหุ้นครึ่งปีแรกมีสิทธิ์อึด หลังตลาดหุ้นเปิดปีใหม่อึมครึมตามตลาดหุ้น ต่างประเทศ ชี้ปัจจัยลบทั้งการเมืองในประเทศและต่างประเทศรุมเร้า วิตกการฟอร์มทีมรัฐบาลใหม่-ลุ้นมือโปรที่จะมาขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้เดินหน้า ขณะที่ตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐยังน่าเป็นห่วง จากราคาน้ำมันดิบโลกทรงตัวระดับสูง แถมมีปัญหา ซับไพรมกดดันอีก มอร์แกน สแตนเลย์ มองต่างชาติเทน้ำหนักลงทุนตลาดหุ้นเอเชีย แต่คงน้ำหนักลงทุนตลาดหุ้นไทย 2% เท่าเดิม
บรรยากาศตลาดหุ้นหลังปีใหม่เปิดมาสัปดาห์แรกตลาดปรับตัวลงทันที 25.47 จุด หรือเปลี่ยนแปลงลดลง 3.05% ด้วยมูลค่าการซื้อขายเฉลี่ยวันละ 15,000 ล้านบาท ก่อนจะมาปรับตัวขึ้นในท้ายสัปดาห์ ขณะที่นักลงทุนต่างชาติยังขายสุทธิ 3,049.93 ล้านบาท (2-3 ม.ค.)
นางสาวอาภาภรณ์ แสวงพรรค รองผู้อำนวยการฝ่ายวิเคราะห์หลักทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์ (บล.) ดีบีเอส วิคเคอร์ส (ประเทศไทย) กล่าวว่า เปิดตลาดหุ้นในช่วงต้นปีนี้ ถือว่าผิดความคาดหมายที่คาดการณ์ว่า จะมีเม็ดเงินจากต่างชาติไหลกลับเข้ามาลงทุนในช่วงเดือนมกราคมนี้ ภายหลังมีการเลือกตั้งเสร็จสิ้นและเป็นช่วงของการ ฟอร์มทีมรัฐบาลใหม่ ซึ่งยังไม่เห็นความชัดเจนว่า รัฐบาลจะประกอบด้วยพรรคการเมืองใดและ ทีมเศรษฐกิจประกอบด้วยใคร จึงไม่สามารถ คาดการณ์ทิศทางเศรษฐกิจภายใต้การนำของรัฐบาลชุดใหม่นี้ จึงทำให้ปัจจัยภายในประเทศยังไม่สะท้อนในทิศทางบวก
ประกอบกับปัจจัยภายนอกประเทศที่ยังกดดันการลงทุนอยู่ ทั้งเรื่องการประกาศตัวเลขของสหรัฐ ที่จะส่งผลให้เศรษฐกิจถดถอย ปัญหา ซับไพรมที่ทำให้สถาบันการเงินต้องตั้งสำรองเพิ่มขึ้นในไตรมาส 4/50 ซึ่งจะกระทบต่องบการเงินที่จะประกาศในช่วงกุมภาพันธ์ปีนี้ ขณะที่ปัจจัยราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกทรงตัวในระดับสูง จึงส่งผลให้นักลงทุนต่างชาติต่างเตรียมขายสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงสูงไปลงทุนในสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยง ต่ำกว่า ทำให้ตลาดหุ้นไทยพลอยได้รับผลกระทบจากปัจจัยภายนอกประเทศไปด้วย จึงคาดว่าการลงทุนในช่วงครึ่งปีแรก จะต้องระมัดระวังและติดตามข่าวสารอย่างใกล้ชิด
"ทั้งปัจจัยในและนอกประเทศ ยังกดดันตลาดหุ้นไทยอยู่ โดยจะต้องรอดูการจัดตั้งรัฐบาลและ ทีมเศรษฐกิจจะมีหน้าตาอย่างไรบ้าง ซึ่งเชื่อว่าถึง แม้จะเป็นใครเข้ามา ถ้ามีการเร่งกระตุ้นการ บริโภคภายในประเทศด้วยการลงทุนภาครัฐ ในโครงการเมกะโปรเจ็กต์ต่างๆ การออกมาตรการมาสนับสนุนก็จะช่วยดันเศรษฐกิจของไทยให้ไป ต่อได้ แต่กว่าจะเห็นการลงทุนเกิดขึ้นจริงคงเป็นช่วงครึ่งปีหลังมากกว่า ส่วนการลงทุนของนักลงทุน ต่างชาติก็ยังให้น้ำหนักกับภูมิภาคเอเชียมากว่าอเมริกาและยุโรป เพียงแต่จะไปเน้นที่จีนและอินเดียมากกว่า ส่วนไทยแม้ว่าเศรษฐกิจจะดีขึ้น แต่ก็เป็นการฟื้นตัวจากที่มีปัญหาในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา" นางสาวอาภาภรณ์กล่าว
นายชัยพร น้อมพิทักษ์เจริญ กรรมการผู้จัดการ ฝ่ายวิเคราะห์หลักทรัพย์ บล. บัวหลวง กล่าวว่า การที่ตลาดหุ้นปรับตัวลงมาแรงเกิดจากความวิตกต่อปัญหาเศรษฐกิจสหรัฐเป็นปัจจัยหลัก หลังจากที่ตัวเลขทางเศรษฐกิจสำคัญของสหรัฐประกาศ ออกมาแย่กว่าที่นักเศรษฐศาสตร์ของสหรัฐ คาดการณ์ไว้ จึงทำให้ตลาดหุ้นทั่วโลกตอบรับกับประเด็นนี้ไปด้วย ขณะเดียวกันเศรษฐกิจของไทยยังต้องรอดูทิศทางของทีมรัฐบาลชุดใหม่จะมี นโยบายผลักดันอย่างไร เพราะปีนี้ คาดการณ์กันว่าจะเห็นเศรษฐกิจมีการเติบโตดีกว่าปี 2550 แต่ ก็ยังถือว่ามีอัตราการเติบโตที่น้อยกว่าประเทศ ใกล้เคียง จึงทำให้นักลงทุนต่างชาติให้น้ำหนักการลงทุนในตลาดหุ้นตามการเติบโตของเศรษฐกิจแต่ละประเทศ
ทั้งนี้เมื่อดูจากตัวเลขสำคัญๆ ของตลาดหุ้น ต่างประเทศ ณ สิ้นปี 2550 ที่ผ่านมา พบว่าตลาดหุ้นไทยมีการเติบโตน้อยกว่าตลาดอื่น โดยตลาดหุ้นไทยให้ผลตอบแทนอยู่ที่ 26.22% ขณะที่ตลาดหุ้นในอินโดนีเซียสูงถึง 52.08% ส่วนตลาดหุ้นฮ่องกงให้ผลตอบแทนที่ 39.30% ด้านตลาดหุ้นเกาหลีใต้อยู่ที่ 32.25% และตลาดหุ้นมาเลเซียให้ผลตอบแทน 31.81%
"ในปีนี้มอร์แกนฯ ให้น้ำหนักการลงทุนในภูมิภาคเอเชียมากกว่า อเมริกา และยุโรป ส่วนไทยก็ยังคงให้น้ำหนักการลงทุน 2% เท่าเดิมเหมือนช่วงที่มีการเลือกตั้งให้ถือลงทุน จนกว่าจะมีการจัดตั้งรัฐบาล มีการออกนโยบายมากระตุ้นเศรษฐกิจ และไม่มีความขัดแย้งเรื่องการเมือง จึงจะกลับมาปรับน้ำหนักการลงทุนอีกครั้ง" นายชัยพรกล่าว
นักวิเคราะห์ บล.กรุงศรีอยุธยา กล่าวว่า ในช่วงที่ตลาดหุ้นปรับตัวลงตามตลาดหุ้นต่างประเทศที่ได้รับผลกระทบจากปัจจัยลบนอกประเทศ จึงถือเป็นโอกาสที่นักลงทุนจะเลือกจังหวะเข้าซื้อลงทุนในหุ้นพื้นฐานดี โดยมองว่าหุ้นกลุ่มที่จะได้รับผลบวกหลังรัฐบาลชุดใหม่เข้ามาบริหารประเทศแล้ว ได้แก่ กลุ่มธนาคาร อสังหาริมทรัพย์ นอกจากนี้กลุ่มหุ้นปันผลดีในผลประกอบการงวดปี 2550 ถือว่ามีความโดดเด่นในการลงทุนได้ โดยหุ้นที่จ่ายปันผลสูง 10 อันดับแรกมีผลตอบแทนเฉลี่ยที่ 6-8% สูงกว่าอัตราผลตอบแทนปันผลของทั้งตลาดที่เฉลี่ย อยู่ที่ 3.7% รวมทั้งภาพรวมบริษัทส่วนใหญ่ยังไม่มี การลงทุนในด้านการขยายกำลังการผลิต จึงทำให้อัตราการจ่ายปันผลยังสูงเมื่อเทียบกับตลาดหุ้นอื่นๆ
สำหรับหุ้นที่คาดว่าจะจ่ายเงินปันผลสูง ได้แก่ บมจ. พรีเชียส ชิพปิ้ง (PSL) คาดว่า มีอัตราผลตอบแทนปันผลอยู่ที่ 8.7% โดยงวดครึ่งปีแรกของ ปี 2550 จ่ายเงินปันผลให้ผลตอบแทนแล้ว 5.4%, บมจ. ศุภาลัย (SPALI) ผลตอบแทนเงินปันผลอยู่ที่ประมาณ 8.3% ซึ่งงวดครึ่งปีแรกของปี 2550 ให้ผลตอบแทนปันผลแล้ว 3.3%, บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ (CSL) งวดครึ่งปีแรกปี 2550 จ่ายไปแล้ว 5.2%, หุ้นบริษัทเอ็ม ซี เอสสตีล (MCS) 8.0% โดยงวดครึ่งปีแรก/50 ให้ผลตอบแทนปันผลแล้วที่ 2.7% บมจ. ฮานา ไมโครอิเล็คโทรนิคส (HANA) 7.9% บมจ. จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ (GRAMMY) 7.7% งวดครึ่งปีแรกจ่ายไปแล้ว 1.3% และ บมจ. เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) หรือ DELTA 7.6%
http://matichon.co.th/prachachat/pracha ... ionid=0206
นักวิเคราะห์คาดตลาดหุ้นครึ่งปีแรกมีสิทธิ์อึด หลังตลาดหุ้นเปิดปีใหม่อึมครึมตามตลาดหุ้น ต่างประเทศ ชี้ปัจจัยลบทั้งการเมืองในประเทศและต่างประเทศรุมเร้า วิตกการฟอร์มทีมรัฐบาลใหม่-ลุ้นมือโปรที่จะมาขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้เดินหน้า ขณะที่ตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐยังน่าเป็นห่วง จากราคาน้ำมันดิบโลกทรงตัวระดับสูง แถมมีปัญหา ซับไพรมกดดันอีก มอร์แกน สแตนเลย์ มองต่างชาติเทน้ำหนักลงทุนตลาดหุ้นเอเชีย แต่คงน้ำหนักลงทุนตลาดหุ้นไทย 2% เท่าเดิม
บรรยากาศตลาดหุ้นหลังปีใหม่เปิดมาสัปดาห์แรกตลาดปรับตัวลงทันที 25.47 จุด หรือเปลี่ยนแปลงลดลง 3.05% ด้วยมูลค่าการซื้อขายเฉลี่ยวันละ 15,000 ล้านบาท ก่อนจะมาปรับตัวขึ้นในท้ายสัปดาห์ ขณะที่นักลงทุนต่างชาติยังขายสุทธิ 3,049.93 ล้านบาท (2-3 ม.ค.)
