7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

การลงทุนแบบเน้นคุณค่า ลงทุนหุ้น VI เน้นที่ปัจจัยพื้นฐานเป็นหลัก

โพสต์ โพสต์
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 1

โพสต์

$700 billion may not be enough to bail out Wall Street says one
analyst, given the lack of transparency and the length and breadth of financial markets involved.

Marc Faber, editor & publisher of 'The Gloom, Boom & Doom Report', told CNBC's Asia Squawk Box on Friday, he doubts that $700 billion would make any difference when you consider the size of U.S. credit markets.

"Looking at the size of the credit market in the United States, the equities market, the housing market and then looking at the size of the credit default swap market, which is around $62 trillion now, and the world wide derivatives market which is now $1,300 trillion dollars, I very much doubt that $700 billion would make any difference at all. In fact, I think it's a bad proposal in the sense that it will distort market pricing," Faber said.

Faber says that the fundamental problem is not falling home prices as U.S. Treasury Secretary Henry Paulson suggests.

"The problem is that too much money was lent against homes at inflated asset values. In other words that means at the peak of the market, people went and lent them 120 percent against the value of the home. And that is the problem—the leverage in the system," Faber said.

He added that the current bailout plan proposed by the Treasury and the U.S. Federal Reserve does not address this leverage problem in the markets.

http://www.cnbc.com/id/26895741
ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 2

โพสต์

Friday, September 26, 2008
Marc Faber: US Needs as Much as $5 Trillion Financial Rescue

Swiss investor Marc Faber, known for a long track record of good calls (he was a commodities bull until late this spring, for instance, when he reversed his view) and a fine grasp of financial markets history, confirms the estimate earlier in the week by Ken Ohmae that the US needs a salvage operation much bigger than the one envisaged by the Treasury plan, and the damage may come to $5 trillion:

   Marc Faber, managing director of Marc Faber Ltd. in Hong Kong, said the U.S. government's rescue package for the financial system may require as much as $5 trillion, seven times the amount Treasury Secretary Henry Paulson has requested....

   ``The $700 billion is really nothing,'' Faber said in a television interview. ``The treasury is just giving out this figure when the end figure may be $5 trillion.''...

   ``The decline in home prices of 20 percent is a relatively minor decline so far and it has created so many problems,'' Faber added. ``The US is in much worse shape'' than Japan was when its stock market crash ushered in a decade-long slump in 1990.



   The problem is excessive leverage, not housing per se.

   Stocks may rally once a bailout package is in place, since on a short-term basis stocks are oversold, but a durable bull market for financial is "out of the question."

   The one bubble that has not been pricked is US Treasuries. Higher interest rates are in the offing.

   While the dollar may decline sharply in the next few days, Fabe

http://www.nakedcapitalism.com/2008/09/ ... -as-5.html
ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 3

โพสต์

30 กันยายน 2551

โวลุ่มกว่า 2 หมื่นล้านบาท .....................

ดูเหมือนคนจะยังไม่หมดอาลัยตายอยาก ................

ดูเหมือนคนจะยังเบื่อ เซ็ง ตลาดหุ้นไม่พอ ................

หรือเปล่า ?????????
ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
Jeng
สมาชิกกิตติมศักดิ์
โพสต์: 14784
ผู้ติดตาม: 1

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 4

โพสต์

5 ล้านๆเหรียญ x 34 นี่เท่ากับ 170 ล้านๆบาท

อืม

เยอะจัง
ภาพประจำตัวสมาชิก
tok
สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
โพสต์: 833
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 5

โพสต์

What Paul Krugman has to say?

September 27, 2008,  8:48 am

Tricky bailout politics

Nouriel Roubini has a characteristically scathing takedown of the Paulson plan, and heres the thing: language aside, his economic analysis is similar to mine. The fundamental problem in the financial system is too little capital; bizarrely, the Treasury chose not to address that problem directly, by (say) purchasing preferred shares in financial institutions. Instead, the plan is premised on the belief that toxic mortgage-related waste is underpriced, and that the Treasury can recapitalize banks on the cheap by fixing the markets error.

The Dodd-Frank changes make the plan less awful, mainly by creating an equity stake. Essentially, this makes it possible for the plan to do the right thing through the back door: use toxic-waste purchases to acquire equity, and hence inject capital after all. Also, the oversight means that Treasury can be prevented from making the plan a pure gift to financial evildoers. But its still not a good plan.

On the other hand, theres no prospect of enacting an actually good plan any time soon. Bush is still sitting in the White House; and anyway, selling voters on large-scale stock purchases would be tough, especially given the cynical attacks sure to come from the right. And the financial crisis is all too real.

So is it better to have no plan than a deeply flawed plan? If it was the original Paulson plan, no plan is better. Dodd-Frank-Paulson may just cross the line lets see what details we have if and when agreement is reached.

If the plan looks not-awful enough, Ill be pro. But I wont be cheering Ill be holding my nose.

http://krugman.blogs.nytimes.com/2008/0 ... -politics/
ภาพประจำตัวสมาชิก
tok
สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
โพสต์: 833
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 6

โพสต์

September 30, 2008,  10:21 am

People I agree with, part one

Via Yves Smith, a very nice piece by John Hussman laying out the balance sheet issue:

Lets return to the basic balance sheet of a typical financial company before the writedowns:

Good Assets: $95
Questionable Assets: $5
TOTAL ASSETS: $100

Liabilities to Customers: $80
Debt to Bondholders: $17
Shareholder Equity: $3
TOTAL LIABILITIES AND SHAREHOLDER EQUITY: $100

Now lets write down the questionable assets - not all the way to zero, but to $2:

Good Assets: $95
Questionable Assets: $2
TOTAL ASSETS: $97

Liabilities to Customers: $80
Debt to Bondholders: $17
Shareholder Equity: $0
TOTAL LIABILITIES AND SHAREHOLDER EQUITY: $97

This shortfall of protection on the liability side of the balance sheet is what causes a run on the institution, because once shareholder equity is gone, the only way to get at the debt to bondholders is for the company to declare bankruptcy.

Hussman then explains why the Paulson plan as originally sold didnt provide any real answer to the problem:

The Treasury plan seeks to buy up those questionable assets and thereby protect the institution against failure. Problem is, suppose the Treasury buys those questionable assets at their going value of $2. Heres the result:

Good Assets: $95
Cash Proceeds from Sale of Questionable Assets to Treasury: $2
TOTAL ASSETS: $97

Liabilities to Customers: $80
Debt to Bondholders: $17
Shareholder Equity: $0
TOTAL LIABILITIES AND SHAREHOLDER EQUITY: $97

Does this transaction protect the institution against failure? No! If you buy the bad assets off the balance sheet at their market value, nothing changes on the liability side!

http://krugman.blogs.nytimes.com/2008/0 ... -part-one/
ภาพประจำตัวสมาชิก
tok
สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
โพสต์: 833
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 7

โพสต์

September 30, 2008,  10:26 am

People I agree with, part two

Jamie Galbraith, pre-House-debacle, offers a jaundiced pro-Dodd-Frank argument essentially the same as mine:

In short, as I said at the beginning, the bill is a vast improvement over the original Treasury proposal. Given the choice between approving or defeating the bill as it stands, I would urge supporting the bill. I do so without illusions. There need be no pretense that it will solve our underlying financial and economic problems. It will not. The purpose, in my view, is to get the financial system and the economy through the year, and into the hands of the next administration. That is a limited purpose, but a legitimate purpose. And it may be the most that can be accomplished for the time being.

He also talks about what should be in a rescue package, emphasizing recapitalization through purchase of preferred shares. Again, I agree.

http://krugman.blogs.nytimes.com/2008/0 ... -part-two/
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 8

โพสต์

Bailout Would Only Prolong Crisis: Jim Rogers


The $700 billion bailout package that Congress is scrambling to pass will only prolong economic woes, legendary investor Jim Rogers, CEO of Rogers Holdings, told CNBC on Wednesday.

"History shows these plans don't work. What does work is to let the market clean itself out," Rogers told "Worldwide Exchange".

Federal Reserve Chairman Ben Bernanke, like his predecessor Alan Greenspan and together with Treasury Secretary Henry Paulson have been intervening in the markets and preventing them from acting naturally, he added.

"Capitalism is where the market does its work. These guys, for the last 8 to10 years, have refused to let the market do its work to clean itself out," Rogers said.

Bernanke and Paulson, have been "dead wrong" for the past two years for telling the public that overall the US economy was fine, "why would anybody listen to them?," he added.

Rogers cited the examples of Russia and South Korea, both marred by crises toward the end of the 1990s, and which afterwards enjoyed years of rapid growth.

"You let things collapse…and you have a clean growth afterwards," he said.

http://www.cnbc.com/id/26969555
ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 9

โพสต์

Nobel Prize Winning Economist: Crisis As Bad As Great Depression Or Worse

Steve Watson
Infowars.net
Wednesday, Sept 17, 2008



Two time Nobel-prize winner and former chief economist of the World Bank, Joseph Stiglitz has warned that the current financial crisis will continue for at least another eighteen months and in many ways represents a worse situation than the one faced by Americans during the great depression of the 1930s.

“You can paper things over for a while but eventually you have to face reality.” Stiglitz told the nationally syndicated Alex Jones show yesterday.

“This is clearly the most serious problem since the great depression and in some ways worse in terms of the financial institutions.” Stiglitz commented, referring to the fact that lenders are unwilling to take risks to finance each other because they no longer have complete access to their own undertakings let alone those of other institutions.

“The reason, in part, is that while some of the same problems that occurred during the great depression and have occurred since, such as excessive leverage, pyramid schemes, bubbles, have happened before, the so called innovation of Wall Street, the financial innovations, that were supposed to manage risk, created a kind of non transparency that is now so great that no one knows exactly the magnitude of the risk they face.”

“It is particularly bad because our financial institutions are based on trust, you put the money in the bank and you trust that you can get your money out, so trust is absolutely essential for the functioning of our financial markets and the functioning of our economy.” he continued.

“The problem is that much of the news on what is going on in the financial markets comes from those who are making money out of the financial markets. So if you were one of the people involved with Lehman Brothers or AIG, you’re going to be talking up the economy. The head of Lehman Brothers was quoted last April as saying we have turned the corner, the economy is on the uptick. And the same thing goes for the president and the secretary of treasury.”

“The fact is that they are involved in salesmanship.”

Describing the current situation as a “top down crisis”, Stiglitz also cited the $3 trillion cost of the Iraq war as a key factor in the economic downturn, saying it has increased the budget deficit and consumed resources that would otherwise promote growth.





“This is the first war in American history that has been totally financed on the credit card… For the last five years as the war has gone on we have been a debt economy. It is the first war since the revolutionary war that we have had to turn to foreigners to finance, 40% of our national debt is now being financed by foreigners… Even as we went into the war we had a big deficit, and yet the president called for tax cuts for upper middle class Americans.” he said.

