เชิญท่าน ชาติชาย มาดมั่น ถกเรื่อง decouple ครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 375
- ผู้ติดตาม: 0
เชิญท่าน ชาติชาย มาดมั่น ถกเรื่อง decouple ครับ
โพสต์ที่ 1
วันนี้มีโอกาสได้อ่านหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ แล้วคุณสุทธิชัย หยุ่น กล่าวถึงเรื่อง decouple ไม่ทราบว่าท่านชาติชาย มาดมั่นมีความเห็นอย่างไรครับ
สำหรับผม
1.กำลังหาข้อมูลและhistory+ปัจจัยในการเกิด decouple in economics ครับ
ขอบคุณครับ
สำหรับผม
1.กำลังหาข้อมูลและhistory+ปัจจัยในการเกิด decouple in economics ครับ
ขอบคุณครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 375
- ผู้ติดตาม: 0
เชิญท่าน ชาติชาย มาดมั่น ถกเรื่อง decouple ครับ
โพสต์ที่ 2
ECB Policymaker Questions Decoupling
Casting doubt on a key theory about how Europe will weather a U.S. slowdown, European Central Bank Governing Council member Christian Noyer said the hit euro-zone confidence is taking from financial-market turbulence could challenge the idea that bloc will decouple from the U.S. business cycle.
The comments from Mr. Noyer, often seen as a moderate voice on the ECB council, are among the strongest signs yet that policymakers are wavering on the extent to which the bloc can wrench itself from the spillover effects of a stateside slump and provide fodder for a growing minority of analysts forecasting the bank will lower its key interest rate next year.
Financial market turbulences may affect the real economy through several channels, Mr. Noyer said at a conference in Paris today. There is, obviously, a potential effect on confidence. We are currently seeing deterioration in business and consumer surveys in the euro area, although from very high levels. This may put a question mark over our hopes that Europe could decouple its cyclical evolution from the evolution of financial markets and uncertainties in the U.S. outlook.
For months, ECB policymakers have stressed a resilient global economy should keep Europe humming even amid a U.S. slump. ECB President Jean-Claude Trichet said recently in Mumbai, the vigor of growth in emerging markets and its resilience are good news for all of us. It suggests that the world economy may be better able to rely on the dynamism of these economies, in particular should growth in other regions lose some momentum.
But Mr. Noyers comments come atop subtler suggestions policymakers could be losing the decoupling faith. At a press conference after the ECBs last rate-setting meeting on Nov. 8, Mr. Trichet cited strong corporate profits and low unemployment among factors that would keep euro-area growth robust in 2008. But he toned down his assessment of the boost coming from emerging markets, noting the US slide would be partly offset by the sustained strength of emerging market economies. In months prior, Mr. Trichet had forecast the emerging market effect would largely offset a stateside slump.
The ECB meets this Thursday, Dec. 6. Though the key policy rate is likely to stay at 4%, perceptions of how much the bloc can decouple from the US could loom large in upcoming interest-rate decisions. Most analysts still see the bank on hold through 2008, but markets are pricing in a small chance the bank could cut a quarter-point by mid-year. Joellen Perry
สรุปคือ the US slide would be partly offset by the sustained strength of emerging market economies.
Casting doubt on a key theory about how Europe will weather a U.S. slowdown, European Central Bank Governing Council member Christian Noyer said the hit euro-zone confidence is taking from financial-market turbulence could challenge the idea that bloc will decouple from the U.S. business cycle.
The comments from Mr. Noyer, often seen as a moderate voice on the ECB council, are among the strongest signs yet that policymakers are wavering on the extent to which the bloc can wrench itself from the spillover effects of a stateside slump and provide fodder for a growing minority of analysts forecasting the bank will lower its key interest rate next year.
Financial market turbulences may affect the real economy through several channels, Mr. Noyer said at a conference in Paris today. There is, obviously, a potential effect on confidence. We are currently seeing deterioration in business and consumer surveys in the euro area, although from very high levels. This may put a question mark over our hopes that Europe could decouple its cyclical evolution from the evolution of financial markets and uncertainties in the U.S. outlook.
For months, ECB policymakers have stressed a resilient global economy should keep Europe humming even amid a U.S. slump. ECB President Jean-Claude Trichet said recently in Mumbai, the vigor of growth in emerging markets and its resilience are good news for all of us. It suggests that the world economy may be better able to rely on the dynamism of these economies, in particular should growth in other regions lose some momentum.