นางสาวอาภาภรณ์ แสวงพรรค รองผู้อำนวยการฝ่ายวิเคราะห์หลักทรัพย์ บริษัทหลักทรัพย์ (บล.) ดีบีเอส วิคเคอร์ส (ประเทศไทย) กล่าวว่า เปิดตลาดหุ้นในช่วงต้นปีนี้ ถือว่าผิดความคาดหมายที่คาดการณ์ว่า จะมีเม็ดเงินจากต่างชาติไหลกลับเข้ามาลงทุนในช่วงเดือนมกราคมนี้ ภายหลังมีการเลือกตั้งเสร็จสิ้นและเป็นช่วงของการ ฟอร์มทีมรัฐบาลใหม่ ซึ่งยังไม่เห็นความชัดเจนว่า รัฐบาลจะประกอบด้วยพรรคการเมืองใดและ ทีมเศรษฐกิจประกอบด้วยใคร จึงไม่สามารถ คาดการณ์ทิศทางเศรษฐกิจภายใต้การนำของรัฐบาลชุดใหม่นี้ จึงทำให้ปัจจัยภายในประเทศยังไม่สะท้อนในทิศทางบวก
ประกอบกับปัจจัยภายนอกประเทศที่ยังกดดันการลงทุนอยู่ ทั้งเรื่องการประกาศตัวเลขของสหรัฐ ที่จะส่งผลให้เศรษฐกิจถดถอย ปัญหา ซับไพรมที่ทำให้สถาบันการเงินต้องตั้งสำรองเพิ่มขึ้นในไตรมาส 4/50 ซึ่งจะกระทบต่องบการเงินที่จะประกาศในช่วงกุมภาพันธ์ปีนี้ ขณะที่ปัจจัยราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกทรงตัวในระดับสูง จึงส่งผลให้นักลงทุนต่างชาติต่างเตรียมขายสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงสูงไปลงทุนในสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยง ต่ำกว่า ทำให้ตลาดหุ้นไทยพลอยได้รับผลกระทบจากปัจจัยภายนอกประเทศไปด้วย จึงคาดว่าการลงทุนในช่วงครึ่งปีแรก จะต้องระมัดระวังและติดตามข่าวสารอย่างใกล้ชิด
"ทั้งปัจจัยในและนอกประเทศ ยังกดดันตลาดหุ้นไทยอยู่ โดยจะต้องรอดูการจัดตั้งรัฐบาลและ ทีมเศรษฐกิจจะมีหน้าตาอย่างไรบ้าง ซึ่งเชื่อว่าถึง แม้จะเป็นใครเข้ามา ถ้ามีการเร่งกระตุ้นการ บริโภคภายในประเทศด้วยการลงทุนภาครัฐ ในโครงการเมกะโปรเจ็กต์ต่างๆ การออกมาตรการมาสนับสนุนก็จะช่วยดันเศรษฐกิจของไทยให้ไป ต่อได้ แต่กว่าจะเห็นการลงทุนเกิดขึ้นจริงคงเป็นช่วงครึ่งปีหลังมากกว่า ส่วนการลงทุนของนักลงทุน ต่างชาติก็ยังให้น้ำหนักกับภูมิภาคเอเชียมากว่าอเมริกาและยุโรป เพียงแต่จะไปเน้นที่จีนและอินเดียมากกว่า ส่วนไทยแม้ว่าเศรษฐกิจจะดีขึ้น แต่ก็เป็นการฟื้นตัวจากที่มีปัญหาในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา" นางสาวอาภาภรณ์กล่าว
นายชัยพร น้อมพิทักษ์เจริญ กรรมการผู้จัดการ ฝ่ายวิเคราะห์หลักทรัพย์ บล. บัวหลวง กล่าวว่า การที่ตลาดหุ้นปรับตัวลงมาแรงเกิดจากความวิตกต่อปัญหาเศรษฐกิจสหรัฐเป็นปัจจัยหลัก หลังจากที่ตัวเลขทางเศรษฐกิจสำคัญของสหรัฐประกาศ ออกมาแย่กว่าที่นักเศรษฐศาสตร์ของสหรัฐ คาดการณ์ไว้ จึงทำให้ตลาดหุ้นทั่วโลกตอบรับกับประเด็นนี้ไปด้วย ขณะเดียวกันเศรษฐกิจของไทยยังต้องรอดูทิศทางของทีมรัฐบาลชุดใหม่จะมี นโยบายผลักดันอย่างไร เพราะปีนี้ คาดการณ์กันว่าจะเห็นเศรษฐกิจมีการเติบโตดีกว่าปี 2550 แต่ ก็ยังถือว่ามีอัตราการเติบโตที่น้อยกว่าประเทศ ใกล้เคียง จึงทำให้นักลงทุนต่างชาติให้น้ำหนักการลงทุนในตลาดหุ้นตามการเติบโตของเศรษฐกิจแต่ละประเทศ
ทั้งนี้เมื่อดูจากตัวเลขสำคัญๆ ของตลาดหุ้น ต่างประเทศ ณ สิ้นปี 2550 ที่ผ่านมา พบว่าตลาดหุ้นไทยมีการเติบโตน้อยกว่าตลาดอื่น โดยตลาดหุ้นไทยให้ผลตอบแทนอยู่ที่ 26.22% ขณะที่ตลาดหุ้นในอินโดนีเซียสูงถึง 52.08% ส่วนตลาดหุ้นฮ่องกงให้ผลตอบแทนที่ 39.30% ด้านตลาดหุ้นเกาหลีใต้อยู่ที่ 32.25% และตลาดหุ้นมาเลเซียให้ผลตอบแทน 31.81%
"ในปีนี้มอร์แกนฯ ให้น้ำหนักการลงทุนในภูมิภาคเอเชียมากกว่า อเมริกา และยุโรป ส่วนไทยก็ยังคงให้น้ำหนักการลงทุน 2% เท่าเดิมเหมือนช่วงที่มีการเลือกตั้งให้ถือลงทุน จนกว่าจะมีการจัดตั้งรัฐบาล มีการออกนโยบายมากระตุ้นเศรษฐกิจ และไม่มีความขัดแย้งเรื่องการเมือง จึงจะกลับมาปรับน้ำหนักการลงทุนอีกครั้ง" นายชัยพรกล่าว
นักวิเคราะห์ บล.กรุงศรีอยุธยา กล่าวว่า ในช่วงที่ตลาดหุ้นปรับตัวลงตามตลาดหุ้นต่างประเทศที่ได้รับผลกระทบจากปัจจัยลบนอกประเทศ จึงถือเป็นโอกาสที่นักลงทุนจะเลือกจังหวะเข้าซื้อลงทุนในหุ้นพื้นฐานดี โดยมองว่าหุ้นกลุ่มที่จะได้รับผลบวกหลังรัฐบาลชุดใหม่เข้ามาบริหารประเทศแล้ว ได้แก่ กลุ่มธนาคาร อสังหาริมทรัพย์ นอกจากนี้กลุ่มหุ้นปันผลดีในผลประกอบการงวดปี 2550 ถือว่ามีความโดดเด่นในการลงทุนได้ โดยหุ้นที่จ่ายปันผลสูง 10 อันดับแรกมีผลตอบแทนเฉลี่ยที่ 6-8% สูงกว่าอัตราผลตอบแทนปันผลของทั้งตลาดที่เฉลี่ย อยู่ที่ 3.7% รวมทั้งภาพรวมบริษัทส่วนใหญ่ยังไม่มี การลงทุนในด้านการขยายกำลังการผลิต จึงทำให้อัตราการจ่ายปันผลยังสูงเมื่อเทียบกับตลาดหุ้นอื่นๆ
สำหรับหุ้นที่คาดว่าจะจ่ายเงินปันผลสูง ได้แก่ บมจ. พรีเชียส ชิพปิ้ง (PSL) คาดว่า มีอัตราผลตอบแทนปันผลอยู่ที่ 8.7% โดยงวดครึ่งปีแรกของ ปี 2550 จ่ายเงินปันผลให้ผลตอบแทนแล้ว 5.4%, บมจ. ศุภาลัย (SPALI) ผลตอบแทนเงินปันผลอยู่ที่ประมาณ 8.3% ซึ่งงวดครึ่งปีแรกของปี 2550 ให้ผลตอบแทนปันผลแล้ว 3.3%, บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ (CSL) งวดครึ่งปีแรกปี 2550 จ่ายไปแล้ว 5.2%, หุ้นบริษัทเอ็ม ซี เอสสตีล (MCS) 8.0% โดยงวดครึ่งปีแรก/50 ให้ผลตอบแทนปันผลแล้วที่ 2.7% บมจ. ฮานา ไมโครอิเล็คโทรนิคส (HANA) 7.9% บมจ. จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ (GRAMMY) 7.7% งวดครึ่งปีแรกจ่ายไปแล้ว 1.3% และ บมจ. เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) หรือ DELTA 7.6%
http://matichon.co.th/prachachat/pracha ... ionid=0206
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news08/01/08
โพสต์ที่ 591
ฉลองภพโวเศรษฐกิจทะลุ5%
โพสต์ทูเดย์ ฉลองภพ คาดเศรษฐกิจปี 2551 โตเกิน 5% แนะรัฐบาลใหม่ เร่งการลงทุนเมกะ โปรเจกต์ หลังส่งออกปีนี้เดี้ยง
นายฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ รมว.คลัง กล่าวภายหลังการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจส่วนรวมนัดสุดท้ายว่า อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ หรือจีดีพี ปีนี้น่าจะขยายตัวที่ระดับ 4.5-5.5% โดยที่ประชุมเห็นว่าศักยภาพเศรษฐกิจไทยยังดี แต่มีปัญหาเรื่องเชิงโครงสร้างเศรษฐกิจในเรื่องการแข่งขันทางธุรกิจ โดยเฉพาะสาขาที่ต้องใช้แรงงานเป็นหลัก จะเห็นควรให้เร่งส่งเสริม เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
ทั้งนี้ ช่วงครึ่งแรกของปี 2551 เศรษฐกิจน่าจะยังขยายตัวได้ในระดับที่ดีพอสมควร ไปจนถึงกลางปี เพราะมีแรงส่งจากเศรษฐกิจปี 2550 ที่ขยายตัวได้ดี แต่ในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2551 เศรษฐกิจจะขยายตัวแผ่วลง ซึ่งเป็นหน้าที่รัฐบาลใหม่ที่ต้องเข้ามาขับเคลื่อน
ขณะนี้ยังไม่ถึงขั้นที่ต้องตกใจจนเกินเหตุ แม้ราคาน้ำมันจะสูง แต่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานยังต่ำ หากเศรษฐกิจยังมีการหมุนเวียนไปข้างหน้า เชื่อว่าต้นปีนี้จีดีพีจะขยายตัวได้ 5% ส่วนแนวโน้มเศรษฐกิจในช่วงกลางและช่วงท้ายของปีนี้ รัฐบาลใหม่ต้องเร่งลงทุนในโครงการขนาดใหญ่อย่างต่อเนื่อง รวมถึงดูแลเรื่องการส่งออกให้ดี เช่นเดียวกัน การพิจารณานโยบายการเงินการคลังให้เหมาะสม นายฉลองภพ กล่าว
นายโชติชัย สุวรรณาภรณ์ ผู้ช่วยโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า นายอำพน กิตติอำพน เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) รายงานให้ที่ประชุมทราบว่า จีดีพี ในปี 2551 จะขยายตัวไม่ต่ำกว่า 4.6% โดยมีปัจจัยเสี่ยงจากความไม่แน่นอนทางการเมือง ปัญหาซับไพรม์ที่อาจรุนแรงกว่าปีที่ผ่านมา รวมถึงปัญหาราคาน้ำมันแพง และปัญหาเงินเฟ้อ
ก่อนหน้านี้ กระทรวงการคลัง ประเมินตัวเลขเศรษฐกิจเมื่อเดือน พ.ย. 2550 คาดว่าปี 2551 เศรษฐกิจไทยจะเติบโต 5% จาก 4.5% ในปี 2550 ขณะที่กระทรวงพาณิชย์คาดว่าเงินเฟ้อในปีนี้จะอยู่ที่ 3-3.5% สูงกว่าปีที่ผ่านมาซึ่งอยู่ที่ 2.3%
นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รองนายกรัฐมนตรีและ รมว.อุตสาห กรรม กล่าวว่า ความเชื่อมั่นด้านการลงทุนจากต่างประเทศก็ยังเป็นไปด้วยดี แม้จะมีข้อกังวลว่านักลงทุนอาจย้ายฐานการผลิตไปประเทศเวียดนาม ซึ่งจะเป็นอุตสาหกรรมขนาดเล็ก เช่นเสื้อผ้า รองเท้า
ด้านนายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ รมว.พลังงาน กล่าวว่า ราคาน้ำมันขึ้นอยู่ที่นโยบายของรัฐบาลว่าต้องการที่จะช่วยเหลือผู้ส่งออกหรือประชาชนทั่วไป เพราะที่ผ่านมามีการแทรกแซงค่าเงินบาทให้อยู่ที่ระดับ 34 บาทต่อเหรียญสหรัฐ แต่หากปล่อยไปตามกลไกตลาดค่าเงินบาทน่าจะอยู่ที่ 31 บาทต่อเหรียญสหรัฐ ทำให้ราคาน้ำมันในประเทศจึงทะลุลิตรละ 30 บาท
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=213293
โพสต์ทูเดย์ ฉลองภพ คาดเศรษฐกิจปี 2551 โตเกิน 5% แนะรัฐบาลใหม่ เร่งการลงทุนเมกะ โปรเจกต์ หลังส่งออกปีนี้เดี้ยง
นายฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ รมว.คลัง กล่าวภายหลังการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจส่วนรวมนัดสุดท้ายว่า อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ หรือจีดีพี ปีนี้น่าจะขยายตัวที่ระดับ 4.5-5.5% โดยที่ประชุมเห็นว่าศักยภาพเศรษฐกิจไทยยังดี แต่มีปัญหาเรื่องเชิงโครงสร้างเศรษฐกิจในเรื่องการแข่งขันทางธุรกิจ โดยเฉพาะสาขาที่ต้องใช้แรงงานเป็นหลัก จะเห็นควรให้เร่งส่งเสริม เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