“And there is another level of trust, those in other countries have to have trust that the American economy is working well, they have to trust that when the president says everything is going well, it is. This administration has really burned that trust, the president said there is no problem, there’s just a few too many houses been built. Well if that is the level of analysis the Untied States is giving about the nature of its economic problems, no wonder everybody around the world is losing confidence. “

Stiglitz is no stranger to positioning himself in opposition to the establishment on the economic front. In October 2001 he caused controversy when he exposed rampant corruption within the IMF and blew the whistle on their nefarious methods of inducing countries to fall under their debt before stripping them of sovereignty and hollowing out their economies.

“It is clear that the Bush administration is not responding to these problems, partly because the problems are of their own making.” Stiglitz asserted.

Over the next twelve months, Stiglitz predicts that house prices will continue to fall, more mortgages will go into foreclosure and more financial firms will be put into crisis.

“I am particularly worried about what I call the ‘real economy’. Basically when the financial system starts getting weak, it is not in a position to provide credit, to provide loans, to provide mortgages and that means in turn that housing prices are going to fall further, businesses are going to contract, unemployment is going to grow and it is a downward vicious cycle… I don’t want to be obsessively pessimistic but you have to be in fantasy land to say that everything is fine, and even to say that we have turned the corner. We’re still in the downward phase of this economic cycle. We should not anticipate emerging from this for a year and a half or longer.”

In a long term prediction 22 months ago, Stiglitz told listeners of the Alex Jones show that he believed a global economic crash would occur within 2 years. With major financial institutions now folding every week, others touting mergers just to stay afloat and stocks continually plummeting on a daily basis it seems that prediction is coming to pass.

Stiglitz stressed that in order to emerge from the crisis, the economy needs a stimulus, that really works, consisting of increased aid for local government, stronger unemployment insurance and more investment in infrastructure.

“I would take advantage of this particular time in order to stimulate our economy in ways that provide the basis of our longer term economic growth. If our economy is growing then we will be better able to manage some of this financial turmoil.” he concluded.
ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 10

โพสต์

ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
chatchai
สมาชิกกิตติมศักดิ์
โพสต์: 11444
ผู้ติดตาม: 1

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 11

โพสต์

ขอบคุณครับ
จงอยู่เหนือความดี อย่าหลงความดี
Dimsum
Verified User
โพสต์: 187
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 12

โพสต์

How Much is $700 Billion?

The short answer: a lot. The long answer: depends on how you look at it.

Whatever your viewpoint, here's how $700 billion the figure inked in the initial dead-in-the-water government bailout bill for Wall Street compares to other vast sums.

NASA in fiscal year 2009 will launch several missions into space and pay for hundreds of people to operate a host of space telescopes and even remote robots on Mars and run a PR and media department that puts most large corporations to shame. The agency's budget: $17.6 billion, or 2.5 percent of the bailout sum.

The National Science Foundation (NSF) has an annual budget of $6.06 billion to support research and education on astronomy, chemistry, materials science, computing, engineering, earth sciences, nanoscience and physics (among others) at more than 1,900 universities and institutions across the United States.

You have to turn to much bigger initiatives, like war and defense, to get beyond this chump change and approach the bailout figure.

From 2003 through the end of fiscal year 2009, Congress has appropriated $606 billion for military operations and other activities associated with the war in Iraq, according to the Congressional Budget Office (CBO). The entire military budget for fiscal 2008 is $481.4 billion.

Social Security is a $608 billion annual program.

Many analysts fear the bailout because the cost must ultimately be borne by taxpayers.

Based on the U.S. Census Bureau's estimate of the current population of about 305 million people, each person would have to pay $2,300 to fund the $700,000,000,000. If each American (including children) paid a dollar a day, it would take more than six years to pay the money in full. One might argue, however, that this $700 billion would be a modest splash in the bucket of national debt, which already stands at well over $9 trillion (which means you already owe $31,642 each).

Even the New York Yankees third baseman Alex Rodriguez would lose sleep over all those zeroes. Currently the top paid major league baseball player, Rodriguez takes home $28 million a year, meaning it would take 25,000 A-Rod salaries to carry the $700 billion.

Nobody is rich enough to pay back this $700 billion by himself. In fact, the Forbes 400 richest list recently came out. It would take most of what these 400 people collectively have a combined net worth of $1.57 trillion to dig out of this mess.

http://www.livescience.com/mysteries/08 ... llars.html
Dimsum
Verified User
โพสต์: 187
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 13

โพสต์

Tuesday September 30, 2008
How Big Is $700,000,000,000.00?

Seven hundred billion dollars. Congress voted not to spend $700,000,000,000.00 on Monday. It's still an amazing amount of money. But how big is it physically? You're in luck. Microsoft threw in a calculator with my copy of Windows (thanks Bill).

First, let's define our terms. A single bill of United States currency is 6.14 by 2.61 by 0.0043 inches. That's .06890922 cubic inches, in case you're thinking of renting a storage locker.

Stack a thousand and you've got a brick of bills 4.3 inches thick. One million dollars is one thousand times as thick--4,300 inches, or 358 feet tall. Multiply by a thousand again and you've hit a billion. That's 4,300,000 inches or 358,333 feet or 67.866 miles tall.

Hold on. We're only at a billion. The bail-out call was for 700 billion. One more trip to the calculator. Now we're at 3,010,000,000 inches, 250,833,333 feet, or 47,506 miles tall. Turn the stack on its side, and it will run from the Kennedy Space Center in Florida to Honolulu, HI ten times (The actual distance is 4,776 miles, so quickly make friends with Warren Buffett for the extra 25 miles of money). And since a bill weighs about one gram, your $700,000,000,000 will weigh around 1,543,235,835 pounds, or 771,618 tons!

Because we often say million and billion and now even trillion together when speaking of government matters, it sounds like they're similar numbers. They are not. Is there even a comparison when a millionaire can stack his bills 358 feet tall while a billionaire's stack goes nearly 68 miles!

No one's sure if Senator Everett Dirksen really said "A billion here, a billion there, and pretty soon you're talking real money," but it's worth bringing up now. Right now we're talking real money!

(Thanks to Greg Wallace who caught an earlier math error--sheesh! - GF)

www.appscout.com/2008/09/how_big_is_70000000000000.php
i_sarut
Verified User
โพสต์: 1808
ผู้ติดตาม: 0

คาดเม็ดเงิน 7 $แสนล.ไม่พอกู้วิกฤตฯ

โพสต์ที่ 14

โพสต์

คาดเม็ดเงิน 7 $แสนล.ไม่พอกู้วิกฤตฯ "บัฟเฟตต์" ชี้ อเมริกันกำลังขวัญเสีย

โดย ผู้จัดการออนไลน์ 2 ตุลาคม 2551 14:39 น.

โบรกฯ คาดทั่วโลกแตะเบรกลงทุน ลุ้นแผนกู้วิกฤตฯ ภาคสอง เข้าสภาล่างศุกร์นี้ แนวโน้มรอดหรือร่วง หวั่นแม้ผ่านจริงแต่เงิน 7 แสนล้านดอลลาร์ อาจไม่พอกู้หนี้เน่า ด้านตลาดหุ้นย่านเอเชีย พร้อมใจร่วงระนาว "บัฟเฟตต์" ชี้สถานการณ์ทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ อยู่ในช่วงเลวร้ายที่สุดเท่าที่เคยประสบในช่วงชีวิตการลงทุน สถาบันการเงินหยุดปล่อยสินเชื่อ ภาคเอกชนจำเป็นต้องดิ้นรนเพิ่มความแข็งแกร่งทางการเงิน ขณะที่อัตราการว่างงานเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ชาวอเมริกันกำลังตกอยู่ในภาวะความหวาดกลัวต่อสิ่งที่เกิดขึ้น

     
      วันนี้ ( 2 ต.ค.) นายอภิสิทธิ์ ลิมป์ธำรงกุล รองผู้อำนวยการฝ่ายวิเคราะห์หลักทรัพย์ บล.เกียรตินาคิน กล่าวถึงกรณีที่วุฒิสภาสหรัฐฯ (สภาบน) ลงมติให้ความเห็นชอบแผนกู้วิกฤติมูลค่า 7 แสนล้านดอลลาร์ ด้วยคะแนนเสียงชนะท่วมท้น 74 ต่อ 25 จะส่งผลให้ร่างกฎหมายดังกล่าวยังไม่ตกไป และจะกลับเข้าสู่การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร (สภาล่าง) หรือสภาคองเกรส อีกครั้ง อาจช่วยลดความกังวลต่อวิกฤตของภาคการเงินไปได้บ้าง
     
      อย่างไรก็ตามในช่วงที่แผนกอบกู้วิกฤตฯ ยังไม่ได้มีข้อสรุปสุดท้ายที่ชัดเจนจากสภาคองเกรส ความเสี่ยงก็ยังคงมีอยู่ ทำให้นักลงทุนบางส่วนอาศัยจังหวะทำกำไร หรือลดความเสี่ยง โดยถือเงินสด เพราะภาพรวมตลาดหุ้นในภูมิภาค ยังถูกกดดันจากแรงขายของนักลงทุนต่างชาติ
     
      ตอนนี้ นักลงทุนน่าจะชะลอการลงทุน เพื่อรอดูความชัดเจนในท้ายที่สุดของแผนการช่วยเหลือสถาบันการเงินยังต้อง เสนอให้สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐฯ พิจารณาต่อไป นอกจากนี้ความไม่แน่ใจต่อประสิทธิภาพของแผนและขนาดของความช่วยเหลือว่าจะ เพียงพอหรือไม่ ขณะที่ทิศทางของตลาดหุ้นในภูมิภาคเอเชียที่ยังปรับลดลงเพื่อประเมินความ เสี่ยงของการลงมติครั้งที่สองของสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งคาดว่าอาจจะมีการลงมติในวันศุกร์ อาจกดดันให้เกิดแรงขายทำกำไรทั่วทุกตลาด
     
      "นักลงทุนกังวลว่าเม็ดเงิน 7 แสนล้าน อาจจะไม่เพียงพอต่อการฟื้นฟูเศรษฐกิจ เนื่องจากสถาบันการเงินหลายแห่งทั่วโลก กำลังตกต่ำจากวิกฤตการเงินที่เป็นอยู่ในขณะนี้มากขึ้นอย่างต่อเนื่อง"
     
      เช่นเดียวกับตลาดโภคภัณฑ์และตลาดการเงิน ที่ต่างได้รับผลกระทบจากปัญหาเศรษฐกิจในครั้งนี้ด้วย โดยราคาน้ำมันในตลาดโลกค่อนข้างผันผวน โดยวานนี้ตัวลดลงไป 2.11 ดอลลาร์ มาอยู่ที่ระดับ 98.53 ดอลลาร์/บาร์เรล ส่วนค่าเงินทั่วโลก ก็เคลื่อนไหวแบบไร้เสถียรภาพ ล้วนแต่เป็นปัจัจยกดดันต่อตลาดหุ้นและตลาดทุนไทยทั้งสิ้น
     
