New Bull Market confirmed !!!!
-
- Verified User
- โพสต์: 680
- ผู้ติดตาม: 0
New Bull Market confirmed !!!!
โพสต์ที่ 121
คุณ LOSO ทำให้ผมเรียนรู้อีกอย่าง
leading indicator ที่ยกมานั้น.. บอกก่อนได้จริง สำหรับ สภาพ ศก.ในอนาคต
บอกได้เร็วจริง แต่ความเร็วพอๆ กับ ดัชนีหุ้น เท่านั้น
และต้องใช้เวลาเก็บราว 1 เดือนอีกด้วย
ดังนั้น ค่านี้ก็ยังใช้คาดการณ์ตลาดหุ้นไม่ได้อีกนั่นแหละ
เพราะ ถ้าคาดกันได้ง่ายๆ คงมีคนรวยจากตลาดล่วงหน้าเต็มบ้านเต็มเมืองกันไปหมดแล้ว
ดังนั้น การคาดการณ์ตลาดหุ้นต้องใช้ leading ที่เป็น ระดับ super leading indicator อีกที
ทุกคนยอมรับใช่ไหมว่า จีนเป็นประเทสที่ฟื้นตัวเร็วที่สุดในโลก ตลาดหุ้นจีนก็ฟื้นเร็วกว่าตลาดหุ้นทั่วโลก...นี่ก็ชัดอยู่แล้ว
ว่ามันคือ super leading indicator บอกได้เร็วกว่าดัชนีหุ้นโลก
เวลาลง มันก็จะเริ่มลงเร็วกว่าหุ้นโลก 1.5-2 เดือน
แล้วตอนนี้ก็ถึงเวลาที่ทั่วโลกจะเริ่มลงตาม "หุ้นจีน" แล้ว
ผมค่อนข้างมั่นใจว่าศก.จะฟื้นตัว W ค่อนข้างแน่
ปัญหาก็คือ ขาลงรอบ 2 นี่มันจะหนักขนาดไหน...
ต้องลองติดตามดูดัชนีหุ้นจีนครับ....มันจะบอกได้ก่อน
แต่ถ้าหนักขนาด S&P ลงไป 400 จุด....นี่เหนื่อยแน่ๆ ครับ
leading indicator ที่ยกมานั้น.. บอกก่อนได้จริง สำหรับ สภาพ ศก.ในอนาคต
บอกได้เร็วจริง แต่ความเร็วพอๆ กับ ดัชนีหุ้น เท่านั้น
และต้องใช้เวลาเก็บราว 1 เดือนอีกด้วย
ดังนั้น ค่านี้ก็ยังใช้คาดการณ์ตลาดหุ้นไม่ได้อีกนั่นแหละ
เพราะ ถ้าคาดกันได้ง่ายๆ คงมีคนรวยจากตลาดล่วงหน้าเต็มบ้านเต็มเมืองกันไปหมดแล้ว
ดังนั้น การคาดการณ์ตลาดหุ้นต้องใช้ leading ที่เป็น ระดับ super leading indicator อีกที
ทุกคนยอมรับใช่ไหมว่า จีนเป็นประเทสที่ฟื้นตัวเร็วที่สุดในโลก ตลาดหุ้นจีนก็ฟื้นเร็วกว่าตลาดหุ้นทั่วโลก...นี่ก็ชัดอยู่แล้ว
ว่ามันคือ super leading indicator บอกได้เร็วกว่าดัชนีหุ้นโลก
เวลาลง มันก็จะเริ่มลงเร็วกว่าหุ้นโลก 1.5-2 เดือน
แล้วตอนนี้ก็ถึงเวลาที่ทั่วโลกจะเริ่มลงตาม "หุ้นจีน" แล้ว
ผมค่อนข้างมั่นใจว่าศก.จะฟื้นตัว W ค่อนข้างแน่
ปัญหาก็คือ ขาลงรอบ 2 นี่มันจะหนักขนาดไหน...
ต้องลองติดตามดูดัชนีหุ้นจีนครับ....มันจะบอกได้ก่อน
แต่ถ้าหนักขนาด S&P ลงไป 400 จุด....นี่เหนื่อยแน่ๆ ครับ
- LOSO
- Verified User
- โพสต์: 2512
- ผู้ติดตาม: 0
New Bull Market confirmed !!!!