ทั้งนี้ ช่วงครึ่งแรกของปี 2551 เศรษฐกิจน่าจะยังขยายตัวได้ในระดับที่ดีพอสมควร ไปจนถึงกลางปี เพราะมีแรงส่งจากเศรษฐกิจปี 2550 ที่ขยายตัวได้ดี แต่ในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2551 เศรษฐกิจจะขยายตัวแผ่วลง ซึ่งเป็นหน้าที่รัฐบาลใหม่ที่ต้องเข้ามาขับเคลื่อน
ขณะนี้ยังไม่ถึงขั้นที่ต้องตกใจจนเกินเหตุ แม้ราคาน้ำมันจะสูง แต่อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานยังต่ำ หากเศรษฐกิจยังมีการหมุนเวียนไปข้างหน้า เชื่อว่าต้นปีนี้จีดีพีจะขยายตัวได้ 5% ส่วนแนวโน้มเศรษฐกิจในช่วงกลางและช่วงท้ายของปีนี้ รัฐบาลใหม่ต้องเร่งลงทุนในโครงการขนาดใหญ่อย่างต่อเนื่อง รวมถึงดูแลเรื่องการส่งออกให้ดี เช่นเดียวกัน การพิจารณานโยบายการเงินการคลังให้เหมาะสม นายฉลองภพ กล่าว
นายโชติชัย สุวรรณาภรณ์ ผู้ช่วยโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า นายอำพน กิตติอำพน เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) รายงานให้ที่ประชุมทราบว่า จีดีพี ในปี 2551 จะขยายตัวไม่ต่ำกว่า 4.6% โดยมีปัจจัยเสี่ยงจากความไม่แน่นอนทางการเมือง ปัญหาซับไพรม์ที่อาจรุนแรงกว่าปีที่ผ่านมา รวมถึงปัญหาราคาน้ำมันแพง และปัญหาเงินเฟ้อ
ก่อนหน้านี้ กระทรวงการคลัง ประเมินตัวเลขเศรษฐกิจเมื่อเดือน พ.ย. 2550 คาดว่าปี 2551 เศรษฐกิจไทยจะเติบโต 5% จาก 4.5% ในปี 2550 ขณะที่กระทรวงพาณิชย์คาดว่าเงินเฟ้อในปีนี้จะอยู่ที่ 3-3.5% สูงกว่าปีที่ผ่านมาซึ่งอยู่ที่ 2.3%
นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ รองนายกรัฐมนตรีและ รมว.อุตสาห กรรม กล่าวว่า ความเชื่อมั่นด้านการลงทุนจากต่างประเทศก็ยังเป็นไปด้วยดี แม้จะมีข้อกังวลว่านักลงทุนอาจย้ายฐานการผลิตไปประเทศเวียดนาม ซึ่งจะเป็นอุตสาหกรรมขนาดเล็ก เช่นเสื้อผ้า รองเท้า
ด้านนายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ รมว.พลังงาน กล่าวว่า ราคาน้ำมันขึ้นอยู่ที่นโยบายของรัฐบาลว่าต้องการที่จะช่วยเหลือผู้ส่งออกหรือประชาชนทั่วไป เพราะที่ผ่านมามีการแทรกแซงค่าเงินบาทให้อยู่ที่ระดับ 34 บาทต่อเหรียญสหรัฐ แต่หากปล่อยไปตามกลไกตลาดค่าเงินบาทน่าจะอยู่ที่ 31 บาทต่อเหรียญสหรัฐ ทำให้ราคาน้ำมันในประเทศจึงทะลุลิตรละ 30 บาท
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=213293
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news08/01/08
โพสต์ที่ 592
ห่วงเศรษฐกิจโลกทุบธุรกิจไทย
โพสต์ทูเดย์ เอกชนห่วงเศรษฐกิจโลกกระเทือนถึงเศรษฐกิจไทย รอรัฐบาลใหม่ชัดเจน พร้อมผนึกกำลังรับมือ
นายประมนต์ สุธีวงศ์ ประธานสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ในฐานะประธานคณะกรรมการ ร่วมเอกชน 3 สถาบัน (กกร.) กล่าวว่า ขณะนี้ภาคเอกชน เป็นห่วงสภาวะเศรษฐกิจที่ทั่ว โลกกำลังเผชิญ และกำลัง พิจารณาว่าหลังจากจัดตั้งรัฐบาลแล้วเสร็จ ภาคเอกชนกับรัฐบาล จะร่วมมือกันพิจารณาว่ามีเรื่อง อะไรที่เร่งด่วนต้องทำก่อนหลัง ส่วนปัญหาค่าเงินบาทจะมีการปรึกษากันเมื่อมีความชัดเจน ทางการเมือง สามารถจัดตั้งรัฐบาลได้แล้ว
เรื่องค่าเงินบาทและราคาพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นเป็นปัญหา ที่ทั่วโลกกำลังเผชิญ อยู่ที่ใครจะจัดการได้ดีกว่ากัน ตอนนี้เงินเดือนไม่ลดก็นับว่าดีแล้ว ส่วนภาคเอกชนเองก็ได้มีการปรับตัวไปกันไปแล้ว นายประมนต์ กล่าว
ด้านนายสันติ วิลาสศักดานนท์ ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) กล่าวว่า ปลายเดือน ม.ค. จะมีการประชุมสมาชิก ส.อ.ท. ทั่วประเทศ เพื่อ จัดทำยุทธศาสตร์ของแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมว่าจะเดินไปในทิศทางใด และจะต้องปรับปรุงหรือ เปลี่ยนแปลงในด้านใดบ้างให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่กำลัง เกิดขึ้น หลังจากนั้นจะนำเสนอ ต่อรัฐบาลชุดใหม่ที่เข้ามาบริหารประเทศ
สำหรับกรณีที่สินค้าหลายชนิด ได้เตรียมปรับขึ้นราคาสินค้าใน ปีนี้นั้น แม้กรมการค้าภายในให้ ตรึงราคาสินค้าไว้ก่อน เพราะห่วงว่าจะเป็นภาระของประชาชน แต่เมื่อ ถึงจุดหนึ่งก็ต้องปล่อยให้ทยอย ปรับขึ้นราคาสินค้าไปตามสภาพความเป็นจริง
นายสันติกล่าวถึงกระแสข่าว ที่กระทรวงการคลังจะเสนอปรับขึ้นอัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม (Vat) เพิ่มจาก 7% เป็น 10% ด้วยว่า ต้องรอ ให้รัฐบาลใหม่เป็นผู้พิจารณา และจำเป็นต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ โดยประมาณการราย จ่ายและเรื่องงบประมาณขาดดุล ในปีหน้า เนื่องจากจะส่งผล กระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ อีกทั้งเมื่อราคาสินค้าเพิ่มขึ้นประชาชนจะจับจ่ายน้อยลงไปอีกจากปัจจุบัน
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=213281
โพสต์ทูเดย์ เอกชนห่วงเศรษฐกิจโลกกระเทือนถึงเศรษฐกิจไทย รอรัฐบาลใหม่ชัดเจน พร้อมผนึกกำลังรับมือ
นายประมนต์ สุธีวงศ์ ประธานสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ในฐานะประธานคณะกรรมการ ร่วมเอกชน 3 สถาบัน (กกร.) กล่าวว่า ขณะนี้ภาคเอกชน เป็นห่วงสภาวะเศรษฐกิจที่ทั่ว โลกกำลังเผชิญ และกำลัง พิจารณาว่าหลังจากจัดตั้งรัฐบาลแล้วเสร็จ ภาคเอกชนกับรัฐบาล จะร่วมมือกันพิจารณาว่ามีเรื่อง อะไรที่เร่งด่วนต้องทำก่อนหลัง ส่วนปัญหาค่าเงินบาทจะมีการปรึกษากันเมื่อมีความชัดเจน ทางการเมือง สามารถจัดตั้งรัฐบาลได้แล้ว
เรื่องค่าเงินบาทและราคาพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นเป็นปัญหา ที่ทั่วโลกกำลังเผชิญ อยู่ที่ใครจะจัดการได้ดีกว่ากัน ตอนนี้เงินเดือนไม่ลดก็นับว่าดีแล้ว ส่วนภาคเอกชนเองก็ได้มีการปรับตัวไปกันไปแล้ว นายประมนต์ กล่าว
ด้านนายสันติ วิลาสศักดานนท์ ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) กล่าวว่า ปลายเดือน ม.ค. จะมีการประชุมสมาชิก ส.อ.ท. ทั่วประเทศ เพื่อ จัดทำยุทธศาสตร์ของแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมว่าจะเดินไปในทิศทางใด และจะต้องปรับปรุงหรือ เปลี่ยนแปลงในด้านใดบ้างให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่กำลัง เกิดขึ้น หลังจากนั้นจะนำเสนอ ต่อรัฐบาลชุดใหม่ที่เข้ามาบริหารประเทศ
สำหรับกรณีที่สินค้าหลายชนิด ได้เตรียมปรับขึ้นราคาสินค้าใน ปีนี้นั้น แม้กรมการค้าภายในให้ ตรึงราคาสินค้าไว้ก่อน เพราะห่วงว่าจะเป็นภาระของประชาชน แต่เมื่อ ถึงจุดหนึ่งก็ต้องปล่อยให้ทยอย ปรับขึ้นราคาสินค้าไปตามสภาพความเป็นจริง
นายสันติกล่าวถึงกระแสข่าว ที่กระทรวงการคลังจะเสนอปรับขึ้นอัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม (Vat) เพิ่มจาก 7% เป็น 10% ด้วยว่า ต้องรอ ให้รัฐบาลใหม่เป็นผู้พิจารณา และจำเป็นต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ โดยประมาณการราย จ่ายและเรื่องงบประมาณขาดดุล ในปีหน้า เนื่องจากจะส่งผล กระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ อีกทั้งเมื่อราคาสินค้าเพิ่มขึ้นประชาชนจะจับจ่ายน้อยลงไปอีกจากปัจจุบัน
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=213281
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news08/01/08
โพสต์ที่ 593
คาดดัชนียังซึม...แต่ไม่น่าหลุด 800 จุด
8 มกราคม พ.ศ. 2551 10:16:00
กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ : ตลาดหุ้นไทยวานนี้ยังคงปรับตัวลงต่ออีก 13 จุด มาปิดตลาดที่ 808 จุด โดยนักลงทุนต่างชาติยังคงเป็นแรงขายสุทธิสูงกว่า 4.5 พันล้านบาท ส่งผลให้ตั้งแต่ต้นปี 51 เปิดมา 4 วันทำการ ต่างชาติมีแรงขายสุทธิไปแล้วกว่า 1 หมื่นล้านบาท ซึ่งเราคาดว่าสาเหตุหลักยังมาจากความกังวลต่อการเติบโตของเศรษฐกิจ และความไม่แน่นอนทางการเมือง
ขณะที่ประเด็นทางการเมืองก็ยังไม่มีความคืบหน้ามากนัก วานนี้กกต. แจกใบเหลืองอีก 6 ใบให้แก่พรรค พลังประชาชน 5 ใบ และประชาธิปัตย์ 1 ใบ พร้อมทั้งแจกใบแดงอีก 2 ใบให้แก่ พรรคชาติไทย ซึ่งเราคงยังต้องติดตามกันต่อไปว่าแต่ละพรรคจะโดนใบเหลืองหรือใบแดงเพิ่มอีกมากน้อยเพียงใด
สำหรับการลงทุนระยะสั้นในวันนี้เราคาดว่าดัชนีจะเริ่มแกว่งตัวแคบลง โดยมีแนวรับแข็งแกร่งบริเวณ 800 จุด โดยเรายังคงแนะนำให้ทยอยรับหุ้นพื้นฐาน โดยเฉพาะกลุ่มธนาคารพาณิชย์ที่ปรับตัวลงมากว่า 6.5% นับตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมา ขณะที่เราประเมินว่าผลการดำเนินงานโดยรวมของกลุ่มธนาคารพาณิชย์ในปี 51 นี้จะเติบโตอย่างก้าวกระโดดเมื่อเทียบกับปีก่อน จากภาระสำรองที่ลดลง โดยเรายังคงแนะนำให้ซื้อลงทุนใน KBANK, BBL, KTB และ SCB ส่วนกลุ่มพลังงานยังคงเป็น PTTEP, อสังหาริมทรัพย์ (LH, PS) วัสดุก่อสร้าง (TSTH) และสื่อสาร (ADVANC)
ประเด็นอื่นที่น่าสนใจ