      นักลงทุนส่วนใหญ่ยังไม่เชื่อมั่นว่ามาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจสหรัฐฯ ในรอบนี้ จะช่วยให้เศรษฐกิจโลกฟื้นขึ้นแค่ระยะสั้นเท่านั้นประกอบกับดัชนีดาวโจนส์ ล่วงหน้าล่าสุด เมื่อเวลา 11.45 น. ตามเวลาประเทศไทย ก็ปรับลดลงไป 123 จุด ก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สะท้อนให้เห็นถึงความไม่เชื่อมั่นของนักลงทุนต่อการ แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของสหรัฐฯในครั้งนี้ด้วย
     
      **ชาวอเมริกันขวัญผวา แบงก์-ธุรกิจ ดิ้นหนีตาย
     
      ก่อนหน้านี้ นายวอเรน บัฟเฟตต์ มหาเศรษฐีอันดับ 2 ของสหรัฐฯ ผู้ก่อตั้ง "เบิร์คไชร์ แฮธาเวย์" กล่าวในการให้สัมภาษณ์กับสถานีโทรทัศน์พีบีเอส โดยระบุว่า ในตลอดชั่วชีวิตของเขา ยังไม่เคยเห็นสถานการณ์ทางเศรษฐกิจที่เลวร้ายอย่างที่เคยปรากฎในขณะนี้มา ก่อน และไม่เคยเห็นชาวอเมริกันหวาดกลัวต่อสิ่งที่เกิดขึ้นกับเศรษฐกิจรุนแรงเท่า นี้มาก่อน พร้อมระบุว่า เศรษฐกิจของเรากำลังจะเผชิญสถานการณ์ที่เลวร้ายลงไปอีกสักระยะหนึ่ง
     
      โดยในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา "เบิร์คไชร์ แฮธาเวย์" ของบัฟเฟตต์ ได้ใช้เงินลงทุน 8 พันล้านดอลลาร์ ในการซื้อหุ้นบุริมสิทธิของเจเนอรัลอิเล็กทริค (จีอี) และหุ้นโกลด์แมนแซคส์ เพื่อเพิ่มความแข็งแกร่งทางการเงิน
     
      นอกจากนี้ นายบัฟเฟตต์ ยังกล่าวด้วยว่า การระงับการปล่อยสินเชื่อท่ามกลางวิกฤตการเงินที่เกิดขึ้นในขณะนี้ นับเป็นปัจจัยสำคัญที่ฉุดรั้งเศรษฐกิจ โดยฟันธงว่า การหยุดปล่อยสินเชื่อกำลังสูบเลือด หรือสภาพคล่องทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ที่กำลังเผชิญวิกฤตในขณะนี้
     
     **ลำดับเหตุการณ์ วิกฤตสถาบันการเงินในสหรัฐฯ
     
      16 มี.ค. 2551 "แบร์ สเติร์นส์" วาณิชธนกิจรายใหญ่อันดับ 5 ของสหรัฐ ตัดสินใจขายกิจการให้เจพีมอร์แกน เชส แอนด์ โค หลังขาดทุนติดต่อกันหลายไตรมาสและลูกค้าแห่ถอนเงินสดจำนวนมาก
     
      11 ก.ค.2551 รัฐบาลสหรัฐประกาศยึดกิจการธนาคาร "อินดีแมค" หลังจากธนาคารขาดสภาพคล่องอย่างรุนแรง เพราะได้รับความเสียหายจากภาวะหดตัวในตลาดสินเชื่อ ราคาบ้านที่ทรุดตัวลง และยอดการผิดนัดชำระหนี้ที่พุ่งสูงขึ้น
     
      7 ก.ย.2551 เฟดและกระทรวงการคลังสหรัฐ เข้าอุ้มกิจการ "แฟนนี แม" และ "เฟรดดี แมค" สองหน่วยงานด้านสินเชื่อเพื่อการเคหะที่ขาดสภาพคล่องอย่างรุนแรง
     
      15 ก.ย.2551 ในที่สุด เลห์แมน บราเธอร์ส ยื่นขอความคุ้มครองทรัพย์สินตามกฎหมายล้มละลายที่ศาลแขวงนิวยอร์ก ข่าวการล้มละลายของเลห์แมน ซึ่งได้สร้างแรงสั่นสะเทือนทั่วระบบสถาบันการเงินของโลก เพราะเป็นการล้มละลายครั้งใหญ่สุดในประวัติศาสตร์สถาบันการเงินของสหรัฐ และ ถือเป็นการปิดฉากวาณิชธนกิจที่มีอายุยาวนานถึง 158 ปี
     
      - ในวันเดียวกันนี้ "เมอร์ริล ลินช์" วาณิชธนกิจรายใหญ่อีกแห่งหนึ่งของสหรัฐ ตัดสินใจขายกิจการให้กับ แบงค์ ออฟ อเมริกา
     
      16 ก.ย.2551 เฟดเข้าเทคโอเวอร์กิจการบริษัท อเมริกัน อินเตอร์เนชันแนล กรุ๊ป (AIG) แลกเปลี่ยนกับการที่เฟดเข้าไปถือหุ้น 79.9% ใน AIG
     
      22 ก.ย.2551 "โกลด์แมน แซคส์" และ "มอร์แกน สแตนลีย์" สองวาณิชธนกิจที่เหลืออยู่ในวอลล์สตรีท ได้รับอนุมัติจากเฟดให้เปลี่ยนสถานะเป็น "บริษัทโฮลดิ้งธนาคาร" เพื่อช่วยให้บริษัทสามารถเข้าถึงแหล่งระดมทุนได้ง่ายขึ้น
     
      25 ก.ย.2551 "เจพีมอร์แกน เชส แอนด์ โค" ตัดสินใจเข้าซื้อกิจการ "วอชิงตัน มูชวล" สถาบันการเงินประเภทออมทรัพย์ใหญ่อันดับ 2 ของสหรัฐ หลังจากวอชิงตัน มูชวล เผชิญวิกฤตการณ์ทางการเงินจนบรรษัทประกันเงินฝากแห่งสหรัฐ (FDIC) ต้องเข้ายึดกิจการบริษัท ซึ่งถือเป็นหนึ่งในการล้มละลายครั้งใหญ่เท่าที่เกิดขึ้นในแวดวงธนาคารของ สหรัฐ
"Risk comes from not knowing what you're doing" - Warren Buffet

สุดยอดของความซับซ้อนคือความเรียบง่าย

http://www.sarut-homesite.net/
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 15

โพสต์

Housing bust may not bottom till 2010: Moody's
Tue Sep 30, 2008 1:47pm EDT

NEW YORK (Reuters) - The U.S. housing market bust may not bottom until 2010, later than previously thought, and more home builders may fail before the housing market recovers, Moody's Investors Service said in a new report.

Upheaval in the financial markets is making credit harder to get, both for home builders and consumers, raising the risk of more job losses, mortgage delinquencies and foreclosures, Moody's said.

"The crisis in the U.S. financial system makes clear that the troubles in the housing market and the broader economy will likely worsen before they improve," Moody's said.

The housing market is struggling through its worst period since the Great Depression after subprime borrowers, those with a high risk profile, defaulted on mortgages, triggering a slide in home prices and glut of unsold homes.

While some housing indicators may bottom out around the end of this year, "we don't expect the overall housing market to show any significant improvement until at least 2010," Moody's said.

Previously, the credit rating agency had called for the housing market to bottom around mid-2009.

The exact timing of a turnaround could depend on the outcome of a $700 billion financial system bailout plan pending in Congress, Moody's said. The U.S. House of Representatives defeated the plan on Monday, but President George W. Bush gave assurances on Tuesday that the plan was not dead.

Home builders will need to write down land holdings to distressed market values, pay down debt, or rebuild their equity and cash positions, Moody's said.

"Absent these steps -- or despite them -- we believe that some home builders will not survive," Moody's said. Even some survivors will be poorly positioned to take advantage of a home building recovery, which now appears to be farther down the road.

Home builders have already written down the value of their land, options and joint ventures by $25.5 billion from March 2006 to June 2008, Moody's said.

As land values fall, lots go unused and losses drag on, more home builders will likely violate terms of their loan agreements over the next year, Moody's said.

Some home builders have already amended their credit agreements three or four times, and banks will take an increasingly tough stance as concerns mount about their own balance sheets, the rating agency said.

(Reporting by Dena Aubin, Editing by Chizu Nomiyama)
ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 16

โพสต์

ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
ภาพประจำตัวสมาชิก
bremner
Verified User
โพสต์: 437
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 17

โพสต์

ธุรกิจตั้งแผนฉุกเฉิน + ภาคการผลิตแตะเบรก/ส่อแวว 6 เดือน เกิดสุญญากาศลงทุน


ธุรกิจภาคเอกชนตื่นตัวรับมือวิกฤติโลกลามถึงไทย ! เผยผลกระทบ"เรียลเซ็กเตอร์" ฉุดกำลังซื้อทั่วโลกดิ่งลง โดยเฉพาะใน 3 ตลาดหลัก สหรัฐฯ จีน อินเดีย สะเทือนภาคผลิตต้องแตะเบรก


"สันติ"แนะทุกฝ่ายตั้งสติ รวมพลังตั้งรับปัญหา "ทีพีซี"ในเครือซิเมนต์ไทยสั่งลดสต๊อก วัตถุดิบ-สินค้าสำเร็จรูปลง 20-30% เผย 6 เดือน จากนี้ไปจะเกิดสุญญากาศลงทุน ฝากรัฐบาล แบงก์ชาติดูแลสภาพคล่อง





ภายหลังการพิจารณาและหารือนานหลายชั่วโมง สภาผู้แทนราษฎร(สภาล่าง)สหรัฐฯได้ลงมติด้วยคะแนนเสียง 228 ต่อ 205 เสียงไม่รับรองร่างกฎหมายกอบกู้วิกฤติการเงินของรัฐบาลมูลค่า 700,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ หรือประมาณ 23.8 ล้านล้านบาท โดยเฉพาะสมาชิกสภาฯจำนวนมากจากพรรครีพับลิกันปฏิเสธไม่เห็นชอบร่างกฎหมายฉบับนี้ แม้ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช ผู้นำสหรัฐฯ จะออกมาสนับสนุนอย่างเต็มกำลัง ซึ่งนักวิเคราะห์บางคนบอกว่าเหตุผลที่ทำให้แผนกู้วิกฤติไม่ผ่านความเห็นชอบเป็นเพราะปัจจัยทางการเมือง และขณะนี้ทั้งพรรคเดโมแครตและรีพับลิกันต่างกล่าวโทษอีกฝ่ายว่าเป็นต้นเหตุของการคว่ำร่างกฎหมายกู้วิกฤติการเงิน