โพสต์ที่ 122
LOSO เขียน:
Buffett said today, adding that he doesn’t expect a “double-dip” recession.
LOSO เขียน:U.S. Double-Dip Recession "Out of the Question": ECRI
August 28, 2009
NEW YORK (Reuters) - A weekly measure of future U.S. economic growth slipped in the latest week, though its yearly growth rate surged to a 38-year high that suggests chances of a double-dip recession are slim.
The Economic Cycle Research Institute, a New York-based independent forecasting group, said its Weekly Leading Index for the week to August 21 fell to 124.4 from a downwardly revised 124.9 the prior week, which was originally reported at 125.0.
But the index's annualized growth rate soared to a 38-year high of 19.6 percent from a downwardly revised 17.4 percent the prior week, a number which was originally 17.5 percent.
It was the WLI's highest yearly growth rate reading since the week to May 28, 1971, when it stood at 20.5 percent.
"With WLI growth continuing to surge through late summer, a double dip back into recession in the fourth quarter is simply out of the question," said ECRI Managing Director Lakshman Achuthan, reinstating the group's recent warning to ignore negative analyst projections.
He added that the index was pulled down this week due to higher interest rates.
Achuthan has recently projected that the recovery is moving at a stronger pace than any the United States has seen since the early 1980s.
(Reporting by Camille Drummond, Editing by Chizu Nomiyama)
http://abcnews.go.com/Business/wireStory?id=8433379
ความพยายามไม่มี ปัญญาไม่เกิด
-
- Verified User
- โพสต์: 680
- ผู้ติดตาม: 0
New Bull Market confirmed !!!!
โพสต์ที่ 123
ใครบอกว่า ไตรมาส 4 ศก.จะแย่
ศก.จะดีมากต่างหาก... อย่างที่บอก ดัชนีหุ้นมันบอกไว้แล้ว
คาดการณ์ ศก.ไม่ใช่เรื่องของหมอดู มนุษย์หุ้นทุกคนทำได้อยู่แล้ว ความรู้ระดับเด็ก ป.4 ก็แค่บวกไปอีก 3 เดือน ยากตรงไหน
ดังนั้นที่บอกว่า ไตรมาส 4 จะไม่เกิด ศก.ตกต่ำ มันก็แน่ละสิ
ปัญหาก็คือ ปีนี้จะมีไหม ผมเชื่อว่ามีครับ เพราะ หุ้นจะเริ่มลงตั้งแต่ปลายเดือน กย.นี้ไป แล้ว ศก.มันก็จะสะท้อน เริ่มแย่ลงตั้งแต่ต้นปีครับ
ศก.จะดีมากต่างหาก... อย่างที่บอก ดัชนีหุ้นมันบอกไว้แล้ว
คาดการณ์ ศก.ไม่ใช่เรื่องของหมอดู มนุษย์หุ้นทุกคนทำได้อยู่แล้ว ความรู้ระดับเด็ก ป.4 ก็แค่บวกไปอีก 3 เดือน ยากตรงไหน
ดังนั้นที่บอกว่า ไตรมาส 4 จะไม่เกิด ศก.ตกต่ำ มันก็แน่ละสิ
ปัญหาก็คือ ปีนี้จะมีไหม ผมเชื่อว่ามีครับ เพราะ หุ้นจะเริ่มลงตั้งแต่ปลายเดือน กย.นี้ไป แล้ว ศก.มันก็จะสะท้อน เริ่มแย่ลงตั้งแต่ต้นปีครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 4395
- ผู้ติดตาม: 0
New Bull Market confirmed !!!!
โพสต์ที่ 125
:roll: :roll:
วันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2552 เวลา 09:45:40 น. ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ [อ่านล่าสุด 467 คน]
10 บริษัทยักษ์จ่อคิว ′ล้มละลาย′ ลุ้นชะตากรรม ใครจะเป็นรายต่อไป ?