หุ้น Defensive หนุนดาวโจนส์ ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวขึ้น 27.31 จุด หรือ 0.21% ปิดที่ระดับ 12,827.49 จุด จากการแรงซื้อในหุ้นกลุ่มดูแลสุขภาพและสินค้าหลักสำหรับผู้บริโภค ซึ่งเป็นหุ้นที่ นักลงทุนคาดว่าจะรับมือกับการชะลอตัวของเศรษฐกิจได้ดี
ราคาน้ำมันดิบดิ่งต่อ ราคาน้ำมันดิบในตลาดล่วงหน้า NYMEX ปรับตัวลดลง 2.82 ดอลลาร์ฯ ต่อบาร์เรล หรือ 2.88% มาปิดตลาดที่ 95.09 ดอลลาร์ต่อบาร์เรล โดยเป็นการร่วงลงต่อเนื่องเป็นวันที่ 3 จากความกังวลเศรษฐกิจสหรัฐฯ และจากภาวะอากาศที่อบอุ่นขึ้น ท่ามกลางความตึงเครียดระหว่างอิหร่านและสหรัฐฯ
สนพ. ยืนยันยังไม่ปรับราคาก๊าซหุงต้ม สำนักงานนโยบายและพลังงาน (สนพ.) ระบุว่าเดือน ม.ค.51 จะยังไม่ปรับราคาขายก๊าซหุงต้ม (ก๊าซปิโตรเลียมเหลว LPG) แม้ราคาในตลาดโลกปรับสูงขึ้น เนื่องจากค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้นยังสามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตไว้ได้ นับเป็นข่าวดีต่อผู้บริโภค
คลังตีกลับค่าเช่าท่อก๊าซของ PTT หลังจากที่เสนอคณะทำงานเจรจาค่าเช่าท่อก๊าซไปก่อนหน้านี้ ทำให้ต้องเสียเวลาในการนำกลับมาตีความใหม่อีก ซึ่งคาดว่าน่าจะใช้เวลาอีก 2-3 สัปดาห์
ที่มา : บล.ซีมิโก้ http://www.bangkokbiznews.com/2008/01/0 ... sid=218069
8 มกราคม พ.ศ. 2551 10:16:00
กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ : ตลาดหุ้นไทยวานนี้ยังคงปรับตัวลงต่ออีก 13 จุด มาปิดตลาดที่ 808 จุด โดยนักลงทุนต่างชาติยังคงเป็นแรงขายสุทธิสูงกว่า 4.5 พันล้านบาท ส่งผลให้ตั้งแต่ต้นปี 51 เปิดมา 4 วันทำการ ต่างชาติมีแรงขายสุทธิไปแล้วกว่า 1 หมื่นล้านบาท ซึ่งเราคาดว่าสาเหตุหลักยังมาจากความกังวลต่อการเติบโตของเศรษฐกิจ และความไม่แน่นอนทางการเมือง
ขณะที่ประเด็นทางการเมืองก็ยังไม่มีความคืบหน้ามากนัก วานนี้กกต. แจกใบเหลืองอีก 6 ใบให้แก่พรรค พลังประชาชน 5 ใบ และประชาธิปัตย์ 1 ใบ พร้อมทั้งแจกใบแดงอีก 2 ใบให้แก่ พรรคชาติไทย ซึ่งเราคงยังต้องติดตามกันต่อไปว่าแต่ละพรรคจะโดนใบเหลืองหรือใบแดงเพิ่มอีกมากน้อยเพียงใด
สำหรับการลงทุนระยะสั้นในวันนี้เราคาดว่าดัชนีจะเริ่มแกว่งตัวแคบลง โดยมีแนวรับแข็งแกร่งบริเวณ 800 จุด โดยเรายังคงแนะนำให้ทยอยรับหุ้นพื้นฐาน โดยเฉพาะกลุ่มธนาคารพาณิชย์ที่ปรับตัวลงมากว่า 6.5% นับตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมา ขณะที่เราประเมินว่าผลการดำเนินงานโดยรวมของกลุ่มธนาคารพาณิชย์ในปี 51 นี้จะเติบโตอย่างก้าวกระโดดเมื่อเทียบกับปีก่อน จากภาระสำรองที่ลดลง โดยเรายังคงแนะนำให้ซื้อลงทุนใน KBANK, BBL, KTB และ SCB ส่วนกลุ่มพลังงานยังคงเป็น PTTEP, อสังหาริมทรัพย์ (LH, PS) วัสดุก่อสร้าง (TSTH) และสื่อสาร (ADVANC)
ประเด็นอื่นที่น่าสนใจ
หุ้น Defensive หนุนดาวโจนส์ ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวขึ้น 27.31 จุด หรือ 0.21% ปิดที่ระดับ 12,827.49 จุด จากการแรงซื้อในหุ้นกลุ่มดูแลสุขภาพและสินค้าหลักสำหรับผู้บริโภค ซึ่งเป็นหุ้นที่ นักลงทุนคาดว่าจะรับมือกับการชะลอตัวของเศรษฐกิจได้ดี
ราคาน้ำมันดิบดิ่งต่อ ราคาน้ำมันดิบในตลาดล่วงหน้า NYMEX ปรับตัวลดลง 2.82 ดอลลาร์ฯ ต่อบาร์เรล หรือ 2.88% มาปิดตลาดที่ 95.09 ดอลลาร์ต่อบาร์เรล โดยเป็นการร่วงลงต่อเนื่องเป็นวันที่ 3 จากความกังวลเศรษฐกิจสหรัฐฯ และจากภาวะอากาศที่อบอุ่นขึ้น ท่ามกลางความตึงเครียดระหว่างอิหร่านและสหรัฐฯ
สนพ. ยืนยันยังไม่ปรับราคาก๊าซหุงต้ม สำนักงานนโยบายและพลังงาน (สนพ.) ระบุว่าเดือน ม.ค.51 จะยังไม่ปรับราคาขายก๊าซหุงต้ม (ก๊าซปิโตรเลียมเหลว LPG) แม้ราคาในตลาดโลกปรับสูงขึ้น เนื่องจากค่าเงินบาทที่แข็งค่าขึ้นยังสามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตไว้ได้ นับเป็นข่าวดีต่อผู้บริโภค
คลังตีกลับค่าเช่าท่อก๊าซของ PTT หลังจากที่เสนอคณะทำงานเจรจาค่าเช่าท่อก๊าซไปก่อนหน้านี้ ทำให้ต้องเสียเวลาในการนำกลับมาตีความใหม่อีก ซึ่งคาดว่าน่าจะใช้เวลาอีก 2-3 สัปดาห์
ที่มา : บล.ซีมิโก้ http://www.bangkokbiznews.com/2008/01/0 ... sid=218069
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news08/01/08
โพสต์ที่ 594
เบิกจ่ายงบปี51หืดขึ้นคอ- ไตรมาสแรกได้แค่3.5แสนล.
กรมบัญชีกลางเผยเบิกจ่ายงบไตรมาสแรกปี 51 ต่ำกว่าเป้า 0.94% แต่สูงกว่าปีก่อน 5.1% ระบุล่าสุดเบิกจ่ายไปแล้ว 3.57 แสนล้านบาท หรือ 21.56% ของวงเงินงบประมาณ แบ่งเป็นรายจ่ายประจำ 3.03 แสนล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 5.4 หมื่นล้านบาท ระบุองค์กรอิสระยังครองแชมป์เบิกจ่ายสูงสุด ตามด้วยรัฐวิสาหกิจ
นายมนัส แจ่มเวหา รองอธิบดีกรมบัญชีกลาง ในฐานะโฆษกกรมบัญชีกลาง เปิดเผยว่า การเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำเดือนธ.ค. 50 ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจเบิกจ่ายเงินไปแล้ว 97,846 ล้านบาท หรือ 5.89% ของวงเงินงบประมาณ 1,660,000 ล้านบาท สูงกว่าอัตราการเบิกจ่ายในช่วงเดียวกันของปีงบประมาณก่อน 0.58% และในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 51 เบิกจ่ายเงินไปแล้ว 357,895 ล้านบาท หรือ 21.56% ของวงเงินงบประมาณทั้งหมด สูงกว่าอัตราเบิกจ่ายในช่วงเวลาเดียวกันของปีงบประมาณก่อน 5.10%
สำหรับการเบิกจ่ายในเดือนธ.ค.50 จำแนกเป็นรายจ่ายประจำ จำนวน 88,182 ล้านบาท หรือ 6.64% ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำ 1,327,235 ล้านบาท สูงกว่าการเบิกจ่ายในช่วงเดียวกันของปีงบประมาณก่อน 0.38% และรายจ่ายลงทุน จำนวน 9,664 ล้านบาท หรือ 2.90% ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 332,765 ล้านบาท สูงกว่าอัตราการเบิกจ่ายในช่วงเวลาเดียวกันของปีงบประมาณก่อน 1.22%
ส่วนในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 51(ตุลาคม 2550 - ธันวาคม 2550)แม้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจเบิกจ่ายเงินจากคลังสูงกว่าอัตราการเบิกจ่ายในช่วงเวลาเดียวกันของปีงบประมาณก่อน 5.10% แต่ต่ำกว่าเป้าหมายการเบิกจ่าย 0.94%
โดยจำแนกเป็นรายจ่ายประจำ จำนวน 303,166 ล้านบาท หรือ 22.84% ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำ 1,327,235 ล้านบาท สูงกว่าอัตราการเบิกจ่ายรายจ่ายประจำในช่วงระยะเวลาเดียวกันของปีงบประมาณก่อน 3.63% รายจ่ายลงทุน จำนวน 54,729 ล้านบาท หรือ 16.45% ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 332,765 ล้านบาท สูงกว่าอัตราการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนในช่วงระยะเวลาเดียวกันของปีงบประมาณก่อน 10.39%
ทั้งนี้ กระทรวงที่มีอัตราการเบิกจ่ายสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ รัฐวิสาหกิจและสภากาชาดไทย มีอัตราการเบิกจ่าย 57.63% 50.04% และ 43.66% ตามลำดับ ส่วนโครงการที่ได้งบประมาณรายจ่ายลงทุนเกิน 1,000 ล้านบาท ที่มีผลการเบิกจ่ายสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ โครงการแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัยผู้มีรายได้น้อย โครงการบ้านเอื้ออาทร การประเมินผลและพัฒนารัฐวิสาหกิจและโครงการเร่งรัดขยายทางสายประธานให้เป็น 4 ช่องจราจร (ระยะที่ 2) มีอัตราการเบิกจ่ายรายจ่ายต่อวงเงินงบประมาณ74.93% 60.87% และ 23.37% ตามลำดับ
นายมนัส กล่าวเพิ่มเติมว่า กรมบัญชีกลางได้รายงานผลการก่อหนี้ผูกพันตามมาตรการและแนวทางการติดตามเร่งรัดการใช้จ่ายเงินงบประมาณ 51 ซึ่งกำหนดให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจเร่งดำเนินการก่อหนี้ผูกพันให้ได้ 70% ภายในสิ้นเดือนม.ค.51 ซึ่งในการประชุมคณะกรรมการเมื่อวันที่ 21 ธ.ค.50 ได้รับรายงานจากส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจจำนวน 171 หน่วยงาน จากทั้งหมด 283 หน่วยงาน ซึ่งคาดว่าจะก่อหนี้ผูกพันภายในสิ้นเดือนม.ค.51 ได้เพียง 62.83% ที่ประชุมจึงมีมติให้คลังเสนอคณะรัฐมนตรีในวันที่ 25 ธ.ค.50 เพื่อสั่งการให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจเร่งรัดการก่อหนี้ผูกพันให้ได้ 70% ภายในสิ้นเดือนม.ค.51 ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มติเห็นชอบแล้ว
http://www.settrade.com/S17_ContentDisp ... egoryId=16
กรมบัญชีกลางเผยเบิกจ่ายงบไตรมาสแรกปี 51 ต่ำกว่าเป้า 0.94% แต่สูงกว่าปีก่อน 5.1% ระบุล่าสุดเบิกจ่ายไปแล้ว 3.57 แสนล้านบาท หรือ 21.56% ของวงเงินงบประมาณ แบ่งเป็นรายจ่ายประจำ 3.03 แสนล้านบาท และรายจ่ายลงทุน 5.4 หมื่นล้านบาท ระบุองค์กรอิสระยังครองแชมป์เบิกจ่ายสูงสุด ตามด้วยรัฐวิสาหกิจ
นายมนัส แจ่มเวหา รองอธิบดีกรมบัญชีกลาง ในฐานะโฆษกกรมบัญชีกลาง เปิดเผยว่า การเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจำเดือนธ.ค. 50 ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจเบิกจ่ายเงินไปแล้ว 97,846 ล้านบาท หรือ 5.89% ของวงเงินงบประมาณ 1,660,000 ล้านบาท สูงกว่าอัตราการเบิกจ่ายในช่วงเดียวกันของปีงบประมาณก่อน 0.58% และในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 51 เบิกจ่ายเงินไปแล้ว 357,895 ล้านบาท หรือ 21.56% ของวงเงินงบประมาณทั้งหมด สูงกว่าอัตราเบิกจ่ายในช่วงเวลาเดียวกันของปีงบประมาณก่อน 5.10%