อย่างไรก็ดีหลังสภาฯปฏิเสธ แผนกอบกู้วิกฤติการเงินของรัฐบาลสหรัฐฯส่งผลให้ตลาดหุ้นทั่วโลก(30ก.ย.) ดิ่งเหวกันถ้วนหน้า ยกตัวอย่าง ดาวโจนส์ดิ่งประวัติศาสตร์ 777.68 จุด ขณะที่ตลาดหุ้นลอนดอนอยู่ที่ 4,950 จุดลดลง138 จุดตลาดหุ้นแฟรงก์เฟิร์ตอยู่ที่ 5,906 จุดลดลง 156 จุดและตลาดหุ้นปารีสอยู่ที่ 4,047 จุดลดลง 116 จุดเช่นเดียวกับตลาดหุ้นฝั่งเอเชียที่ร่วงลงเช่นกันอาทิญี่ปุ่นอยู่ที่ 11,893.61 จุดลดลง 113.37 จุด ฮ่องกงอยู่ที่ 18,682.09 จุดลดลง 252.34 จุด ส่วนตลาดหุ้นไทยอ่อนตัวยืนแดนลบตลอดทั้งวันก่อนจะปิดตลาดที่ 618.97 จุดลดลง 2.17 จุด หรือ 0.35% ด้วยมูลค่าการซื้อขายเพียง7,378.80 ล้านบาท


สำหรับมาตรการป้องกันผลกระทบวิกฤติเศรษฐกิจสหรัฐฯลุกลามมาถึงไทย ดร.โอฬาร ไชยประวัติ รองนายกรัฐมนตรีฝ่ายเศรษฐกิจ นายสุชาติ ธาดาธำรงเวช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เรียกถกด่วนคณะกรรมการติดตามเศรษฐกิจภาวะฉุกเฉิน เพื่อหามาตรการตั้งรับ (อ่านรายละเอียดใน.......)


ในส่วนของภาคธุรกิจเอกชน หลังจากบริษัทชั้นนำในประเทศไทยอย่างเครือซิเมนต์ไทย(เอสซีจี) ออกมาส่งสัญญาณเตือนรับมือวิกฤติระลอก2 ซึ่งเป็นวิกฤติเรียลเซ็กเตอร์ หรือวิกฤติในภาคการผลิตที่แท้จริง ทำให้ภาคเอกชนตื่นตัวต่อปัญหาดังกล่าว เริ่มปรับตัวตั้งรับกันจ้าละหวั่น


โดยยอมรับว่าขณะนี้วิกฤติเรียลเซ็กเตอร์ได้เกิดขึ้นแล้ว และกำลังกลายเป็นปัญหาวิกฤติโลก



++ประธานส.อ.ท.แนะตั้งสติรับมือ


นายสันติ วิลาสศักดานนท์ ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย(ส.อ.ท.) กล่าวว่าขณะนี้ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับสหรัฐฯกำลังลุกลามกลายเป็นปัญหาเศรษฐกิจระดับโลก กระทบเป็นลูกคลื่นมาเป็นระลอก และผลที่กำลังเกิดขึ้นกับประเทศไทยคือผลกระทบภาคเรียลเซ็กเตอร์ ซึ่งจะกระทบกับสมาชิกในส.อ.ท. เพราะส่วนมากจะเป็นผู้ประกอบการที่ผลิตเพื่อการส่งออกไปทั่วโลก


ในขณะที่ปีหน้า เริ่มไม่มั่นใจแล้ว เพราะเศรษฐกิจโลกจะทำให้ภาคการส่งออกไทยลดลงได้


"เวลานี้เพียงแค่ผลกระทบจากตลาดสหรัฐฯ ผู้ผลิตไทยบางรายก็เดือดร้อนมากแล้ว เพราะสหรัฐฯเป็นลูกค้ารายใหญ่ ปัจจุบันสินค้าที่ส่งออกไปตลาดสหรัฐฯส่วนใหญ่เป็นกลุ่มสินค้าไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เช่น คอมพิวเตอร์และชิ้นส่วน อัญมณี สิ่งทอ "


นายสันติ กล่าวอีกว่า สิ่งที่จะเกิดขึ้นต่อไป คือสหรัฐฯจะซื้อของในจีนจำนวนมาก เมื่อจีนขายของได้น้อยลงก็จะมาแย่งตลาดในประเทศไทยอีก ในขณะที่การขยายตัวของโรงงานอุตสาหกรรมก็น้อยอยู่แล้ว ปีหน้า(2552) หากสินค้าเกษตรไม่ดีกำลังซื้อก็จะยิ่งแย่ไปอีก



หากจะถามว่าภาคธุรกิจเอกชนจะรับมือกับผลกระทบอย่างไรนั้น ถ้ามองในแง่รัฐบาล จะต้องให้ความร่วมมือกับเอกชนในการมุ่งไปสู่ตลาดใหม่ๆมากขึ้นอีกเท่าตัวโดยเฉพาะตลาดตะวันออกกลางและแอฟริกา ที่สำคัญขณะนี้คือภาคเอกชนจะต้องตั้งสติให้ดี เพื่อรวมพลังในการตั้งรับปัญหาที่จะเกิดขึ้น โดยเฉพาะการปรับประสิทธิภาพของแต่ละบริษัทให้มีความทันสมัยยิ่งขึ้น


++ขาใหญ่เบรกลงทุนก่อนเจ็บตัว


นายแจ็ค อาร์. เยา ที่ปรึกษาด้านพัฒนาธุรกิจ บริษัท โดฟไบโอเทค จำกัด และ นักลงทุนด้านพลังงานทดแทนจากประเทศออสเตรเลีย เปิดเผย"ฐานเศรษฐกิจ"ว่า ขณะนี้วิกฤติเรียลเซ็กเตอร์ได้เกิดขึ้นแล้ว เพราะสิ่งที่ปรากฏชัดเจนในขณะนี้คือ ภาพรวมในแง่กำลังซื้อหดตัวลงทั้งในประเทศและตลาดโลก โดยจุดเริ่มต้นจะมาจากผู้ประกอบการที่ค้าขายกับประเทศสหรัฐฯ แต่ที่น่าเป็นห่วง


ภาคเอกชนที่ค้าขายกับสาธารณรัฐประชาชนจีนและอินเดีย ตั้งแต่ไตรมาสสี่ปีนี้ไปถึงไตรมาสแรกปี2552 จะได้รับผลกระทบตามมา เนื่องจากคนที่ค้าขายกับ 2 ประเทศนี้คืออเมริกาเป็นหลัก


"เมื่อตลาดใหญ่ๆอย่างจีน อินเดีย และอเมริกา มีปัญหา คนที่ทำการค้าขายกับทั้ง 3 ประเทศนี้ก็จะได้รับผลกระทบตามมาในแง่ปริมาณออร์เดอร์ด้านวัตถุดิบ สุดท้ายก็ส่งผลให้กำลังผลิตชะลอตัวลง ซึ่งผู้ประกอบการไทยก็หนีไม่พ้นปัญหานี้เพราะขาข้างหนึ่งจะต้องพึ่งพาตลาดต่างประเทศ


นอกจากนี้นายแจ็ค อาร์. เยา ยังกล่าวถึงการปรับตัวของนักลงทุนไทยและนักลงทุนทั่วโลกคือ ในช่วง 6 เดือนนับจากนี้ไปหรือช่วงไตรมาสสุดท้ายปี 2551 ไปจนถึงไตรมาสแรกปี 2552 จะต้องชะลอแผนการลงทุนทั้งหมด เพราะวิกฤติเรียลเซ็กเตอร์ทำให้ผู้ค้าขายและผู้ลงทุนไม่รู้จะหนีไปพึ่งพาตลาดไหนเพราะเกิดผลกระทบทั่วโลก ฉะนั้นจะรับมือได้จะต้องชะลอทุกอย่างให้ช้าลง



++TPC ทันเกมสั่งลดสต๊อกแล้ว


สอดคล้องกับที่นายคเณศ ขาวจันทร์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) หรือ TPC บริษัทในเครือ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) หรือเอสซีจี ผู้ผลิตเม็ดพลาสติกพีวีซีรายใหญ่ที่สุดในอาเซียน กล่าวว่า บริษัทเริ่มมองเห็นสัญญาณว่าจะเกิดผลกระทบเรียลเซ็กเตอร์มาตั้งแต่เดือนสิงหาคมปีนี้แล้ว เพราะมองว่าหลังจบกีฬาโอลิมปิกในจีน กำลังซื้อทั้งตลาดในประเทศและตลาดส่งออกรวมจะเริ่มชะลอตัวลง


จากสัญญาณดังกล่าวทำให้ระยะสั้นนี้(ไตรมาส4)TPC มีการลดสต๊อกวัตถุดิบ และสินค้าสำเร็จรูปลงในระดับ 20-30% โดยสต๊อกดังกล่าวจะลดลงไปตามปริมาณออร์เดอร์ที่เข้ามาในช่วงไตรมาสสุดท้ายปีนี้ที่ลดลงแล้ว 20-30%


ยกตัวอย่างเช่นการนำเข้าวัตถุดิบอีดีซี ที่นำมาผลิตเป็นวัตถุดิบวีซีเอ็มเพื่อนำไปเป็นวัตถุดิบในการผลิตเม็ดพลาสติกพีวีซีอีกที ปกติจะมีสต๊อกอยู่ที่ 30,000 ตัน/เดือน ขณะนี้ลดลงเหลือ 20,000 ตัน/เดือน อย่างไรก็ตามปัจจุบันเม็ดพลาสติกพีวีซี บริษัท TPC จะผลิตเพื่อส่งออกไปขายทั่วโลก 50% และผลิตเพื่อขายในประเทศ 50% ซึ่งเวลานี้ตลาดรวมอยู่ในอาการชะลอตัวลง


ทั้งนี้ผลกระทบที่เกิดขึ้นเริ่มมาตั้งแต่ที่ราคาน้ำมันกลับมาอ่อนตัวลง ทำให้คนชะลอการซื้อสินค้า เพราะมั่นใจว่าราคาน้ำมันเป็นขาลงวัตถุดิบและราคาสินค้าจะต้องถูกลง ต่อมาผู้ค้า-ผู้ลงทุนไม่มั่นใจเศรษฐกิจโลกเพราะวิกฤติแฮมเบอร์เกอร์ ที่มีความเชื่อมั่นว่า วิกฤติการเงินอาจลามทั่วโลกได้ ก็ยิ่งทำให้บรรยากาศลงทุนใหม่ และ ออร์เดอร์ใหม่ ชะลอตัว คนก็รอเวลาที่เหมาะสมเพื่อขยับตัวต่อไป