แม้กูรูด้านเศรษฐกิจจะมองว่า ภาวะต่ำสุดได้ผ่านพ้นไปแล้ว และเริ่มมีต้นอ่อนของเศรษฐกิจเกิดขึ้นมาหลังเกิดมรสุมการเงินครั้งล่าสุด
แต่ ยังมีบริษัทอีกจำนวนไม่น้อยที่ยังอยู่ในภาวะยากลำบาก รวมถึงบริษัทยักษ์ใหญ่อีกหลายแห่งที่ยังต้องลุ้นว่าจะหนีพ้นจากชะตากรรม ′ล้มละลาย′ ได้หรือไม่
′ เดอะ บิสซิเนส อินไซเดอร์′ อ้างถึงรายงานล่าสุดของ ′ออดิต อินทิกริตี้′ ที่ระบุว่า 10 บริษัทจดทะเบียนขนาดใหญ่ในสหรัฐมีความเป็นไปได้สูงว่าอาจจะต้องเข้าสู่ ชะตากรรมล้มละลาย
โดย พิจารณาจากบริษัทจดทะเบียนในตลาดหุ้น ซึ่งไม่นับรวมบริษัทที่มีมูลค่าตลาดต่ำกว่า 3 พันล้านดอลลาร์ และจัดอันดับรายชื่อโดยพิจารณาจากดัชนีชี้วัดความเสี่ยงภาวะล้มละลายที่ คำนวณจากมูลค่าตลาด (MC-market cap) เทียบกับมูลค่ากิจการ (EV-enterprise value) ซึ่งหากตัวเลข MC/EV อยู่ในระดับต่ำ จะสะท้อนว่าตลาดมีความเชื่อว่า บริษัทนั้นๆ มีความเสี่ยงจะเข้าสู่ภาวะล้มละลายมากขึ้น
′เฮิร์ตซ′ (Hertz) บริษัทให้เช่ารถยนต์รายใหญ่สุดของโลก ถูกจัดให้อยู่ในอันดับ 1 ของทำเนียบบริษัทจดทะเบียนที่เสี่ยง ล้มละลาย ด้วยค่า MC/EV เท่ากับ 32% เนื่องจากบริษัทมีหนี้จำนวนมหาศาล ขณะที่ความต้องการเช่ารถที่ลดลงอย่างมาก
แม้ บริษัทจะยื้อชีวิตด้วยการเพิ่มทุนในเดือนพฤษภาคม แต่บริษัทจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ทั้ง ′ฟิทช์′ และ ′มูดีส์′ ต่างก็ปรับลดอันดับของเฮิร์ตซในเดือนกรกฎาคม
อันดับ 2 คือ ′เท็กซ์ทรอน′ ที่มีธุรกิจ หลากหลายในมือ ทั้งผลิตเครื่องบิน เฮลิคอปเตอร์ และการเงิน โดยค่า MC/EV เท่ากับ 39% ซึ่งภาวะเศรษฐกิจได้ส่งผล ต่อการขายเครื่องบินของบริษัท
เท็กซ์ทรอนต้องลดมูลค่าทรัพย์สินลง เพราะบริษัทยกเลิกการออกแบบเครื่องบินรุ่นใหม่ๆ บวกกับความต้องการซื้อที่ลดลง
′สปรินต์ เน็กซ์เทล′ ผู้ให้บริการมือถือและอินเทอร์เน็ต ติดอันดับ 3 ด้วย MC/EV เท่ากับ 41% เพราะบริษัทกำลังสูญเสียลูกค้า โดยอาจเสียลูกค้าแบบ post-paid ราวๆ 4.4 ล้านรายในปีนี้ และยังติดบ่วงปัญหาหนี้ที่จะครบชำระใน 2-3 ปีข้างหน้า
ตามมาด้วยห้าง ′เมซีส์′ ที่กำลังเสี่ยงกับชะตากรรมล้มละลายเช่นกัน โดยมีค่า MC/EV อยู่ ที่ 47% โดยยอดขายในสาขาที่ดำเนินการมานานกว่า 12 เดือนของเมซีส์ มีแนวโน้มจะลดลงต่อเนื่องในปีนี้ และมีหนี้ที่จะครบกำหนด 5 ปีข้างหน้า 2.4 พันล้านดอลลาร์ ทำให้บริษัทต้องพยายามลดต้นทุนให้ได้มากที่สุด