สำหรับการเบิกจ่ายในเดือนธ.ค.50 จำแนกเป็นรายจ่ายประจำ จำนวน 88,182 ล้านบาท หรือ 6.64% ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำ 1,327,235 ล้านบาท สูงกว่าการเบิกจ่ายในช่วงเดียวกันของปีงบประมาณก่อน 0.38% และรายจ่ายลงทุน จำนวน 9,664 ล้านบาท หรือ 2.90% ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 332,765 ล้านบาท สูงกว่าอัตราการเบิกจ่ายในช่วงเวลาเดียวกันของปีงบประมาณก่อน 1.22%
ส่วนในช่วงไตรมาสแรกของปีงบประมาณ 51(ตุลาคม 2550 - ธันวาคม 2550)แม้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจเบิกจ่ายเงินจากคลังสูงกว่าอัตราการเบิกจ่ายในช่วงเวลาเดียวกันของปีงบประมาณก่อน 5.10% แต่ต่ำกว่าเป้าหมายการเบิกจ่าย 0.94%
โดยจำแนกเป็นรายจ่ายประจำ จำนวน 303,166 ล้านบาท หรือ 22.84% ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำ 1,327,235 ล้านบาท สูงกว่าอัตราการเบิกจ่ายรายจ่ายประจำในช่วงระยะเวลาเดียวกันของปีงบประมาณก่อน 3.63% รายจ่ายลงทุน จำนวน 54,729 ล้านบาท หรือ 16.45% ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน 332,765 ล้านบาท สูงกว่าอัตราการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนในช่วงระยะเวลาเดียวกันของปีงบประมาณก่อน 10.39%
ทั้งนี้ กระทรวงที่มีอัตราการเบิกจ่ายสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ รัฐวิสาหกิจและสภากาชาดไทย มีอัตราการเบิกจ่าย 57.63% 50.04% และ 43.66% ตามลำดับ ส่วนโครงการที่ได้งบประมาณรายจ่ายลงทุนเกิน 1,000 ล้านบาท ที่มีผลการเบิกจ่ายสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ โครงการแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัยผู้มีรายได้น้อย โครงการบ้านเอื้ออาทร การประเมินผลและพัฒนารัฐวิสาหกิจและโครงการเร่งรัดขยายทางสายประธานให้เป็น 4 ช่องจราจร (ระยะที่ 2) มีอัตราการเบิกจ่ายรายจ่ายต่อวงเงินงบประมาณ74.93% 60.87% และ 23.37% ตามลำดับ
นายมนัส กล่าวเพิ่มเติมว่า กรมบัญชีกลางได้รายงานผลการก่อหนี้ผูกพันตามมาตรการและแนวทางการติดตามเร่งรัดการใช้จ่ายเงินงบประมาณ 51 ซึ่งกำหนดให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจเร่งดำเนินการก่อหนี้ผูกพันให้ได้ 70% ภายในสิ้นเดือนม.ค.51 ซึ่งในการประชุมคณะกรรมการเมื่อวันที่ 21 ธ.ค.50 ได้รับรายงานจากส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจจำนวน 171 หน่วยงาน จากทั้งหมด 283 หน่วยงาน ซึ่งคาดว่าจะก่อหนี้ผูกพันภายในสิ้นเดือนม.ค.51 ได้เพียง 62.83% ที่ประชุมจึงมีมติให้คลังเสนอคณะรัฐมนตรีในวันที่ 25 ธ.ค.50 เพื่อสั่งการให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจเร่งรัดการก่อหนี้ผูกพันให้ได้ 70% ภายในสิ้นเดือนม.ค.51 ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มติเห็นชอบแล้ว
http://www.settrade.com/S17_ContentDisp ... egoryId=16
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news09/01/08
โพสต์ที่ 595
สภาพคล่องโลกเหือดฉุดหุ้นไปไหนไม่ไกล
โพสต์ทูเดย์ หุ้นไทยไปไม่ไกลปีนี้สภาพคล่องโลกไม่เยอะเหมือนปีก่อน ระวังสวิงแรง 500-1,000 จุด
นายสมชาย ภคภาสวิวัฒน์ ประธานกรรมการ บล.นครหลวงไทย กล่าวว่า ในปีนี้ตลาดหุ้นจะได้รับ ผลกระทบจากวิกฤตซับไพรม์ (สินเชื่ออสังหาคุณภาพต่ำในสหรัฐ) แรงขึ้น แม้ปีที่ผ่านมาเกิดปัญหาซับไพรม์ ขึ้นแล้วแต่ดัชนีหุ้นยังขึ้นมากเพราะ ได้สภาพคล่องหรือเม็ดเงินจากต่างชาติเป็นหลัก ส่วนปีนี้สภาพคล่องในระบบจะน้อยลง
นายกัมปนาท โลหเจริญวนิช นายกสมาคมบริษัทหลักทรัพย์ กล่าวว่า ปีนี้ดัชนีหุ้นจะแกว่งตัวขึ้นลงแรง โดยมีแนวโน้มที่จะปรับลงมาแตะระดับต่ำสุดที่ 500 จุด และสูงสุดที่ระดับ 1,000 จุดได้ อะไรก็เกิดขึ้นได้ เพราะมีปัจจัยที่อยู่เหนือความคาดหมายเข้ามาหลายเรื่อง
นายสุขวัฒน์ ประเสริฐยิ่ง ประธานเจ้าหน้าที่สายการลงทุน บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน (บลจ.) แมนูไลฟ์ กล่าวว่า ปัญหา ซับไพรม์เป็นเรื่องใหญ่ระดับโลก ที่ส่งผลทางจิตวิทยาให้นักลงทุนต่างชาติเทขายหุ้นไปทุกภูมิภาค ดังนั้นจึงไม่น่ากังวล
นอกจากนั้นได้แนะนำให้นักลงทุนทยอยซื้อหุ้นที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคภายในประเทศที่จะได้ประโยชน์จากการมีรัฐบาลใหม่
ไม่ว่าพรรคใดจะมาเป็นรัฐบาล นโยบายไม่ต่างกันคือกระตุ้นเศรษฐกิจ ในฐานะเป็นกองทุนต่างชาติไม่กังวลเรื่องนี้นัก นาย สุขวัฒน์ กล่าว
นายธิติ ธาราสุข ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจบริษัท เน็กซ์วิว (ประเทศไทย) สัญชาติมาเลเซีย กล่าวถึงผลสำรวจความคิดเห็นของนักวิเคราะห์ต่างชาติต่อการลงทุนในตลาดหุ้นไทย พบว่า ปัญหาราคาน้ำมันแพงและ ซับไพรม์ที่จะทำให้เศรษฐกิจสหรัฐถดถอย ทำให้ดัชนีหุ้นในครึ่งปีแรกไปไม่ถึง 1,000 จุด โดยมีแนวรับที่ 760 จุด และแนวต้านที่ 885 จุด
ด้านปัจจัยการเมือง นักวิเคราะห์ต่างชาติถือว่าคลี่คลายแล้วหลังจาก มีการเลือกตั้ง เหลือแต่เพียงว่า นโยบายเศรษฐกิจเป็นอย่างไร และจากนี้ไปปัจจัยต่างประเทศจะเป็นประเด็นหลัก
นายสุกิจ อุดมศิริกุล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการฝ่ายวิเคราะห์หลักทรัพย์ บล.นครหลวงไทย กล่าวว่า พื้นฐานตลาดหุ้นไทยปีนี้อยู่ที่ 900 จุด แต่หากมีสภาพคล่องเข้ามามากและมีแรงเหวี่ยงจะไปถึง 1,000 จุดได้
นายปกรณ์ มาลากุล ณ อยุธยา ประธานกรรมการตลาดหลักทรัพย์ กล่าวว่า การประเมินดัชนีหุ้นไทยจะปรับตัวลงต่ำกว่าระดับ 800 จุดนั้นก็สามารถเกิดขึ้นได้หากนักลงทุนยังคงมีความกังวล
วานนี้ เปิดตลาดหุ้นบวกตามต่างประเทศ แต่ระหว่างวันมีแรงเทขายทุบดัชนีร่วงมาแดง แต่สุดท้ายปิดที่ 811.69 จุด เพิ่มขึ้น 3.38 จุด มูลค่าการซื้อขาย 15,660.49 ล้านบาท โดยต่างชาติขายอีก 2,433 ล้านบาท
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=213467
โพสต์ทูเดย์ หุ้นไทยไปไม่ไกลปีนี้สภาพคล่องโลกไม่เยอะเหมือนปีก่อน ระวังสวิงแรง 500-1,000 จุด
นายสมชาย ภคภาสวิวัฒน์ ประธานกรรมการ บล.นครหลวงไทย กล่าวว่า ในปีนี้ตลาดหุ้นจะได้รับ ผลกระทบจากวิกฤตซับไพรม์ (สินเชื่ออสังหาคุณภาพต่ำในสหรัฐ) แรงขึ้น แม้ปีที่ผ่านมาเกิดปัญหาซับไพรม์ ขึ้นแล้วแต่ดัชนีหุ้นยังขึ้นมากเพราะ ได้สภาพคล่องหรือเม็ดเงินจากต่างชาติเป็นหลัก ส่วนปีนี้สภาพคล่องในระบบจะน้อยลง
นายกัมปนาท โลหเจริญวนิช นายกสมาคมบริษัทหลักทรัพย์ กล่าวว่า ปีนี้ดัชนีหุ้นจะแกว่งตัวขึ้นลงแรง โดยมีแนวโน้มที่จะปรับลงมาแตะระดับต่ำสุดที่ 500 จุด และสูงสุดที่ระดับ 1,000 จุดได้ อะไรก็เกิดขึ้นได้ เพราะมีปัจจัยที่อยู่เหนือความคาดหมายเข้ามาหลายเรื่อง
นายสุขวัฒน์ ประเสริฐยิ่ง ประธานเจ้าหน้าที่สายการลงทุน บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน (บลจ.) แมนูไลฟ์ กล่าวว่า ปัญหา ซับไพรม์เป็นเรื่องใหญ่ระดับโลก ที่ส่งผลทางจิตวิทยาให้นักลงทุนต่างชาติเทขายหุ้นไปทุกภูมิภาค ดังนั้นจึงไม่น่ากังวล
นอกจากนั้นได้แนะนำให้นักลงทุนทยอยซื้อหุ้นที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคภายในประเทศที่จะได้ประโยชน์จากการมีรัฐบาลใหม่
ไม่ว่าพรรคใดจะมาเป็นรัฐบาล นโยบายไม่ต่างกันคือกระตุ้นเศรษฐกิจ ในฐานะเป็นกองทุนต่างชาติไม่กังวลเรื่องนี้นัก นาย สุขวัฒน์ กล่าว
นายธิติ ธาราสุข ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจบริษัท เน็กซ์วิว (ประเทศไทย) สัญชาติมาเลเซีย กล่าวถึงผลสำรวจความคิดเห็นของนักวิเคราะห์ต่างชาติต่อการลงทุนในตลาดหุ้นไทย พบว่า ปัญหาราคาน้ำมันแพงและ ซับไพรม์ที่จะทำให้เศรษฐกิจสหรัฐถดถอย ทำให้ดัชนีหุ้นในครึ่งปีแรกไปไม่ถึง 1,000 จุด โดยมีแนวรับที่ 760 จุด และแนวต้านที่ 885 จุด
ด้านปัจจัยการเมือง นักวิเคราะห์ต่างชาติถือว่าคลี่คลายแล้วหลังจาก มีการเลือกตั้ง เหลือแต่เพียงว่า นโยบายเศรษฐกิจเป็นอย่างไร และจากนี้ไปปัจจัยต่างประเทศจะเป็นประเด็นหลัก
นายสุกิจ อุดมศิริกุล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการฝ่ายวิเคราะห์หลักทรัพย์ บล.นครหลวงไทย กล่าวว่า พื้นฐานตลาดหุ้นไทยปีนี้อยู่ที่ 900 จุด แต่หากมีสภาพคล่องเข้ามามากและมีแรงเหวี่ยงจะไปถึง 1,000 จุดได้
นายปกรณ์ มาลากุล ณ อยุธยา ประธานกรรมการตลาดหลักทรัพย์ กล่าวว่า การประเมินดัชนีหุ้นไทยจะปรับตัวลงต่ำกว่าระดับ 800 จุดนั้นก็สามารถเกิดขึ้นได้หากนักลงทุนยังคงมีความกังวล
วานนี้ เปิดตลาดหุ้นบวกตามต่างประเทศ แต่ระหว่างวันมีแรงเทขายทุบดัชนีร่วงมาแดง แต่สุดท้ายปิดที่ 811.69 จุด เพิ่มขึ้น 3.38 จุด มูลค่าการซื้อขาย 15,660.49 ล้านบาท โดยต่างชาติขายอีก 2,433 ล้านบาท
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=213467
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news09/01/08
โพสต์ที่ 596
จ่อลงทุนนอก3.7แสนล.