"เวลานี้ภาคเอกชนชะลอแผนการลงทุนเพื่อรอดูสถานการณ์โลก แต่ภาครัฐบาลไทยจะชะลอการทำงานไม่ได้ ภาครัฐจะต้องเร่งกระตุ้นการลงทุน และเร่งให้เกิดกำลังซื้อ โดยเฉพาะการเดินหน้าในโครงการเมกะโปรเจ็กต์ ที่จะเป็นตัวช่วยที่ทำให้รากหญ้าขยับตัวได้"


++อุตฯไฟฟ้าฯครวญหนี้ไม่ออก


ขณะที่ดร.ขัติยา ไกรกาญจน์ ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย(ส.อ.ท.) กล่าวว่า ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับผู้ประกอบการไทยจากวิกฤติแฮมเบอร์เกอร์ ที่เห็นได้ชัดเจนอีกกลุ่มหนึ่งคือสินค้าในกลุ่มเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งไปตลาดอเมริกาลดลง จากที่ตลาดส่งออกสินค้ากลุ่มดังกล่าวจะส่งออกไปอเมริกาทั้งทางตรงและทางอ้อมจำนวนมาก


"ที่น่าเป็นห่วงในขณะนี้คือ กลุ่มไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่มีฐานการผลิตอยู่ในประเทศไทย ปัจจุบันมีการส่งออก 85% ของการผลิตจริงกระจายไปทั่วโลกคิดเป็นมูลค่าส่งออก 1.5 ล้านล้านบาท/ปี เมื่อตลาดโลกมีปัญหาผู้ประกอบการก็จะได้รับผลกระทบจากตลาดส่งออกทันที เพราะว่าจะค้าขายยากขึ้น หนีไปตลาดไหนก็ไม่ได้ เพราะทั่วโลกกระทบเหมือนกันหมด เพียงแต่ระยะเวลาที่เกิดขึ้นกับแต่ละประเทศจะมาไม่พร้อมกัน ซึ่งขณะนี้อเมริกากระทบก่อนต่อมาก็จะเป็นจีน ถัดไปก็จะเป็นโซนยุโรปและประเทศในกลุ่มอาเซียน"


++เอสเอ็มอีศึกษาบทเรียนต้มยำกุ้ง


นอกจากนี้จากปัญหาดังกล่าว "ฐานเศรษฐกิจ"สำรวจไปยังกลุ่มผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม(SMEs)ซึ่งส่วนใหญ่กระจุกตัวอยู่ในอุตสาหกรรมชิ้นส่วนจำนวนมาก โดยนายประเสริฐ ธรรมมนุญกุล นายกสมาคมส่งเสริมการรับช่วงการผลิตไทย กล่าวว่า สำหรับวิกฤติเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาที่เกิดขึ้นระลอกนี้ ทุกคนจะต้องได้รับผลกระทบ โดยเฉพาะผู้ประกอบการในกลุ่มทุนขนาดเล็กและเป็นผู้ผลิตชิ้นส่วนป้อนบริษัทขนาดกลางและขนาดใหญ่


โดยล่าสุดจากการสำรวจสมาชิกในสมาคม ซึ่งมีผู้ประกอบการประมาณ 100 กว่าราย มูลค่าการส่งออกรวม 10,000 ล้านบาทต่อปี พบว่าในเบื้องต้น ยอดคำสั่งซื้อในกลุ่มชิ้นส่วนอุตสาหกรรมยานยนต์เริ่มได้รับผลกระทบแล้ว โดยลดลงประมาณ 30% และอาจลดลงอีกในปีหน้าทั้งนี้ คาดว่าวิกฤติดังกล่าวอาจมีผลกระทบต่อเนื่องราว 1-2 ปี เป็นผลกระทบในลักษณะวิกฤติเศรษฐกิจโลก


นอกจากนี้ยังต้องติดตามสถานการณ์ว่าวิกฤติเศรษฐกิจของสหรัฐฯ จะกระทบต่อประเทศอื่นๆ มากน้อยอย่างไร โดยขณะนี้เริ่มมีผลต่อเศรษฐกิจในยุโรปและออสเตรเลียบ้างแล้ว ส่วนเรื่องสภาพคล่องทางการเงินสำหรับเอสเอ็มอีไทยนั้น ไม่น่าวิตกมาก เพราะผู้ประกอบการไทยระวังตัวเรื่องการกู้เงินมานานพอสมควร เนื่องจากเคยผ่านวิกฤตการณ์ต้มยำกุ้งมาแล้วในปี 2540 และล่าสุดได้มีการปรับตัวต่อเนื่อง มองหาตลาดใหม่ๆ และสามารถปรับการผลิตป้อนชิ้นส่วนให้กับอุตสาหกรรมอื่นๆ ทดแทนกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีปัญหาได้ เช่น จากที่เคยป้อนให้กลุ่มยานยนต์ เมื่อคำสั่งซื้อลดลงก็หันมาผลิตเพื่อป้อนให้อุตสาหกรรมเครื่องจักรกลเพิ่มขึ้น เป็นต้น พร้อมกับหาตลาดใหม่ๆเข้ามาเสริม


++ทียูเอฟฝากธปท.ดูแลสภาพคล่อง


นายธีรพงศ์ จันศิริ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไทยยูเนี่ยนโฟรเซ่นโปรดักส์ จำกัด (มหาชน) (บมจ.) หรือทียูเอฟ ผู้ผลิตส่งออกอาหารทะเลและทูน่ากระป๋องรายใหญ่ ทั้งเป็นผู้ลงทุนในสหรัฐอเมริกา กล่าวว่าในฐานะที่สหรัฐฯเป็นตลาดส่งออกสำคัญของทียูเอฟ โดยภาพรวมเศรษฐกิจของอเมริกามีปัญหา อนาคตคนจะว่างงานมากขึ้นและกระทบถึงกำลังซื้อ แต่เนื่องจากสินค้าของทียูเอฟเป็นสินค้าราคาถูกสอดคล้องกับพฤติกรรมผู้บริโภคคงไม่ได้รับผลกระทบมาก


ส่วนการรับมือของรัฐบาลและธนาคารแห่งประเทศไทยต้องดูแลเรื่องสภาพคล่องในประเทศให้ดี เพราะจะช่วยสนับสนุนการเติบโตของธุรกิจไทย รวมถึงบริหารเศรษฐกิจประเทศให้มาก ซึ่งเท่าที่ดู ธนาคารแห่งประเทศไทยมีความตื่นตัวต่อปัญหาที่เกิดขึ้น และยังเชื่อว่าหากสภาพคล่องดีไม่มีเหตุอะไรที่ดอกเบี้ยจะขึ้นอีก


++การ์เมนต์-ข้าวจับตาใกล้ชิด


นายสมบูรณ์ เจือเสถียรรัตน์ กรรมการบริหารบริษัท ไทยการ์เม้นต์เอ็กซ์ปอร์ต จำกัด กล่าวว่า ในส่วนของบริษัท ไทยการ์เม้นต์ฯ ซึ่งผลิตเสื้อผ้าแบรนด์เนมชั้นนำยังไม่ได้รับผลกระทบแต่ได้ติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด ส่วนการติดตามดูแลปัญหาดังกล่าวของรัฐบาลไทย เนื่องจากรัฐบาลเพิ่งเข้ามาบริหารประเทศ ยังไม่เห็นมีความชัดเจนเรื่องนี้ แต่เชื่อว่า ดร.โอฬาร ไชยประวัติ รองนายกรัฐมนตรีฝ่ายเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นหัวหน้าทีมเศรษฐกิจจะมีมาตรการรับมือและไม่กระทบถึงเศรษฐกิจประเทศไทยมาก


นายชูเกียรติ โอภาสวงศ์ นายกสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย กล่าวเช่นกันว่า เวลานี้ข้าวยังไม่ได้รับผลกระทบ แต่ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด การที่รัฐบาลไทยมีมาตรการรับมือโดยการติดตามสภาพคล่องทางการเงิน และการเร่งเบิกจ่ายงบประมาณเป็นส่งที่ถูกต้องเพราะจะทำให้เศรษฐกิจในประเทศหมุนเวียนดีขึ้น


++-ขอส่งเสริมอเมริกาในไทยลดฮวบ


เมื่อสืบค้นความเคลื่อนไหวการลงทุนจากสหรัฐอเมริกาในประเทศไทย มีรายงานข่าวจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน(บีโอไอ) แจ้งว่า เม็ดเงินลงทุนในช่วง 6 เดือนแรก(ม.ค.-มิ.ย.)ปีนี้การลงทุนจากสหรัฐอเมริกาในไทยลดลงอย่างฮวบฮาบทั้งในแง่มูลค่าการขอรับการส่งเสริมและการอนุมัติให้การส่งเสริมโดยเดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายนปี 2550 มีมูลค่าคำขอส่งเสริมประมาณ 16,000 ล้านบาท ปีนี้ในช่วงเดียวกันลดลงเหลือประมาณ 2,700 ล้านบาท ขณะที่การอนุมัติให้การส่งเสริมมูลค่าเงินลงทุนลดลงจาก 24,251 ล้านบาทปีที่แล้วช่วง 6 เดือนแรกเหลือเพียง 1,550 ล้านบาท ในช่วง 6 เดือนแรกปีนี้


อนึ่งเมื่อฉบับ 2,361 ระหว่างวันที่ 28 กันยายนถึง 1 ตุลาคม 2551 ที่ผ่านมา "ฐานเศรษฐกิจ" นำเสนอข่าว"เตือนรับมือวิกฤติเรียลเซ็กเตอร์" ซึ่งถือเป็นสัญญาณเตือนภัยแรกที่บริษัทชั้นนำในประเทศไทยอย่างเครือซิเมนต์ไทย(เอสซีจี) ออกมาย้ำเตือนให้ผู้ประกอบการภาคการผลิตในประเทศไทยตื่นตัว เตรียมรับมือวิกฤติระลอก2 ซึ่งเป็นวิกฤติเรียลเซ็กเตอร์ หรือวิกฤติในภาคการผลิตที่แท้จริง ที่กระทบต่อกำลังซื้อและการใช้กำลังผลิตในภาคอุตสาหกรรมโดยตรง และเป็นผลกระทบต่อเนื่องที่มาจากวิกฤติภาคอสังหาริมทรัพย์และภาคการเงินในสหรัฐอเมริกา
http://www.thannews.th.com/detialNews.p ... issue=2362
"What seems too high and risky to the majority generally goes higher and what seems low and cheap generally goes lower."
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 18

โพสต์

Latin America Economic Boom Threatened as Credit Freeze Deepens

By Joshua Goodman and Sebastian Boyd

Oct. 2 (Bloomberg) -- Latin America's fastest economic expansion in 30 years may be coming to an end as the global credit crunch stunts investment and squeezes demand for the region's commodities.

``We're in a serious economic crisis,'' Colombian Vice President Francisco Santos said in an interview in his Bogota office. ``Financing is going to get scarcer and scarcer, and that means that investment is going to be difficult to attract.''