′มายแลน′ (Mylan) ผู้ผลิตยารายใหญ่ของสหรัฐ ติดอันดับ 5 ด้วยค่า MC/EV ที่ 51% โดยธุรกิจของมายแลนสะดุดหลังจากควักเงินซื้อธุรกิจผลิตยาสามัญจาก ′เมิร์ค′ ในปี 2550 แพงถึง 6.6 พันล้านดอลลาร์ ทำให้ขณะนี้บริษัทเผชิญกับหนี้ระยะยาว 5 พันล้านดอลลาร์
′กู๊ดเยียร์′ ผู้ผลิตยางรถยนต์รายใหญ่อยู่อันดับ 6 ด้วย MC/EV ที่ 53% หลังจากความต้องการยางรถยนต์ลดลง รวมทั้งต้องแบกรับหนี้และภาระเงินบำนาญก้อนโต
อันดับ 7 ได้แก่ ′ซีบีเอส′ สื่อรายใหญ่ ซึ่งถูกกระทบจากโฆษณาและค่าธรรมเนียมไลเซนส์ที่ลดลง จนทำให้รายได้ของซีบีเอสในปีนี้เหมือนยืนอยู่บนปากเหว และหากยังคงเผชิญกับสถานการณ์เช่นนี้อย่างยาวนาน ก็อาจทำให้บริษัทมีปัญหาในการรีไฟแนนซ์หนี้มูลค่า 3.2 พันล้านดอลลาร์ ที่จะครบกำหนดภายใน 5 ปีข้างหน้า
ทั้งนี้ ค่า MC/EV ของ ซีบีเอสอยู่ที่ 55% และบริษัทเสี่ยงที่จะเผชิญความยากลำบาก ไม่ว่ารายได้ที่ทรุดหนักจะเกิดขึ้นตามวัฏจักรของธุรกิจ หรือเป็นผลจากเทรนด์ของธุรกิจสื่อดั้งเดิมอย่างทีวี ที่กำลังล้มหายตายจาก
อันดับ 8 ผู้ผลิตโปรเซสเซอร์รายใหญ่ ′แอดวานซ์ ไมโคร ดีไวซ์′ (เอเอ็มดี) ที่มีค่า MC/EV ที่ 55% เช่นกัน โดยบริษัทมีหนี้ระยะยาวมากกว่า 5 พันล้านดอลลาร์ ขณะที่บริษัทอาจขาดทุนมากขึ้นอีกในปีนี้และปีหน้า หลังขาดทุนไปราว 3 พันล้านดอลลาร์ ในระหว่างปี 2550-2551
ตามด้วย ′ลาสเวกัส แซนด์ส′ ขาใหญ่ในธุรกิจกาสิโน ที่มีค่า MC/EV อยู่ที่ 60% โดยบริษัทติดบ่วงปัญหาจากการโหมขยายธุรกิจมากเกินไปในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา จนทำให้ขณะนี้มีหนี้มากกว่า 10 พันล้านดอลลาร์ ซึ่งหากอาการไม่ดีขึ้นก็เป็นไปได้ที่บริษัทจะลงเอยที่ศาลล้มละลาย
สุดท้าย ′อินเตอร์พับลิก กรุ๊ป′ บริษัทโฆษณาและการตลาด ซึ่งมีค่า MC/EV ที่ 80% โดยบริษัทได้รับแรงกระแทกจากภาวะถดถอยอย่างหนัก โดยตัวเลขรายได้ลดลงในระดับเลข 2 หลัก และมีแนวโน้มที่สถานการณ์ย่ำแย่จะหยั่งลึกและยาวนาน
วันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2552 เวลา 09:45:40 น. ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ [อ่านล่าสุด 467 คน]
10 บริษัทยักษ์จ่อคิว ′ล้มละลาย′ ลุ้นชะตากรรม ใครจะเป็นรายต่อไป ?