โพสต์ทูเดย์ ไฟเขียวกบข.ลุยเมืองนอกได้ 25% ก.ล.ต.อ้อนธปท.เพิ่ม วงเงินอีกหมื่นล้านเหรียญสหรัฐ รวม 3.7 แสนล้านบาท หวังช่วยแก้บาทแข็ง
นายโชติชัย สุวรรณาภรณ์ ผู้ช่วยโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) วานนี้ ได้อนุมัติร่างกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการจัดการเงินกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) ตามข้อเสนอของกระทรวงการคลังที่เสนอให้ปรับปรุงกฎกระทรวงเดิมที่ไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ภาวะตลาดเงินตลาดทุนที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในปัจจุบัน เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการลงทุน
ทั้งนี้ ร่างกฎกระทรวงดังกล่าวเป็นการเพิ่มวงเงินลงทุนในหุ้นทุน เป็นหุ้นสามัญ หุ้นกู้แปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญ และใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น (วอร์แรนต์) จากเดิมที่กำหนดไว้ 30% ของเงินกองทุน เป็น 35% และเพิ่มวงเงินลงทุนในต่างประเทศจากเดิม 15% ของเงินกองทุน เป็น 25%
การให้ กบข. ออกไปลงทุนต่างประเทศมากขึ้น นอกจากเป็นการกระจายความเสี่ยงและช่วยบริหารเงินมีประสิทธิภาพขึ้นแล้ว ยังช่วยแก้ปัญหาเงินบาทแข็งค่าได้ด้วย เพราะจะทำให้เงินไหลออกไปต่างประเทศบ้าง ไม่ใช่มีเงินไหลเข้ามาเพียงด้านเดียว นายโชติชัย กล่าว
นายวิสิฐ ตันติสุนทร เลขาธิการ กบข. กล่าวว่า วงเงินลงทุนต่างประเทศที่เพิ่มขึ้นอีก 10% คิดเป็นเงินประมาณ 3.7 หมื่นล้านบาท และหากออกไปทั้งทุนเต็มเพดานที่ 25% ก็จะนำเงินออกไปลงทุนได้ ทั้งสิ้น 9.3 หมื่นล้านบาท จากปัจจุบัน กบข. มีสินทรัพย์รวมทั้งหมด 3.75 แสนล้านบาท
ทุกวันนี้ กบข.ออกไปลงทุนต่างประเทศที่ 15% หรือเป็นเงิน 5.6 หมื่นล้านบาทได้อยู่แล้ว นายวิสิฐ กล่าว
สำหรับเป้าหมายที่จะเข้าไปลงทุน กบข.สนใจตลาดหุ้นเอเชียรวมทั้งการลงทุนในกองทุนต่างชาติที่เน้นลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ในตลาดโลก หรือ Globalproperty Fund
นายประเวช องอาจสิทธิกุล ผู้ช่วยเลขาธิการอาวุโส สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) กล่าวว่า ได้ยื่นขอธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เพื่อขอเพิ่มวงเงินออกไปลงทุนต่างประเทศอีก 1 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 3.3 แสนล้านบาท จากเดิมที่มีอยู่แล้ว 2 หมื่นล้านเหรียญ คาดว่าจะได้ข้อสรุปและได้รับอนุญาตภายในไตรมาสแรกปีนี้
สำหรับการขอเพิ่มวงเงินครั้งนี้เพื่อสนับสนุนการลงทุนต่างประเทศผ่านกองทุนส่วนบุคคลที่กำลังจะเกิดขึ้น รวมถึงรองรับการลงทุนในใบรับฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศที่เปลี่ยนมือได้ (TCR) และเป็นเม็ดเงินสำหรับบริษัทไทยที่ทำธุรกิจในต่างประเทศ
ก.ล.ต. ได้ส่งหนังสืออย่างเป็นทางการถึง ธปท.ตั้งแต่สัปดาห์สุดท้ายของปี 2550 และจะเชิญบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน (บลจ.) ทำความเข้าใจเรื่องขั้นตอนการลงทุนผ่านกองทุนส่วนบุคคลและรายละเอียดการจัดตั้งกองทุน เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการลงทุนในต่างประเทศต่อไป
การลงทุนยังต่างประเทศ ในช่วงที่ผ่านมา มีอัตราการเติบโต ในระดับที่สูง ได้รับความนิยม จากผู้ลงทุน เนื่องจากผู้ลงทุนเข้าใจในการลงทุนมากขึ้น ใน ขณะที่ผู้ประกอบการสามารถป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนได้ดี จึงทำให้ มีผลตอบแทนอยู่ ในระดับที่น่าพอใจเมื่อเทียบกับความเสี่ยง
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=213472
โพสต์ทูเดย์ ไฟเขียวกบข.ลุยเมืองนอกได้ 25% ก.ล.ต.อ้อนธปท.เพิ่ม วงเงินอีกหมื่นล้านเหรียญสหรัฐ รวม 3.7 แสนล้านบาท หวังช่วยแก้บาทแข็ง
นายโชติชัย สุวรรณาภรณ์ ผู้ช่วยโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) วานนี้ ได้อนุมัติร่างกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการจัดการเงินกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) ตามข้อเสนอของกระทรวงการคลังที่เสนอให้ปรับปรุงกฎกระทรวงเดิมที่ไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ภาวะตลาดเงินตลาดทุนที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในปัจจุบัน เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการลงทุน
ทั้งนี้ ร่างกฎกระทรวงดังกล่าวเป็นการเพิ่มวงเงินลงทุนในหุ้นทุน เป็นหุ้นสามัญ หุ้นกู้แปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญ และใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น (วอร์แรนต์) จากเดิมที่กำหนดไว้ 30% ของเงินกองทุน เป็น 35% และเพิ่มวงเงินลงทุนในต่างประเทศจากเดิม 15% ของเงินกองทุน เป็น 25%
การให้ กบข. ออกไปลงทุนต่างประเทศมากขึ้น นอกจากเป็นการกระจายความเสี่ยงและช่วยบริหารเงินมีประสิทธิภาพขึ้นแล้ว ยังช่วยแก้ปัญหาเงินบาทแข็งค่าได้ด้วย เพราะจะทำให้เงินไหลออกไปต่างประเทศบ้าง ไม่ใช่มีเงินไหลเข้ามาเพียงด้านเดียว นายโชติชัย กล่าว
นายวิสิฐ ตันติสุนทร เลขาธิการ กบข. กล่าวว่า วงเงินลงทุนต่างประเทศที่เพิ่มขึ้นอีก 10% คิดเป็นเงินประมาณ 3.7 หมื่นล้านบาท และหากออกไปทั้งทุนเต็มเพดานที่ 25% ก็จะนำเงินออกไปลงทุนได้ ทั้งสิ้น 9.3 หมื่นล้านบาท จากปัจจุบัน กบข. มีสินทรัพย์รวมทั้งหมด 3.75 แสนล้านบาท
ทุกวันนี้ กบข.ออกไปลงทุนต่างประเทศที่ 15% หรือเป็นเงิน 5.6 หมื่นล้านบาทได้อยู่แล้ว นายวิสิฐ กล่าว
สำหรับเป้าหมายที่จะเข้าไปลงทุน กบข.สนใจตลาดหุ้นเอเชียรวมทั้งการลงทุนในกองทุนต่างชาติที่เน้นลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ในตลาดโลก หรือ Globalproperty Fund
นายประเวช องอาจสิทธิกุล ผู้ช่วยเลขาธิการอาวุโส สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) กล่าวว่า ได้ยื่นขอธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เพื่อขอเพิ่มวงเงินออกไปลงทุนต่างประเทศอีก 1 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 3.3 แสนล้านบาท จากเดิมที่มีอยู่แล้ว 2 หมื่นล้านเหรียญ คาดว่าจะได้ข้อสรุปและได้รับอนุญาตภายในไตรมาสแรกปีนี้
สำหรับการขอเพิ่มวงเงินครั้งนี้เพื่อสนับสนุนการลงทุนต่างประเทศผ่านกองทุนส่วนบุคคลที่กำลังจะเกิดขึ้น รวมถึงรองรับการลงทุนในใบรับฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศที่เปลี่ยนมือได้ (TCR) และเป็นเม็ดเงินสำหรับบริษัทไทยที่ทำธุรกิจในต่างประเทศ
ก.ล.ต. ได้ส่งหนังสืออย่างเป็นทางการถึง ธปท.ตั้งแต่สัปดาห์สุดท้ายของปี 2550 และจะเชิญบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน (บลจ.) ทำความเข้าใจเรื่องขั้นตอนการลงทุนผ่านกองทุนส่วนบุคคลและรายละเอียดการจัดตั้งกองทุน เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการลงทุนในต่างประเทศต่อไป
การลงทุนยังต่างประเทศ ในช่วงที่ผ่านมา มีอัตราการเติบโต ในระดับที่สูง ได้รับความนิยม จากผู้ลงทุน เนื่องจากผู้ลงทุนเข้าใจในการลงทุนมากขึ้น ใน ขณะที่ผู้ประกอบการสามารถป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนได้ดี จึงทำให้ มีผลตอบแทนอยู่ ในระดับที่น่าพอใจเมื่อเทียบกับความเสี่ยง
http://www.posttoday.com/newsdet.php?se ... &id=213472
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news09/01/08
โพสต์ที่ 597
คลังเตรียมปรับประมาณการเศรษฐกิจใหม่ โดย กระแสหุ้น
กระทรวงการคลังเตรียมปรับประมาณการเศรษฐกิจปี 2551 ใหม่ในเดือนกุมภาพันธ์หลังจากราคาน้ำมันในตลาดโลกสูงขึ้นมาก ทั้งนี้ยืนยันในปีงบประมาณนี้ จะไม่มีการปรับขึ้นอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มจากร้อยละ 7 แน่นอน แม้จะยอมรับต้องปรับโครงสร้างภาษีใหม่ก็ตาม
นายสมชัย สัจจพงษ์ โฆษกกระทรวงการคลัง เปิดเผยว่า กระทรวงการคลังเตรียมปรับประมาณการเศรษฐกิจไทยในปี 2551 ใหม่เดือน ก.พ.นี้ หลังจากราคาน้ำมันในตลาดโลกสูงขึ้นมาก รวมทั้งมีปัจจัยเสี่ยงภายนอกที่ต้องจับตาอย่างใกล้ชิดคือเรื่องโรคระบาด โดยเฉพาะไข้หวัด ซึ่งจากการศึกษาบทวิจัยทางการแพทย์ของสหรัฐฯพบว่าเป็นปีที่ครบรอบวัฐจักร 12 ปีของไข้หวัดใหญ่ ประกอบกับสหรัฐฯเองได้ระวังในเรื่องนี้อย่างมาก หากเกิดขึ้นจริงจะเป็นปัจจัยสำคัญอีกตัวหนึ่งที่มีผลต่อเศรษฐกิจไทยโดยเฉพาะผลกระทบต่อการท่องเที่ยว
อย่างไรก็ตาม นายสมชัย กล่าวว่า ในช่วงเวลานี้เร็วเกินไปที่จะประเมินสถานการณ์ทั้งหมด เพราะยังอยู่ในช่วงต้นปี แต่กระทรวงการคลังจะติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิดต่อไป และยังเชื่อมั่นว่าเศรษฐกิจไทยสามารถขยายตัวได้ในระดับที่ร้อยละ 5 แน่นอน เพราะเชื่อว่าในอีก 1 เดือนข้างหน้าราคาน้ำมันต้องลดลง เพราะได้รับแรงกดดัน จากกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำ ที่ออกมาตรการกดดันให้กลุ่มประเทศผู้ส่งออกน้ำมัน หรือโอเปกเพิ่มกำลังการผลิต รวมทั้งการที่เศรษฐกิจสหรัฐฯชะลอตัวทำให้การบริโภคน้ำมันลดลง