The region's growth in 2009 may be cut to less than 3.3 percent, from 4.6 percent this year, according to economists at Barclays Capital. The slowdown will make it harder to further reduce poverty that's fallen to its lowest levels since before the ``Lost Decade'' of the 1980s in which countries borrowed more than they could repay.

The crisis will test Latin America's decade-old commitment to debt reduction and open markets. Mexico this week shelved plans to privatize an airport, citing the U.S. crisis, while Costa Rican President Oscar Arias warned the country's growth rate may halve as investment drops. In Brazil, lending that has powered the country's fastest expansion in more than a decade is drying up, said Ricardo Espirito Santo, head of the Brazilian unit of Portugal's Banco Espirito Santo SA.

``The last four or five years were very good for Latin America, but that cycle is coming to an end,'' said Rodrigo Valdes, chief Latin America economist at Barclays Capital in New York. ``We expect a deceleration in practically all economies.''

Cutting Forecasts

Brazilian economists lowered 2009 growth projections to 3.6 percent on Sept. 26, from 4 percent two months earlier, according to a central bank survey. JPMorgan Chase & Co. cut its forecast for Latin America's largest economy to 3.2 percent from 3.8 percent.

Mexico, the second-biggest economy, may expand 2.5 percent next year, according to the average estimate of 33 economists surveyed by the central bank, which released its report yesterday. They had previously forecast 3 percent.

The region has posted average growth of 5.5 percent a year during the past five years, a pace not seen since 1970 to 1974, according to International Monetary Fund statistics.

Latin America may also see a drop in remittances from emigrants living in the U.S. Money transfers from Mexicans living outside the country dropped a record 12.2 percent in August, the central bank said yesterday. Remittances accounted for almost 3 percent of Mexico's gross domestic product last year.

``Mexico is very tied to the U.S., and they're going to get hammered,'' said Mark Weisbrot, co-director of the Washington- based Center for Economic and Policy Research.

Plane Purchases Suffer

Empresa Brasileira de Aeronautica SA, the world's fourth- largest aircraft maker, said last week that tightening credit markets are making plane purchases difficult for some buyers.

Brazil's Localiza Rent a Car SA, the region's biggest car- rental company, delayed this week a 300 million real ($157.6 million) bond sale because of ``adverse market conditions.''

Central banks are injecting liquidity as foreign credit lines dry up. Chile's central bank canceled planned purchases of dollars and opened up a $500 million foreign currency swap window as the cost of borrowing dollars climbed.

``Local banks had counterparties overseas who provide them with dollars, but those banks have failed, been bought or tightened credit,'' said Ricardo Gomez, head of fixed-income sales and trading at Larrain Vial SA in Santiago.

Commodity Rout

Prices for commodities such as soy, gold, copper and oil, which helped fund the region's boom, have fallen 28 percent since their July 2 high, according to the RJ/CRB Commodity Price Index. Should prices return to their 10-year average, Latin America's balanced budgets would quickly revert to a deficit of 4.1 percent of gross domestic product, Morgan Stanley said in a Sept. 29 report.

Venezuelan President Hugo Chavez, who has relied on oil to fund his ``21st-century socialism,'' said the U.S. crisis will hit the region with the force of a ``hundred hurricanes'' and that ``no country can say it won't be affected.''

Venezuela is the country most vulnerable to a commodity slowdown, having seen its terms of trade, a measure of export earnings, more than double since 2001, according to a study by Brazil's national development bank. Brazil and Mexico's trading terms improved less than the 22 percent regional average, according to the same study based on United Nations data.

``The big question for Latin America is how long and deep is this cyclical downturn going to be, and how much is it going to reduce commodity prices,'' said Nicholas Field, who helps oversee about $18 billion in emerging-market equities at London- based Schroders Plc.

Building Reserves

Analysts including Paulo Leme, chief Latin American economist at Goldman Sachs Group, Inc. say the slowdown may be milder than in previous crises. Many regional governments have used revenue from the commodity boom to pay down debt and build reserves.

The eight largest South American economies shrank their debt as a proportion of gross domestic product from 2001 to 2008, according to Merrill Lynch research. Merrill expects growth to slow to 3.4 percent next year from 4.6 percent in 2008.

``It was a good ride,'' said Gray Newman, chief Latin American economist at Morgan Stanley in New York. ``But the era of abundance is over.''

http://www.bloomberg.com/apps/news?pid= ... refer=home
ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
ภาพประจำตัวสมาชิก
tok
สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
โพสต์: 833
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 19

โพสต์

มียัดใส้กฎหมายเข้าไปด้วย น่าสนใจ :?:
แผนกอบกู้ภาคการเงินสหรัฐฉบับปรับปรุงใหม่


:วุฒิสภาสหรัฐลงมติอนุมัติร่างกฎหมายฟื้นฟูภาคการเงินฉบับแก้ไขใหม่ มูลค่า 700,000 ล้านดอลลาร์ หลังจากผู้นำวุฒิสภาเห็นชอบที่จะปรับปรุงร่างกฎหมายเดิม

กรุงเทพธุรกิจ ออนไลน์ : โดยรวมแผนความช่วยเหลือภาคการเงิน เข้ากับแผนปรับเพิ่มเพดานการค้ำประกันเงินฝาก และการลดหย่อนภาษีสำหรับพลังงานทดแทน ภาคธุรกิจ และพนักงานชนชั้นกลาง เพื่อเพิ่มโอกาสในการผ่านร่างกฎหมายดังกล่าว

รายละเอียดในร่างกฎหมายฉบับปรับปรุงแก้ไขแล้วมีดังนี้

* จะเพิ่มเพดานการค้ำประกันเงินฝากของบรรษัทประกันเงินฝากของรัฐบาลกลางเป็น 250,000 ดอลลาร์ต่อบัญชี จาก 100,000 ดอลลาร์

* ผู้เสียภาษีชนชั้นกลางราว 24 ล้านคนจะได้รับความช่วยเหลือเป็นเวลา 1 ปี ในการตรึงอัตราภาษีภายใต้ระบบภาษีขั้นต่ำทางเลือก ซึ่งจะช่วยให้ผู้เสียภาษีไม่ต้องจ่ายภาษีในอัตราที่สูงขึ้น

* ขยายบทบัญญัติที่อนุญาตให้เจ้าของบ้านสามารถขอการลดหย่อนภาษีมากถึง 1,000 ดอลลาร์สำหรับภาษีอสังหาริมทรัพย์ของรัฐและท้องถิ่น

* ขยายการบังคับใช้จนถึงปี 2552 สำหรับบทบัญญัติที่อนุญาตให้ผู้เสียภาษีสามารถหักลดหย่อนภาษีการขายของรัฐและท้องถิ่น

* ขยายการลดหย่อนภาษีสำหรับค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาในระดับสูงบางประเภท

* รวมบทบัญญัติที่จะระบุให้มีแผนการประกันที่จะเสนอสวัสดิการด้านสุขภาพจิต เพื่อให้สวัสดิการเหล่านี้อยู่ในระดับเดียวกับสวัสดิการด้านการแพทย์-ศัลยกรรม

* เสนอการยกเว้นภาษีหุ้นกู้เอกชนสำหรับรัฐเทกซัส ลุยเซียนา และแถบมิดเวสต์ที่ประสบภัยธรรมชาติ และลดหย่อนภาษีอื่นๆ แก่พื้นที่เหล่านั้นเพื่อช่วยพัฒนาธุรกิจที่อยู่อาศัยและธุรกิจอื่นๆ

* ขยายการลดหย่อนภาษีวิจัยและพัฒนาตลอดปี 2552

* ให้มีการลดหย่อนภาษี 18,000 ล้านดอลลาร์สำหรับพลังงานสะอาด ด้วยการลดหย่อนภาษีการผลิตอย่างต่อเนื่องสำหรับลมและถ่านหินบริสุทธิ์ และอนุญาตให้สาธารณูปโภคที่ผลิตไฟฟ้าจากคลื่นและกระแสน้ำอยู่ในเกณฑ์ด้วย รวมทั้งขยายการลดหย่อนภาษีสำหรับพลังงานแสงอาทิตย์

* ให้การลดหย่อนภาษีครั้งใหม่สำหรับโครงการกักเก็บคาร์บอนและสาธิตการคัดแยกสำหรับการผลิตไฟฟ้าพลังถ่านหินแบบก้าวหน้า

* จัดทำหุ้นกู้ที่ได้รับการลดหย่อนภาษีประเภทใหม่ เพื่อเป็นทุนสนับสนุนแผนริเริ่มของรัฐและรัฐบาลท้องถิ่นในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

* ให้การลดหย่อนภาษีครั้งใหม่สำหรับรถยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้ามากถึง 7,500 ดอลลาร์

* ขยายการลดหย่อนภาษีสำหรับการผลิตไบโอดีเซลตลอดปี 2552

* ขยายการลดหย่อนภาษีสำหรับเจ้าของบ้านที่ปรับเปลี่ยนไปใช้ผลิตภัณฑ์ประหยัดพลังงาน โดยผู้ที่ใช้เตาเชื้อเพลิงชีวภาพประหยัดพลังงานเป็นครั้งแรก จะมีสิทธิได้รับการลดหย่อนภาษี 300 ดอลลาร์

* ขยายการลดหย่อนภาษีสำหรับค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงร้านอาหารและกิจการค้าปลีก

นอกจากนี้ ยังมีการบรรจุบทบัญญัติอื่นๆ อีกหลายข้อเข้าไปในร่างกฎหมายฉบับนี้ เพื่อให้ได้รับคะแนนเสียงสนับสนุนเพิ่มขึ้นจากวุฒิสมาชิก รวมถึงการดำเนินการด้านภาษีที่เอื้อต่อเงินได้ที่ได้จากการฟ้องร้องคดีน้ำมันรั่วไหลในรัฐอะแลสกาเมื่อปี 2532 ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทเอกซอน วาลเดซ โดยมีการบรรจุบทบัญญัตินี้เพื่อหวังโน้มน้าวเสียงสนับสนุนจากนายดอน ยัง ส.ส.พรรครีพับลิกันจากรัฐอะแลสกา ที่เคยลงมติคัดค้านร่างกฎหมายนี้เมื่อวันจันทร์ (29 ก.ย.)