แม้กูรูด้านเศรษฐกิจจะมองว่า ภาวะต่ำสุดได้ผ่านพ้นไปแล้ว และเริ่มมีต้นอ่อนของเศรษฐกิจเกิดขึ้นมาหลังเกิดมรสุมการเงินครั้งล่าสุด
แต่ ยังมีบริษัทอีกจำนวนไม่น้อยที่ยังอยู่ในภาวะยากลำบาก รวมถึงบริษัทยักษ์ใหญ่อีกหลายแห่งที่ยังต้องลุ้นว่าจะหนีพ้นจากชะตากรรม ′ล้มละลาย′ ได้หรือไม่
′ เดอะ บิสซิเนส อินไซเดอร์′ อ้างถึงรายงานล่าสุดของ ′ออดิต อินทิกริตี้′ ที่ระบุว่า 10 บริษัทจดทะเบียนขนาดใหญ่ในสหรัฐมีความเป็นไปได้สูงว่าอาจจะต้องเข้าสู่ ชะตากรรมล้มละลาย
โดย พิจารณาจากบริษัทจดทะเบียนในตลาดหุ้น ซึ่งไม่นับรวมบริษัทที่มีมูลค่าตลาดต่ำกว่า 3 พันล้านดอลลาร์ และจัดอันดับรายชื่อโดยพิจารณาจากดัชนีชี้วัดความเสี่ยงภาวะล้มละลายที่ คำนวณจากมูลค่าตลาด (MC-market cap) เทียบกับมูลค่ากิจการ (EV-enterprise value) ซึ่งหากตัวเลข MC/EV อยู่ในระดับต่ำ จะสะท้อนว่าตลาดมีความเชื่อว่า บริษัทนั้นๆ มีความเสี่ยงจะเข้าสู่ภาวะล้มละลายมากขึ้น
′เฮิร์ตซ′ (Hertz) บริษัทให้เช่ารถยนต์รายใหญ่สุดของโลก ถูกจัดให้อยู่ในอันดับ 1 ของทำเนียบบริษัทจดทะเบียนที่เสี่ยง ล้มละลาย ด้วยค่า MC/EV เท่ากับ 32% เนื่องจากบริษัทมีหนี้จำนวนมหาศาล ขณะที่ความต้องการเช่ารถที่ลดลงอย่างมาก
แม้ บริษัทจะยื้อชีวิตด้วยการเพิ่มทุนในเดือนพฤษภาคม แต่บริษัทจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ทั้ง ′ฟิทช์′ และ ′มูดีส์′ ต่างก็ปรับลดอันดับของเฮิร์ตซในเดือนกรกฎาคม
อันดับ 2 คือ ′เท็กซ์ทรอน′ ที่มีธุรกิจ หลากหลายในมือ ทั้งผลิตเครื่องบิน เฮลิคอปเตอร์ และการเงิน โดยค่า MC/EV เท่ากับ 39% ซึ่งภาวะเศรษฐกิจได้ส่งผล ต่อการขายเครื่องบินของบริษัท
เท็กซ์ทรอนต้องลดมูลค่าทรัพย์สินลง เพราะบริษัทยกเลิกการออกแบบเครื่องบินรุ่นใหม่ๆ บวกกับความต้องการซื้อที่ลดลง
′สปรินต์ เน็กซ์เทล′ ผู้ให้บริการมือถือและอินเทอร์เน็ต ติดอันดับ 3 ด้วย MC/EV เท่ากับ 41% เพราะบริษัทกำลังสูญเสียลูกค้า โดยอาจเสียลูกค้าแบบ post-paid ราวๆ 4.4 ล้านรายในปีนี้ และยังติดบ่วงปัญหาหนี้ที่จะครบชำระใน 2-3 ปีข้างหน้า
ตามมาด้วยห้าง ′เมซีส์′ ที่กำลังเสี่ยงกับชะตากรรมล้มละลายเช่นกัน โดยมีค่า MC/EV อยู่ ที่ 47% โดยยอดขายในสาขาที่ดำเนินการมานานกว่า 12 เดือนของเมซีส์ มีแนวโน้มจะลดลงต่อเนื่องในปีนี้ และมีหนี้ที่จะครบกำหนด 5 ปีข้างหน้า 2.4 พันล้านดอลลาร์ ทำให้บริษัทต้องพยายามลดต้นทุนให้ได้มากที่สุด
′มายแลน′ (Mylan) ผู้ผลิตยารายใหญ่ของสหรัฐ ติดอันดับ 5 ด้วยค่า MC/EV ที่ 51% โดยธุรกิจของมายแลนสะดุดหลังจากควักเงินซื้อธุรกิจผลิตยาสามัญจาก ′เมิร์ค′ ในปี 2550 แพงถึง 6.6 พันล้านดอลลาร์ ทำให้ขณะนี้บริษัทเผชิญกับหนี้ระยะยาว 5 พันล้านดอลลาร์