นอกจากนี้ นายสมชัย ยังยืนยันว่า ตั้งแต่บัดนี้จนถึงเดือนกันยายนนี้ กระทรวงการคลังยังไม่มีนโยบายที่จะปรับขึ้นอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มจากร้อยละ 7 เป็นร้อยละ 8 หรือร้อยละ 10 ตามที่มีกระแสข่าวออกไป เพราะต้องขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐบาล แม้ว่าการปรับขึ้นอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มจะเป็นแหล่งรายได้สำคัญของรัฐบาล หากปรับขึ้นร้อยละ 1 จะทำให้รายได้ของประเทศเพิ่มขึ้นถึง 30,000 ล้านบาท แต่ก็ถือว่าเป็นรายได้แหล่งสุดท้ายเช่นกันที่รัฐบาลต้องให้ความสำคัญและต้องคำนึงถึงปัจจัยอื่นประกอบอีกมาก ซึ่งกระทรวงการคลังมีแผนปรับปรุงโครงสร้างภาษีเสนอให้รัฐบาลชุดใหม่พิจารณาจริงเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ เพราะในอีก 10 ปี ข้างหน้า รัฐบาลต้องมีรายจ่ายสูงถึง 2.8 ล้านล้านบาท ขณะที่มีรายได้ต่ำกว่า ร้อยละ 3-4 จึงต้องมีการปรับปรุงโครงสร้างภาษีใหม่ทั้งหมด แต่ไม่ได้ปรับขึ้นเฉพาะภาษีมูลค่าเพิ่มเท่านั้น มีภาษีอีกหลายประเภทที่เสนอให้ปรับลดและปรับขึ้นในแต่ละช่วงเวลาที่เหมาะสม จึงขอให้ประชาชนและเอกชนอย่าตื่นตระหนก เพราะไม่ใช่เรื่องที่จะเกิดขึ้นใน 1-2 วันนี้แต่อย่างใด
http://www.settrade.com/S17_ContentDisp ... okerId=IPO
กระทรวงการคลังเตรียมปรับประมาณการเศรษฐกิจปี 2551 ใหม่ในเดือนกุมภาพันธ์หลังจากราคาน้ำมันในตลาดโลกสูงขึ้นมาก ทั้งนี้ยืนยันในปีงบประมาณนี้ จะไม่มีการปรับขึ้นอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มจากร้อยละ 7 แน่นอน แม้จะยอมรับต้องปรับโครงสร้างภาษีใหม่ก็ตาม
นายสมชัย สัจจพงษ์ โฆษกกระทรวงการคลัง เปิดเผยว่า กระทรวงการคลังเตรียมปรับประมาณการเศรษฐกิจไทยในปี 2551 ใหม่เดือน ก.พ.นี้ หลังจากราคาน้ำมันในตลาดโลกสูงขึ้นมาก รวมทั้งมีปัจจัยเสี่ยงภายนอกที่ต้องจับตาอย่างใกล้ชิดคือเรื่องโรคระบาด โดยเฉพาะไข้หวัด ซึ่งจากการศึกษาบทวิจัยทางการแพทย์ของสหรัฐฯพบว่าเป็นปีที่ครบรอบวัฐจักร 12 ปีของไข้หวัดใหญ่ ประกอบกับสหรัฐฯเองได้ระวังในเรื่องนี้อย่างมาก หากเกิดขึ้นจริงจะเป็นปัจจัยสำคัญอีกตัวหนึ่งที่มีผลต่อเศรษฐกิจไทยโดยเฉพาะผลกระทบต่อการท่องเที่ยว
อย่างไรก็ตาม นายสมชัย กล่าวว่า ในช่วงเวลานี้เร็วเกินไปที่จะประเมินสถานการณ์ทั้งหมด เพราะยังอยู่ในช่วงต้นปี แต่กระทรวงการคลังจะติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิดต่อไป และยังเชื่อมั่นว่าเศรษฐกิจไทยสามารถขยายตัวได้ในระดับที่ร้อยละ 5 แน่นอน เพราะเชื่อว่าในอีก 1 เดือนข้างหน้าราคาน้ำมันต้องลดลง เพราะได้รับแรงกดดัน จากกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำ ที่ออกมาตรการกดดันให้กลุ่มประเทศผู้ส่งออกน้ำมัน หรือโอเปกเพิ่มกำลังการผลิต รวมทั้งการที่เศรษฐกิจสหรัฐฯชะลอตัวทำให้การบริโภคน้ำมันลดลง
นอกจากนี้ นายสมชัย ยังยืนยันว่า ตั้งแต่บัดนี้จนถึงเดือนกันยายนนี้ กระทรวงการคลังยังไม่มีนโยบายที่จะปรับขึ้นอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มจากร้อยละ 7 เป็นร้อยละ 8 หรือร้อยละ 10 ตามที่มีกระแสข่าวออกไป เพราะต้องขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐบาล แม้ว่าการปรับขึ้นอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มจะเป็นแหล่งรายได้สำคัญของรัฐบาล หากปรับขึ้นร้อยละ 1 จะทำให้รายได้ของประเทศเพิ่มขึ้นถึง 30,000 ล้านบาท แต่ก็ถือว่าเป็นรายได้แหล่งสุดท้ายเช่นกันที่รัฐบาลต้องให้ความสำคัญและต้องคำนึงถึงปัจจัยอื่นประกอบอีกมาก ซึ่งกระทรวงการคลังมีแผนปรับปรุงโครงสร้างภาษีเสนอให้รัฐบาลชุดใหม่พิจารณาจริงเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ เพราะในอีก 10 ปี ข้างหน้า รัฐบาลต้องมีรายจ่ายสูงถึง 2.8 ล้านล้านบาท ขณะที่มีรายได้ต่ำกว่า ร้อยละ 3-4 จึงต้องมีการปรับปรุงโครงสร้างภาษีใหม่ทั้งหมด แต่ไม่ได้ปรับขึ้นเฉพาะภาษีมูลค่าเพิ่มเท่านั้น มีภาษีอีกหลายประเภทที่เสนอให้ปรับลดและปรับขึ้นในแต่ละช่วงเวลาที่เหมาะสม จึงขอให้ประชาชนและเอกชนอย่าตื่นตระหนก เพราะไม่ใช่เรื่องที่จะเกิดขึ้นใน 1-2 วันนี้แต่อย่างใด
http://www.settrade.com/S17_ContentDisp ... okerId=IPO
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news09/01/08
โพสต์ที่ 598
ต่างชาติขายไม่เลิก วันนี้ขายอีก 1.4 พันล้านบาท ส่วนสถาบันในประเทศเริ่มซื้อเป็นเพื่อนรายย่อยแล้ว
--------------------------------------------------------------------------------
Posted on Wednesday, January 09, 2008
ต่างชาติ ขายหุ้นปรับพอร์ตอย่างต่อเนื่อง วันนี้อีก 1.4 พันล้านบาท เพิ่มยอดขายสุทธิรวม 9 วันแรกของปีใหม่ เกิน 1.4 หมื่นล้านบาท ปล่อยให้รายย่อยซื้อรับเหมาเป็นหลัก แต่วันนี้ สถาบันในประเทศ เริ่มหันมาซื้อเป็นเพื่อนแล้ว
ตัวเลขซื้อขายแยกประเภท ประจำวันพุธที่ 9 มกราคม 2551
(หน่วย / ล้านบาท)
ลูกค้าทั่วไป ซื้อ 10,303.94 ขาย 9,827.75 รวม ซื้อสุทธิ 476.19
สถาบันในประเทศ ซื้อ 4,095.11 ขาย 3,155.88 รวม ซื้อสุทธิ 939.23
ต่างประเทศ ซื้อ 4,834.95 ขาย 6,250.37 รวม ขายสุทธิ 1,415.42
ยอดสะสม ตลอดเดือนมกราคม 2551 (หน่วย / ล้านบาท)
ลูกค้าทั่วไป ซื้อ 63,892.13 ขาย 50,436.67 รวม ซื้อสุทธิ 13,455.46
สถาบันในประเทศ ซื้อ 18,457.11 ขาย 17,595.04 รวม ซื้อสุทธิ 862.07
ต่างประเทศ ซื้อ 21,655.62 ขาย 35,973.15 รวม ขายสุทธิ 14,317.53
ตัวเลขซื้อขายแยกประเภท ตลอดปี 2550 (หน่วย / ล้านบาท)
ลูกค้าทั่วไป ซื้อ 63,892.13 ขาย 50,436.67 รวม ซื้อสุทธิ 13,455.46
สถาบันในประเทศ ซื้อ 18,457.11 ขาย 17,595.04 รวม ซื้อสุทธิ 862.07
ต่างประเทศ ซื้อ 21,655.62 ขาย 35,973.15 รวม ขายสุทธิ 14,317.53
http://www.moneychannel.co.th/BreakingN ... fault.aspx
--------------------------------------------------------------------------------
Posted on Wednesday, January 09, 2008
ต่างชาติ ขายหุ้นปรับพอร์ตอย่างต่อเนื่อง วันนี้อีก 1.4 พันล้านบาท เพิ่มยอดขายสุทธิรวม 9 วันแรกของปีใหม่ เกิน 1.4 หมื่นล้านบาท ปล่อยให้รายย่อยซื้อรับเหมาเป็นหลัก แต่วันนี้ สถาบันในประเทศ เริ่มหันมาซื้อเป็นเพื่อนแล้ว
ตัวเลขซื้อขายแยกประเภท ประจำวันพุธที่ 9 มกราคม 2551
(หน่วย / ล้านบาท)
ลูกค้าทั่วไป ซื้อ 10,303.94 ขาย 9,827.75 รวม ซื้อสุทธิ 476.19
สถาบันในประเทศ ซื้อ 4,095.11 ขาย 3,155.88 รวม ซื้อสุทธิ 939.23
ต่างประเทศ ซื้อ 4,834.95 ขาย 6,250.37 รวม ขายสุทธิ 1,415.42
ยอดสะสม ตลอดเดือนมกราคม 2551 (หน่วย / ล้านบาท)
ลูกค้าทั่วไป ซื้อ 63,892.13 ขาย 50,436.67 รวม ซื้อสุทธิ 13,455.46
สถาบันในประเทศ ซื้อ 18,457.11 ขาย 17,595.04 รวม ซื้อสุทธิ 862.07
ต่างประเทศ ซื้อ 21,655.62 ขาย 35,973.15 รวม ขายสุทธิ 14,317.53
ตัวเลขซื้อขายแยกประเภท ตลอดปี 2550 (หน่วย / ล้านบาท)
ลูกค้าทั่วไป ซื้อ 63,892.13 ขาย 50,436.67 รวม ซื้อสุทธิ 13,455.46
สถาบันในประเทศ ซื้อ 18,457.11 ขาย 17,595.04 รวม ซื้อสุทธิ 862.07
ต่างประเทศ ซื้อ 21,655.62 ขาย 35,973.15 รวม ขายสุทธิ 14,317.53
http://www.moneychannel.co.th/BreakingN ... fault.aspx
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news10/01/08
โพสต์ที่ 599
จัดพอร์ตปลอดภัย
ตลาดหุ้นไทยยังผันผวน เปิดตลาดเช้าวิ่งวุ่นอยู่ในแดนลบแต่ในช่วงบ่ายยังโงหัวขึ้นมาในแดนบวกได้ แต่ท้ายสุดฝรั่งยังเทขายสุทธิอีกว่า 1,419 ล้านบาท ด้านโบรกยังมองไม่เห็นจุดต่ำสุด แนะสร้างภูมิคุ้มกันภัยให้ตัวเอง เลือกหุ้นปลอดภัยตั้งรับ นำทีมหุ้นปันผลเด่น ให้ผลตอบแทน 6-7% ผสมโรงหุ้นคอมมูดิตี้หนุน
นายชัย จิรเสวีนุประพันธ์ ผู้จัดการฝ่ายกลยุทธ์การลงทุน บริษัทหลักทรัพย์ พัฒนสิน จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ตลาดหุ้นวานนี้ (9 ม.ค.2550) ยังคงมีความผันผวน โดยเปิดตลาดหุ้นดัชนีปรับตัวลงในแดนลบ ก่อนจะมีแรงซื้อกลับดันดัชนีกลับมาปิดในแดนบวกได้ท่ามกลางความกังวลว่าเศรษฐกิจสหรัฐมีความเสี่ยงที่อาจเข้าสู่ภาวะถดถอย รวมถึงเรื่องการเมืองในประเทศที่ยังมีความไม่แน่นอนอยู่
ตลาดหุ้นไทยยังผันผวน เปิดตลาดเช้าวิ่งวุ่นอยู่ในแดนลบแต่ในช่วงบ่ายยังโงหัวขึ้นมาในแดนบวกได้ แต่ท้ายสุดฝรั่งยังเทขายสุทธิอีกว่า 1,419 ล้านบาท ด้านโบรกยังมองไม่เห็นจุดต่ำสุด แนะสร้างภูมิคุ้มกันภัยให้ตัวเอง เลือกหุ้นปลอดภัยตั้งรับ นำทีมหุ้นปันผลเด่น ให้ผลตอบแทน 6-7% ผสมโรงหุ้นคอมมูดิตี้หนุน