ร่างกฎหมายนี้มอบอำนาจให้แก่คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในการระงับการใช้มาตรฐานทางบัญชีประเภทอิงมูลค่าตามราคาตลาด เพื่อให้ความคุ้มครองแก่นักลงทุนและผลประโยชน์ของสาธารณชน โดยร่างกฎหมายนี้ระบุให้มีการศึกษาเรื่องการปรับเปลี่ยนหลักปฏิบัตินี้ หลังจากแนวทางการจัดทำบัญชีแบบนี้ถูกระบุว่าเป็นสาเหตุให้สถาบันการเงินต้องปรับลดมูลค่าสินทรัพย์ทางบัญชีหลายพันล้านดอลลาร์ และทำให้งบดุลบัญชีอ่อนแอลง เนื่องจากบริษัทกลุ่มนี้ไม่สามารถประเมินมูลค่าของสินทรัพย์ได้โดยใช้ราคาในตลาดที่ขาดสภาพคล่อง

อย่างไรก็ดี บทบัญญัติบางข้อที่ระบุข้างต้น อาจส่งผลให้สมาชิกพรรคเดโมแครตบางส่วนที่เคยลงมติสนับสนุนร่างกฎหมายนี้เมื่อวันจันทร์ เกิดเปลี่ยนใจ เนื่องจากสมาชิกพรรคเดโมแครตเคยคัดค้านร่างกฎหมายที่ลดหย่อนภาษีพลังงานและธุรกิจ เนื่องจากไม่เห็นด้วยกับวิธีการในการหาเงินมาชดเชยในส่วนนี้

ส่วนมาตรการหลักๆ ของแผนอุ้มภาคการเงินยังเหมือนเดิม นั่นคือให้อำนาจนายเฮนรี พอลสัน รัฐมนตรีคลัง ในการซื้อสินทรัพย์จดจำนองเสียจากสถาบันการเงินที่มีปัญหา และจำกัดการให้ผลตอบแทนก้อนโตแก่ผู้บริหารบริษัทเหล่านี้ ขณะที่ผู้คัดค้านแผนนี้ระบุว่าเป็นการให้อำนาจในมือคนคนเดียวมากเกินไป และไม่เห็นด้วยกับการนำเงินภาษีไปอุ้มบริษัทที่มีปัญหาในย่านวอลล์สตรีท

การที่วุฒิสภาผ่านร่างกฎหมายฉบับนี้อาจเป็นการเพิ่มแรงกดดันต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรให้ผ่านร่างกฎหมายฉบับนี้เช่นกัน โดยสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐจะประชุมกันเช้าวันศุกร์ (3 ต.ค.) ตามเวลาในสหรัฐ

โพลล์อเมริกัน45%ค้านแผนอุ้ม

การสำรวจความเห็นของเอพี-จีเอฟเค พบว่าประชาชนอเมริกัน 8 ใน 10 คนกลัวว่าวิกฤติการเงินจะกระทบพวกเขาโดยตรง แต่ 45% ยังคัดค้านแผนอุ้มภาคการเงิน ขณะที่ 38% สนับสนุน และ 16% ไม่แน่ใจ

"ผมไม่ค่อยแน่ใจนัก ผมคิดว่าเราอาจต้องการแผนนี้เพื่อสร้างเสถียรภาพตลาด แต่ผมคิดว่าต้องมีการออกมาตรการควบคุมดูแลควบคู่ไปด้วย เพื่อไม่ให้เกิดวิกฤติซ้ำสอง และคนที่รับผิดชอบต่อเหตุการณ์นี้จะต้องไม่ได้รับผลประโยชน์ใดๆ" นายเดวิด คุช ทนายความวัย 49 ในเมือง ลิตเติลรอค รัฐอาร์คันซอ กล่าว

"ฉันอยากโทษบุช ฉันคิดว่าคนอื่นก็คิดเหมือนกัน" นางไอร์เน เคอร์ลัส วัย 68 จากเมืองลาสครูเซส รัฐนิวเม็กซิโก กล่าว

พร้อมตำหนิรัฐบาลกลางที่วางกฎระเบียบหละหลวม "พวกเขาต้องทราบมาระยะหนึ่งแล้วว่าอะไรกำลังเกิดขึ้น ฉันคิดว่าพวกเขาเก็บเรื่องนี้ไว้นานเกินไป"

นางดัฟเน วิลเลียมส์ วัย 43 จากเมืองเนวาร์ก รัฐนิวเจอร์ซีย์ สนับสนุนแผนอุ้มภาคการเงินเพราะคิดว่าเป็นสิ่งจำเป็น ไม่เช่นนั้นประชาชนจะเจอปัญหาด้วย วิลเลียมส์ กล่าวว่า รู้สึกวิตกเกี่ยวกับงาน เพราะเธอทำงานในอุตสาหกรรมบริการการเงิน

ผู้ตอบแบบสอบถาม 55% ระบุว่ารัฐบาลควรยื่นมือเข้าไปอุ้มธุรกิจเอกชนที่ประสบปัญหา แต่กระทำอย่างจำกัดเท่านั้น โดยแทรกแซงเฉพาะบริษัทยักษ์ใหญ่บางแห่ง ขณะที่ 16% มองว่ารัฐบาลไม่ควรเข้าไปยุ่งเกี่ยวด้วย

นอกจากนั้น กว่าครึ่งหนึ่งของผู้ตอบแบบสอบถามยังกลัวว่าจะต้องทำงานนานขึ้นกว่าจะได้เกษียณอายุ เพราะเงินออมหายหรือลดค่าลงไป ขณะที่เกือบครึ่งหนึ่งวิตกว่ามูลค่าบ้านของตัวเองจะลดลงในระยะยาว และเกือบ 1 ใน 3 คิดว่าวิกฤติการเงินอาจทำให้งานของพวกเขาตกอยู่ในความเสี่ยง

8 ใน 10 กลัวว่าหนี้สินที่เพิ่มขึ้นของรัฐบาลจะเป็นภาระสำหรับรุ่นลูกหลาน ทั้งนี้ หนี้ภาคสาธารณะของสหรัฐอยู่ในระดับเกือบ 10 ล้านล้านดอลลาร์

http://www.bangkokbiznews.com/2008/10/0 ... 300118.php
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 20

โพสต์

Paul  Krugman
October 3, 2008,  4:07 pm

Has the bailout already failed?


OK, I know that’s premature. And I place no weight at all on the fact that the Dow plunged after the vote.

But it is interesting that short-term Treasury yields are down — only 0.13% on one-month — suggesting that the flight to safety continues unabated. Against this, John Jansen reports some signs that money markets are unfreezing, slightly.

We’ll learn more next week. But I have a prediction: well before January 20, Congress will be asked to vote on bailout 2.0.

http://krugman.blogs.nytimes.com/2008/1 ... dy-failed/
ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 21

โพสต์

นักวิเคราะห์คาดแบงก์จ่อล้ม100แห่งปีหน้า

นัก วิเคราะห์ต่างชาติ คาดธนาคารในสหรัฐจะล้มอีกกว่า 100 แห่งในปีหน้า ย้ำงบประมาณ 7 แสนล้านดอลลาร์ อาจช่วยพลิกฟื้นเศรษฐกิจสหรัฐได้บ้าง แต่ยังมีธนาคาร ที่มีสินทรัพย์เสื่อมค่าที่ไม่อยู่ในข่ายช่วยเหลือจากรัฐ

กรุงเทพ ธุรกิจ ออนไลน์ : นักวิเคราะห์ยังพากันตั้งข้อสงสัยว่า งบประมาณ 700,000 ล้านดอลลาร์ ที่สภาคองเกรสเพิ่งอนุมัติไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว จะเพียงพอหรือไม่กับการช่วยพลิกฟื้นอุตสาหกรรมการเงินในสหรัฐไม่ให้สั่น สะเทือนไปมากกว่านี้

นายจาเรท ไซเบิร์ก  นักวิเคราะห์จากสแตนฟอร์ด ไฟแนนเชียล มองว่า งบก้อนโตที่จะใช้ซื้อหนี้เสีย ก็อาจพอช่วยพลิกฟื้นเศรษฐกิจสหรัฐได้บ้าง แต่ไม่มากนัก เพราะยังมีธนาคารอีกหลายแห่งที่ครอบครองสินเชื่อก่อสร้าง หรือทรัพย์สินเสื่อมค่าประเภทอื่น ซึ่งไม่อยู่ในขอบข่ายที่จะได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ  ด้วยเหตุนี้ จึงน่าจะมีธนาคารในสหรัฐอีกกว่า 100 แห่ง ที่ต้องล้มละลายในปีหน้า

แม้ตัวเลขธนาคารที่ล้มจะมีไม่มากเท่า กับในช่วงที่เกิดวิกฤติสถาบันเงินกู้เพื่อที่อยู่อาศัย หรือ S&L Crisis ในสหรัฐ เมื่อประมาณ 20 ปีก่อน เพราะจำนวนธนาคารในสหรัฐขณะนี้มีน้อยกว่าในยุคนั้นถึง 8,000 แห่ง แต่การล้มของธนาคารสหรัฐในครั้งนี้ อาจสร้างความหวั่นวิตกได้ไม่แพ้กัน เพราะธนาคารในสหรัฐปัจจุบัน มีขนาดกิจการที่ใหญ่กว่าเมื่อ 20 ปีที่แล้ว ดังนั้น การล้มละลายของธนาคารจึงน่าจะส่งผลเสียในวงกว้างและรุนแรง  

นักวิเคราะห์ยังพุ่งเป้าไปที่ธนาคารใน รัฐแคลิฟอร์เนีย ฟลอริดา  จอร์เจีย อิลลินอยส์  และในรัฐมินนิโซตา ของประเทศสหรัฐ  ที่มีสถานะทางการเงินอ่อนแออย่างมากในขณะนี้  แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า ธนาคารทุกแห่งที่ตั้งอยู่ในรัฐดังกล่าว จะต้องล้มละลาย เพราะคาดว่าอาจมีอยู่หลายแห่งในนี้ที่สามารถปรับตัวได้ทัน จนพลิกฟื้นสถานการณ์ขึ้นมาได้


http://www.bangkokbiznews.com/2008/10/0 ... 300712.php
ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 22

โพสต์

IMF Predicts Global Economy Heads for `Major Downturn' in 2009

By Christopher Swann

Oct. 7 (Bloomberg) -- Global growth is headed for a ``major downturn'' next year, as U.S. gross domestic product grinds close to a halt, the International Monetary Fund said in a staff report prepared for a Group of Seven meeting this week.

The U.S. will expand 0.1 percent next year, after growth of 1.6 percent this year, the IMF said in the report prepared for the Oct. 10 meeting of finance ministers and central bankers from the G-7 industrial nations. In its World Economic Outlook in April, the IMF said the U.S. would grow 0.5 percent this year and 0.6 percent next. A revised WEO will be released tomorrow.

``The global economy is entering a major downturn,'' the fund said in the report, dated Oct. 4. ``Many advanced economies are now close to recession, while emerging economies are also slowing rapidly.''

The IMF report suggested that the European Central Bank has scope to lower interest rates to help limit economic damage from the financial market crisis. The Washington-based lender said in the note that the dollar is ``in line'' with economic fundamentals, the euro is ``on the strong side'' and the yen is ``undervalued'' in the medium term.

The draft obtained by Bloomberg News indicates changes from the April forecasts. IMF spokeswoman Conny Lotze declined to comment on the figures.

Growth will be ``particularly weak'' in the G-7 countries -- the U.S., Japan, Germany, France, the U.K., Canada and Italy, the IMF report said.