But Mr. Noyers comments come atop subtler suggestions policymakers could be losing the decoupling faith. At a press conference after the ECBs last rate-setting meeting on Nov. 8, Mr. Trichet cited strong corporate profits and low unemployment among factors that would keep euro-area growth robust in 2008. But he toned down his assessment of the boost coming from emerging markets, noting the US slide would be partly offset by the sustained strength of emerging market economies. In months prior, Mr. Trichet had forecast the emerging market effect would largely offset a stateside slump.
The ECB meets this Thursday, Dec. 6. Though the key policy rate is likely to stay at 4%, perceptions of how much the bloc can decouple from the US could loom large in upcoming interest-rate decisions. Most analysts still see the bank on hold through 2008, but markets are pricing in a small chance the bank could cut a quarter-point by mid-year. Joellen Perry
สรุปคือ the US slide would be partly offset by the sustained strength of emerging market economies.
- path2544
- Verified User
- โพสต์: 543
- ผู้ติดตาม: 0
ขออนุญาติ
โพสต์ที่ 3
ขออนุญาติ ตอบแทน
จาก Link ของ พี่มนตรี ในกระทู้นี้ http://www.thaivi.com/webboard/viewtopi ... 51&start=0
จาก Link ของ พี่มนตรี ในกระทู้นี้ http://www.thaivi.com/webboard/viewtopi ... 51&start=0
อยากให้ทุกคนอ่านบทความนี้กันครับ อย่างน้อยก็มีข้อมูลเชิงประจักท์ให้เห็นบ้างครับ
http://www.fpo.go.th/content.php?action ... 0&id=20632
ไม่เก่งทั้งวิเคราะห์เทคนิค ปัจจัยพื้นฐาน แต่เราก็ยังรั้นที่จะรวยเพราะหุ้น
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
ความเห็น
โพสต์ที่ 4
เรียนคุณ econometrica ที่นับถือ
ก่อนอื่นต้องขอขอบคุณที่ให้เกียรติ เชิญชวนมาสนทนากันครับ และขอออกตัวก่อนครับ ว่าแท้จริงแล้วผมเองไม่ประสีประสากับเศรษฐศาสตร์มหภาคเลยครับ จึงขอโอกาสนี้ให้ผู้รอบรู้ท่านอื่นๆในสถานที่นี้ได้ร่วมแสดงความเห็นร่วมกันจะดีกว่า
สำหรับความเห็นของผมในเรื่องนี้นั้นมีดังนี้ครับ
เหตุการณ์หลายๆครั้งที่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจ(economic crisis)ขึ้นในโลกนี้ ได้ทำให้ผลกระทบอย่างมากต่อประเทศอื่นๆที่เรียกว่า ปั่นป่วนทั้งโลก global turbulence เพราะในโลกปัจจุบันแต่ละประเทศพยายามจะเปิดประเทศ ทำให้เศรษฐกิจของแต่ละประเทศล้วนเชื่อมโยงถึงกันและกัน มากบ้างน้อยบ้าง ดังนั้นหลังวิกฤติเกิดการเรียนรู้ขึ้นอย่างมากมาย ความเสียหายความเจ็บปวดที่ได้รับจากวิกฤติแต่ละครั้ง ทำให้แต่ละประเทศพยายามจะสร้างภูมิคุ้มกัน( immunization) ให้แก่ประเทศ หรือกลุ่มประเทศของตนเอง โดยลดการพึงพิงเศรษฐกิจกับประเทศใดประเทศหนึ่งหรือกลุ่มประเทศใดกลุ่มหนึ่งเป็นหลัก จะเห็นได้จากเกิดความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ( intra-group