นายชัย จิรเสวีนุประพันธ์ ผู้จัดการฝ่ายกลยุทธ์การลงทุน บริษัทหลักทรัพย์ พัฒนสิน จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ตลาดหุ้นวานนี้ (9 ม.ค.2550) ยังคงมีความผันผวน โดยเปิดตลาดหุ้นดัชนีปรับตัวลงในแดนลบ ก่อนจะมีแรงซื้อกลับดันดัชนีกลับมาปิดในแดนบวกได้ท่ามกลางความกังวลว่าเศรษฐกิจสหรัฐมีความเสี่ยงที่อาจเข้าสู่ภาวะถดถอย รวมถึงเรื่องการเมืองในประเทศที่ยังมีความไม่แน่นอนอยู่
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news11/01/08
โพสต์ที่ 600
BOIเผยนักลงทุนฟื้นความเชื่อมั่น
บีโอไอเผยยอดขอรับส่งเสริมปี2550 ทะลุเป้า 6.55 แสนล้านบาท สูงกว่าปี 2549 ถึง32 % ส่วนการลงทุนทางตรงจากต่างประเทศปี 2550 สูงกว่า 5 แสนล้านบาท หรือขยายตัวถึง 63% โดยกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจต่างขยายการลงทุน ทั้งญี่ปุ่น สหรัฐฯ สหภาพยุโรป คาดปี25 51 กลุ่มชิ้นส่วนยานยนต์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในยานยนต์ จะลงทุนเพิ่มขึ้นอีกมาก
นายสาธิต ชาญเชาวน์กุล เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) เปิดเผยถึงภาพรวมการลงทุนในปี 2550 ที่ผ่านมา ซึ่งถูกมองว่าจะได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ทางการเมืองและเศรษฐกิจ แต่ปรากฏว่า นักลงทุนทั้งไทยและต่างประเทศยังคงเชื่อมั่นในศักยภาพของประเทศไทย และตัดสินใจที่จะเข้ามาลงทุนเพิ่มขึ้น โดยปีที่ผ่านมา มีนักลงทุนยื่นขอรับส่งเสริมทั้งสิ้น 1,318 โครงการ รวมมูลค่าเงินลงทุน 655,800 ล้านบาท เพิ่มขึ้นกว่าปี 2549 ถึง32% ซึ่งมีมูลค่าประมาณ 494,200 ล้านบาท
อุตสาหกรรมที่นักลงทุนยื่นขอรับส่งเสริมมากที่สุดคือ อุตสาหกรรมบริการและสาธารณูปโภค จำนวน 341 โครงการ รวมมูลค่าเงินลงทุน 172,700 ล้านบาท รองลงมาเป็นอุตสาหกรรมยานยนต์ ชิ้นส่วน และเครื่องจักร จำนวน 273 โครงการ รวมมูลค่าเงินลงทุน 171,200 ล้านบาท
อันดับ 3 คือ อุตสาหกรรมปิโตรเคมี กระดาษและพลาสติก จำนวน 173 โครงการ มูลค่าเงินลงทุน 151,800 ล้านบาท ตามด้วยอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ไฟฟ้า จำนวน 231 โครงการ มูลค่าเงินลงทุน 81,200 ล้านบาท
สำหรับการลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) ในปี 2550 มีจำนวน 846 โครงการ คิดเป็นมูลค่ารวม 502,737 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 63 เมื่อเทียบกับมูลค่าเงินลงทุนทางตรงจากต่างประเทศในปี 2549 ที่มูลค่า 307,668 ล้านบาท
อุตสาหกรรมที่นักลงทุนต่างชาติขอรับส่งเสริมมากที่สุดคือ ยานยนต์ ชิ้นส่วนและเครื่องจักร 153,531 ล้านบาท รองลงมาเป็นอุตสาหกรรมบริการและสาธารณูปโภค 124,805 ล้านบาท อันดับ 3 อุตสาหกรรมปิโตรเคมี 100,010ล้านบาท อันดับ 4 อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วน และเครื่องใช้ไฟฟ้า 78,985 ล้านบาท
ประเทศที่ลงทุนในไทยมากที่สุดยังคงเป็นญี่ปุ่น ยื่นขอรับส่งเสริมจำนวน 330 โครงการ มูลค่า 149,071 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 34% เมื่อเทียบกับมูลค่าในปี 2549 ซึ่งมีมูลค่าประมาณ 110,476 ล้านบาท รองลงมาคือ สหรัฐอเมริกา มีมูลค่าเงินลงทุน 85,752 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 131% เมื่อเทียบกับปี 2549 ซึ่งมีมูลค่า 37,059 ล้านบาท ตามด้วยกลุ่มประเทศในสหภาพยุโรป 74,145 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 142% เมื่อเทียบกับปี 2549 ซึ่งมีมูลค่า 30,532 ล้านบาท
สำหรับประเทศอื่นๆ ที่มีมูลค่าเงินลงทุนขยายตัวอย่างมากในปี 2550 ได้แก่ เยอรมนี มูลค่าเงินลงทุนของโครงการที่ยื่นขอรับส่งเสริม 37,080 ล้านบาท เพิ่มขึ้นถึง 2,800 % หรือ 28 เท่า เมื่อเทียบกับปี 2549 ซึ่งมีมูลค่าเพียง 1,279 ล้านบาท และเกาหลีใต้ 11,568 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 121% เมื่อเทียบกับปี 2549 ซึ่งมีมูลค่า 5,230 ล้านบาท และประเทศจีน 17,175 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 38% เมื่อเทียบกับปี 2549 ซึ่งมีมูลค่า 12,306 ล้านบาท
สำหรับการลงทุนในปี 2551 คาดว่าจะยังมีการลงทุน ในโครงการที่เกี่ยวเนื่องหรือเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมยานยนต์ เช่น ชิ้นส่วนยานยนต์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในยานยนต์ ลงทุนเพิ่มขึ้นอีกมาก เพื่อรองรับโครงการผลิตรถยนต์ที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน นอกจากนี้ ยังมีสัญญาณแสดงความเชื่อมั่นเกี่ยวกับการลงทุนจากกลุ่มผู้ประกอบการนิคมอุตสาหกรรมที่เตรียมขยายพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมเพื่อรองรับการลงทุนกลุ่มใหม่ๆ ถึง 9 โครงการ มูลค่าเงินลงทุนประมาณ 8,000 ล้านบาท
http://www.thunhoon.com/home/
บีโอไอเผยยอดขอรับส่งเสริมปี2550 ทะลุเป้า 6.55 แสนล้านบาท สูงกว่าปี 2549 ถึง32 % ส่วนการลงทุนทางตรงจากต่างประเทศปี 2550 สูงกว่า 5 แสนล้านบาท หรือขยายตัวถึง 63% โดยกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางเศรษฐกิจต่างขยายการลงทุน ทั้งญี่ปุ่น สหรัฐฯ สหภาพยุโรป คาดปี25 51 กลุ่มชิ้นส่วนยานยนต์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในยานยนต์ จะลงทุนเพิ่มขึ้นอีกมาก
นายสาธิต ชาญเชาวน์กุล เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) เปิดเผยถึงภาพรวมการลงทุนในปี 2550 ที่ผ่านมา ซึ่งถูกมองว่าจะได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ทางการเมืองและเศรษฐกิจ แต่ปรากฏว่า นักลงทุนทั้งไทยและต่างประเทศยังคงเชื่อมั่นในศักยภาพของประเทศไทย และตัดสินใจที่จะเข้ามาลงทุนเพิ่มขึ้น โดยปีที่ผ่านมา มีนักลงทุนยื่นขอรับส่งเสริมทั้งสิ้น 1,318 โครงการ รวมมูลค่าเงินลงทุน 655,800 ล้านบาท เพิ่มขึ้นกว่าปี 2549 ถึง32% ซึ่งมีมูลค่าประมาณ 494,200 ล้านบาท
อุตสาหกรรมที่นักลงทุนยื่นขอรับส่งเสริมมากที่สุดคือ อุตสาหกรรมบริการและสาธารณูปโภค จำนวน 341 โครงการ รวมมูลค่าเงินลงทุน 172,700 ล้านบาท รองลงมาเป็นอุตสาหกรรมยานยนต์ ชิ้นส่วน และเครื่องจักร จำนวน 273 โครงการ รวมมูลค่าเงินลงทุน 171,200 ล้านบาท
อันดับ 3 คือ อุตสาหกรรมปิโตรเคมี กระดาษและพลาสติก จำนวน 173 โครงการ มูลค่าเงินลงทุน 151,800 ล้านบาท ตามด้วยอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ไฟฟ้า จำนวน 231 โครงการ มูลค่าเงินลงทุน 81,200 ล้านบาท
สำหรับการลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) ในปี 2550 มีจำนวน 846 โครงการ คิดเป็นมูลค่ารวม 502,737 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 63 เมื่อเทียบกับมูลค่าเงินลงทุนทางตรงจากต่างประเทศในปี 2549 ที่มูลค่า 307,668 ล้านบาท
อุตสาหกรรมที่นักลงทุนต่างชาติขอรับส่งเสริมมากที่สุดคือ ยานยนต์ ชิ้นส่วนและเครื่องจักร 153,531 ล้านบาท รองลงมาเป็นอุตสาหกรรมบริการและสาธารณูปโภค 124,805 ล้านบาท อันดับ 3 อุตสาหกรรมปิโตรเคมี 100,010ล้านบาท อันดับ 4 อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วน และเครื่องใช้ไฟฟ้า 78,985 ล้านบาท
ประเทศที่ลงทุนในไทยมากที่สุดยังคงเป็นญี่ปุ่น ยื่นขอรับส่งเสริมจำนวน 330 โครงการ มูลค่า 149,071 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 34% เมื่อเทียบกับมูลค่าในปี 2549 ซึ่งมีมูลค่าประมาณ 110,476 ล้านบาท รองลงมาคือ สหรัฐอเมริกา มีมูลค่าเงินลงทุน 85,752 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 131% เมื่อเทียบกับปี 2549 ซึ่งมีมูลค่า 37,059 ล้านบาท ตามด้วยกลุ่มประเทศในสหภาพยุโรป 74,145 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 142% เมื่อเทียบกับปี 2549 ซึ่งมีมูลค่า 30,532 ล้านบาท
สำหรับประเทศอื่นๆ ที่มีมูลค่าเงินลงทุนขยายตัวอย่างมากในปี 2550 ได้แก่ เยอรมนี มูลค่าเงินลงทุนของโครงการที่ยื่นขอรับส่งเสริม 37,080 ล้านบาท เพิ่มขึ้นถึง 2,800 % หรือ 28 เท่า เมื่อเทียบกับปี 2549 ซึ่งมีมูลค่าเพียง 1,279 ล้านบาท และเกาหลีใต้ 11,568 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 121% เมื่อเทียบกับปี 2549 ซึ่งมีมูลค่า 5,230 ล้านบาท และประเทศจีน 17,175 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 38% เมื่อเทียบกับปี 2549 ซึ่งมีมูลค่า 12,306 ล้านบาท
สำหรับการลงทุนในปี 2551 คาดว่าจะยังมีการลงทุน ในโครงการที่เกี่ยวเนื่องหรือเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมยานยนต์ เช่น ชิ้นส่วนยานยนต์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในยานยนต์ ลงทุนเพิ่มขึ้นอีกมาก เพื่อรองรับโครงการผลิตรถยนต์ที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน นอกจากนี้ ยังมีสัญญาณแสดงความเชื่อมั่นเกี่ยวกับการลงทุนจากกลุ่มผู้ประกอบการนิคมอุตสาหกรรมที่เตรียมขยายพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมเพื่อรองรับการลงทุนกลุ่มใหม่ๆ ถึง 9 โครงการ มูลค่าเงินลงทุนประมาณ 8,000 ล้านบาท
http://www.thunhoon.com/home/