U.S. Recession

Global growth will slow to 3 percent in 2009, compared with a forecast in April of 3.7 percent. This year the global economy is expected to grow by 3.9 percent.

A recession in the U.S. is ``looming,'' growth in western Europe is ``weakening markedly,'' activity in Japan is ``cooling rapidly'' and emerging countries ``have not decoupled from this downturn'' the report said.

Of advanced economies, the IMF made its steepest reduction in the growth prediction for U.K., which the fund predicted will contract by 0.1 percent next year, the report said. Six months ago, the IMF forecast U.K. growth 1.6 percent in 2009.

Italy's economy will contract 0.2 percent, the IMF predicted, a reduction from its April forecast for 0.3 percent, the report said.

The fastest-growing G-7 country will be Canada, where GDP is forecast to increase 1.2 percent, the IMF report said, after a 2 percent outlook in April.

Central Bank Policy

The IMF report showed Germany's is expected to post zero growth next year, compared with a prediction in April of a 1 percent expansion. France's economy will register 0.2 percent growth, down from a 1.3 percent forecast six months ago, the report said.

In the U.S., the Federal Reserve's ``monetary policy is already highly accommodative,'' the IMF draft report said. The Bank of Japan's interest-rate policy stance ``remains accommodative and should remain so given that the economy has weakened and that underlying price pressures are well contained,'' it said.

For the ECB, ``monetary conditions are now quite tight,'' the report said. ``In light of this, there is now scope to ease monetary policy.''
ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 23

โพสต์

ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 24

โพสต์

แมลงสาบตัวที่หนึ่งหรือเปล่า .................

Yamato Life becomes 1st Japan financial firm to fail on subprime crisis+  
Oct 10 12:36 AM US/Eastern



Yamato Life Insurance Co., a time-honored insurer based in Tokyo, filed for bankruptcy protection Friday due to losses related to the U.S. subprime crisis, becoming the first Japanese financial institution to fail amid the ongoing global financial turmoil.

Yamato, which went belly-up with debts of 269.5 billion yen, asked the Tokyo District Court to invoke the 2000 fast-track law for the rehabilitation of troubled financial institutions, company officials said.

Yamato's financial profile was hurt by losses from investing in subprime mortgage-backed bonds and other securities like stocks, whose prices have plunged amid the global financial crisis, the officials said.

The rehabilitation law empowers a court to order the assets of troubled financial institutions such as banks and insurers to be preserved. The court is also authorized to halt policy cancellations and order insurers to stop selling new policies provisionally.

Under it, insurance money and pension benefits payable to Yamato's policyholders may be cut by percentages to be prescribed later, with benefits for financial products with high savings components likely to suffer the deepest cuts, analysts say.

Yamato's negative net worth -- by which its debts eclipse assets -- is likely to amount to 11.5 billion yen as of Sept. 30, the officials said.

"We are really sorry for this and offer a hearty apology," Yamato President Takeo Nakazono said at a press conference.

"The value of our securities holdings has undergone sharper-than- expected falls as a result of the turmoil in global financial markets," he said.

Under the rehabilitation law, the court would authorize the insurer to start rehabilitation proceedings if it judges the insurer can be revived as a corporate entity.

The court would then appoint an administrator to oversee the rehabilitation proceedings. The administrator would be tasked with devising a reconstruction program.

Kaoru Yosano, minister in charge of economic and fiscal policies, rejected suggestions Yamato's collapse may exert a negative influence on Japan's financial system.

"The corporate scale of Yamato Life Insurance is small and it came to a dead end as a result of its extraordinary business model," Yosano said.

Financial Services Minister Shoichi Nakagawa, now on a visit to Washington, told reporters the Yamato failure "has stemmed chiefly from its extraordinary profit and revenue structure, so the insurer's situation differs from those of other insurance companies."

"The insurer has long engaged in risky business and it was anticipated that the insurer would develop a negative net worth," Nakagawa said.

Industry sources say that under its extraordinary business model, the insurer has tried to offset the high cost of its mainline insurance business with profit on investment in high-yielding securities like collateralized debt obligations backed by subprime mortgages.

Yamato becomes the eighth life insurer to fail in Japan since the end of World War II, and the first since the collapse in 2001 of Tokyo Life Insurance Co., a predecessor of T&D Financial Life Insurance Co.

Yamato originated from Nihon Chohei Hoken, founded in 1911, which used to sell conscription insurance policies. It assumed its current name in 1945. In 2002, it became a stock company, changing its structure from a mutual company.

Yamato had 170,000 individual insurance contracts as of March 31, with its assets totaling 283.1 billion yen. It has a workforce of 1,011.
ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 25

โพสต์

ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 26

โพสต์

สิงคโปร์เข้าสู่ภาวะเศรษฐกิจถดถอยครั้งแรกในรอบ 6 ปี หลังจีดีพีร่วงหนัก 2 ไตรมาสซ้อน


เอ เอฟพี รายงานว่า กระทรวงการค้าและอุตสาหกรรม ได้ปรับลดคาดการณ์การเติบโตทั้งปีของประเทศมาอยู่ที่ 3% โดยอ้างภาวะเศรษฐกิจโลกชะลอตัว และภาคธุรกิจหลักในประเทศบางธุรกิจ

และเพื่อรับมือกับภาวะขาลง คณะกรรมการการเงินของสิงคโปร์ ระบุว่า จะผ่อนคลายนโยบายการเงินเป็นครั้งแรกในรอบ 4 ปี
สิงคโปร์ เป็นประเทศร่ำรวยที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อวัดจากอัตราจีดีพีต่อหัว และเป็นประเทศที่ต้องพึ่งพาการค้าอย่างมาก ทำให้มีความอ่อนไหวต่อภาวะชะงักงันที่เกิดขึ้นในประเทศพัฒนาแล้ว โดยเฉพาะตลาดส่งออกสำคัญ เช่น อเมริกา และยุโรป

ดีบีเอส กรุ๊ป รีเสิร์ช ระบุว่า ข้อมูลล่าสุดชี้ว่าสิงคโปร์เป็นประเทศเอเชียแห่งแรกที่ตกอยู่ในภาวะเศรษฐกิจถดถอยเชิงเทคนิค
ผล กระทบของวิกฤตการเงินสหรัฐที่เลวร้ายยิ่งขึ้น และวิกฤตสินเชื่อที่รุนแรงขึ้น ทำให้ความรู้สึกของผู้บริโภคย่ำแย่ลง ซึ่งกระทบต่อความต้องการสินค้าจากเอเชียและส่วนอื่นๆ ของประเทศ
กระทรวงฯ เผยว่า จีดีพีแท้จริงลดลง 6.3% ในไตรมาสที่ 3 หลังหดตัว 5.7% ในช่วงไตรมาสที่ 2 แม้ว่าสิงคโปร์จะไม่ระบุว่าเศรษฐกิจตกอยู่ในภาวะถดถอย แต่ในเชิงเทคนิค การหดตัวของการผลิตทางเศรษฐกิจติดต่อกัน 2 ไตรมาส ถือเป็นการถดถอยทางเศรษฐกิจ

ก่อนหน้านี้เมื่อเดือนสิงหาคม รัฐบาลได้ปรับลดคาดการณ์จีดีพีมาอยู่ที่ระดับ 4.0-5.0% ซึ่งนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ภาวะเศรษฐกิจภายนอกแย่ลงกว่าที่คาดไว้มาก และบางภาคเศรษฐกิจอ่อนแอลงอย่างยิ่ง เพราะปัจจัยภายในประเทศ และอุตสาหกรรมบางประเภท
ซึ่งกระทรวงฯ ชี้ว่า ภาคส่วนที่เน้นการส่งออก เช่น ภาคการผลิต จะได้รับกระทบ
ด้าน บรรดานักวิเคราะห์ เผยว่า ปัจจัยหลักที่ฉุดการเติบโตในไตรมาสที่ 3 คือ ภาคการผลิต และการเติบโตที่น้อยลงอย่างมากของภาคการก่อสร้าง โดยประเมินว่าภาคการผลิตไตรมาส 3 หดตัว 11.5% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่ไตรมาสที่ 2 ลดลง 4.9% ด้านภาคการก่อสร้างโตน้อยลงมาอยู่ที่ระดับ 7.8% เทียบกับอัตราเติบโตที่ 19.8% ส่วนภาคอุตสาหกรรมโต 6.1% น้อยกว่าการเติบโตที่ระดับ 7.0% ในช่วงไตรมาส 2

เมื่อปีกลายเศรษฐกิจสิงคโปร์ขยายตัว 7.7% แต่หลังจากการเติบโตต่อเนื่องกันหลายปี สัญญาณของภาวะชะลอตัวเริ่มปรากฏขึ้น โดยเห็นจากข้อมูลการค้าที่น่าผิดหวัง และการเติบโตที่น้อยลงของภาคการผลิต ซึ่งรวมถึงธุรกิจที่เน้นการส่งออก เช่น เภสัชภัณฑ์ และเครื่องใช้ไฟฟ้า
ด้านมอร์แกน สแตนเลย์ ระบุว่า สิ่งต่างๆ จะเลวร้ายลงสำหรับสิงคโปร์ อันเป็นผลมาจากปัจจัยภายนอกที่ย่ำแย่ และการขาดแรงหนุนจากความต้องการบริโภคภายในประเทศ โดยคาดว่าจะมีการเติบโตในปีหน้าราว 0.2% เท่านั้น พร้อมมองว่าภาวะถดถอยของสิงคโปร์อาจเป็นมากกว่าการถดถอยเชิงเทคนิค
อย่าง ไรก็ตาม นายกรัฐมนตรีลี เซียน หลุง กล่าวว่า แม้การเติบโตจะน้อยลง แต่ระบบการเงินยังคงแข็งแกร่งมั่นคง และเศรษฐกิจยังสามารถแข่งขันได้ดี
ทั้ง นี้ ภาวะถดถอยเชิงเทคนิคของสิงคโปร์ครั้งล่าสุดเกิดขึ้นเมื่อปี 2545 ส่วนภาวะถดถอยเต็มรูปแบบเกิดขึ้นเมื่อปี 2544 เมื่อเศรษฐกิจหดตัว 2.4%
ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 27

โพสต์

ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 28

โพสต์

For the Dow Jones Industrials, in theory at least that could translate into a fall back to 1000. While that may be only for some super bears vivid imagination we believe that at a minimum the Dow Jones Industrials will ultimately fall at least 50%-60% or down to around 5000. The highs of January 2000 are but a dream for years to come.

Dow ลงได้อีก 3000 จุดเลยเหรอเนี่ย ...................

ตามไปอ่านแบบยาวๆที่นี่เลยครับ ..................

http://www.kwaves.com/kond_overview.htm
ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 0

7 แสนล้านดอลล่าร์ ไม่พอ !!!!!

โพสต์ที่ 29

โพสต์

เครดิตคุณคัดท้ายครับ !!!!!
ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
โพสต์โพสต์