economy), ระหว่างกลุ่มประเทศ(inter-group economy ) ภายใต้กรอบการค้าเสรีระหว่างกัน โดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่า fta ดังนั้น ในมุมมองของผมแล้วตอนนี้จะไม่ได้มีแค่สามขั้วแล้ว แต่จะเกิดกลุ่มทางเศรษฐกิจขึ้นอีกมากมาย และขนาดของแต่ละกลุ่มจะมีขนาดเศรษฐกิจในระดับใกล้เคียงกัน เพื่ออำนาจต่อรองที่ทัดเทียมกัน ไม่เฉพาะแค่ทางเศรษฐกิจครับ รวมไปถึงความมั่นคงในด้านอื่นๆด้วย
ต่อจากนี้ไปจะเกิด FTA ขึ้นอย่างมากมาย ไม่ว่า fta ที่เกิดขึ้นภายในกลุ่มประเทศ( intra-group FTA) และระหว่างกลุ่มประเทศ( inter-group FTA)สิ่งที่จะมีผลกระทบอย่างใหญ่หลวงก็คือข้อตกลงทางการค้าที่เกิดขึ้นจะก่อจะเกิดโอกาสและอุปสรรคกับบริษัทอย่างรวดเร็วและรุนแรง จะก่อให้เกิดดาวรุ่งและดาวร่วงในชั่วเวลาข้ามคืน
สำหรับบทความเต็มๆที่พูดถึงเรื่องGlobal Decoupling ดูได้ที่นี่ ครับ
http://www.fpo.go.th/scripts/getpdf.php?id=1458
ก่อนอื่นต้องขอขอบคุณที่ให้เกียรติ เชิญชวนมาสนทนากันครับ และขอออกตัวก่อนครับ ว่าแท้จริงแล้วผมเองไม่ประสีประสากับเศรษฐศาสตร์มหภาคเลยครับ จึงขอโอกาสนี้ให้ผู้รอบรู้ท่านอื่นๆในสถานที่นี้ได้ร่วมแสดงความเห็นร่วมกันจะดีกว่า
สำหรับความเห็นของผมในเรื่องนี้นั้นมีดังนี้ครับ
เหตุการณ์หลายๆครั้งที่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจ(economic crisis)ขึ้นในโลกนี้ ได้ทำให้ผลกระทบอย่างมากต่อประเทศอื่นๆที่เรียกว่า ปั่นป่วนทั้งโลก global turbulence เพราะในโลกปัจจุบันแต่ละประเทศพยายามจะเปิดประเทศ ทำให้เศรษฐกิจของแต่ละประเทศล้วนเชื่อมโยงถึงกันและกัน มากบ้างน้อยบ้าง ดังนั้นหลังวิกฤติเกิดการเรียนรู้ขึ้นอย่างมากมาย ความเสียหายความเจ็บปวดที่ได้รับจากวิกฤติแต่ละครั้ง ทำให้แต่ละประเทศพยายามจะสร้างภูมิคุ้มกัน( immunization) ให้แก่ประเทศ หรือกลุ่มประเทศของตนเอง โดยลดการพึงพิงเศรษฐกิจกับประเทศใดประเทศหนึ่งหรือกลุ่มประเทศใดกลุ่มหนึ่งเป็นหลัก จะเห็นได้จากเกิดความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ( intra-group economy), ระหว่างกลุ่มประเทศ(inter-group economy ) ภายใต้กรอบการค้าเสรีระหว่างกัน โดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่า fta ดังนั้น ในมุมมองของผมแล้วตอนนี้จะไม่ได้มีแค่สามขั้วแล้ว แต่จะเกิดกลุ่มทางเศรษฐกิจขึ้นอีกมากมาย และขนาดของแต่ละกลุ่มจะมีขนาดเศรษฐกิจในระดับใกล้เคียงกัน เพื่ออำนาจต่อรองที่ทัดเทียมกัน ไม่เฉพาะแค่ทางเศรษฐกิจครับ รวมไปถึงความมั่นคงในด้านอื่นๆด้วย
ต่อจากนี้ไปจะเกิด FTA ขึ้นอย่างมากมาย ไม่ว่า fta ที่เกิดขึ้นภายในกลุ่มประเทศ( intra-group FTA) และระหว่างกลุ่มประเทศ( inter-group FTA)สิ่งที่จะมีผลกระทบอย่างใหญ่หลวงก็คือข้อตกลงทางการค้าที่เกิดขึ้นจะก่อจะเกิดโอกาสและอุปสรรคกับบริษัทอย่างรวดเร็วและรุนแรง จะก่อให้เกิดดาวรุ่งและดาวร่วงในชั่วเวลาข้ามคืน
สำหรับบทความเต็มๆที่พูดถึงเรื่องGlobal Decoupling ดูได้ที่นี่ ครับ
http://www.fpo.go.th/scripts/getpdf.php?id=1458