′กู๊ดเยียร์′ ผู้ผลิตยางรถยนต์รายใหญ่อยู่อันดับ 6 ด้วย MC/EV ที่ 53% หลังจากความต้องการยางรถยนต์ลดลง รวมทั้งต้องแบกรับหนี้และภาระเงินบำนาญก้อนโต
อันดับ 7 ได้แก่ ′ซีบีเอส′ สื่อรายใหญ่ ซึ่งถูกกระทบจากโฆษณาและค่าธรรมเนียมไลเซนส์ที่ลดลง จนทำให้รายได้ของซีบีเอสในปีนี้เหมือนยืนอยู่บนปากเหว และหากยังคงเผชิญกับสถานการณ์เช่นนี้อย่างยาวนาน ก็อาจทำให้บริษัทมีปัญหาในการรีไฟแนนซ์หนี้มูลค่า 3.2 พันล้านดอลลาร์ ที่จะครบกำหนดภายใน 5 ปีข้างหน้า
ทั้งนี้ ค่า MC/EV ของ ซีบีเอสอยู่ที่ 55% และบริษัทเสี่ยงที่จะเผชิญความยากลำบาก ไม่ว่ารายได้ที่ทรุดหนักจะเกิดขึ้นตามวัฏจักรของธุรกิจ หรือเป็นผลจากเทรนด์ของธุรกิจสื่อดั้งเดิมอย่างทีวี ที่กำลังล้มหายตายจาก
อันดับ 8 ผู้ผลิตโปรเซสเซอร์รายใหญ่ ′แอดวานซ์ ไมโคร ดีไวซ์′ (เอเอ็มดี) ที่มีค่า MC/EV ที่ 55% เช่นกัน โดยบริษัทมีหนี้ระยะยาวมากกว่า 5 พันล้านดอลลาร์ ขณะที่บริษัทอาจขาดทุนมากขึ้นอีกในปีนี้และปีหน้า หลังขาดทุนไปราว 3 พันล้านดอลลาร์ ในระหว่างปี 2550-2551
ตามด้วย ′ลาสเวกัส แซนด์ส′ ขาใหญ่ในธุรกิจกาสิโน ที่มีค่า MC/EV อยู่ที่ 60% โดยบริษัทติดบ่วงปัญหาจากการโหมขยายธุรกิจมากเกินไปในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา จนทำให้ขณะนี้มีหนี้มากกว่า 10 พันล้านดอลลาร์ ซึ่งหากอาการไม่ดีขึ้นก็เป็นไปได้ที่บริษัทจะลงเอยที่ศาลล้มละลาย
สุดท้าย ′อินเตอร์พับลิก กรุ๊ป′ บริษัทโฆษณาและการตลาด ซึ่งมีค่า MC/EV ที่ 80% โดยบริษัทได้รับแรงกระแทกจากภาวะถดถอยอย่างหนัก โดยตัวเลขรายได้ลดลงในระดับเลข 2 หลัก และมีแนวโน้มที่สถานการณ์ย่ำแย่จะหยั่งลึกและยาวนาน
- LOSO
- Verified User
- โพสต์: 2512
- ผู้ติดตาม: 0
New Bull Market confirmed !!!!
โพสต์ที่ 127
ความพยายามไม่มี ปัญญาไม่เกิด
-
- Verified User
- โพสต์: 4395
- ผู้ติดตาม: 0
New Bull Market confirmed !!!!
โพสต์ที่ 130
:oops: :oops:
วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2552 ปีที่ 32 ฉบับที่ 11526 มติชนรายวัน
ญี่ปุ่นเผชิญ"เงินฝืด"4เดือนติด
รบ.แย้มแทรกแซงค่าเงิน"เยน"
เมื่อ วันที่ 29 กันยายน เอเอฟพีรายงานว่า ในเดือนสิงหาคม ดัชนีราคาผู้บริโภค (เงินเฟ้อ) ของญี่ปุ่น ลดลง 2.4% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว ทำให้ญี่ปุ่นเผชิญภาวะ "เงินฝืด" ติดต่อกันเป็นเดือนที่ 4 ถือว่าเป็นสภาวะเงินฝืดที่ย่ำแย่เป็นประวัติการณ์ เนื่องจากอัตราการว่างงานสูงขึ้นเรื่อยๆ ทำให้ความต้องการบริโภคภายในประเทศอ่อนแอจนเป็นอุปสรรคต่อการฟื้นตัวของ เศรษฐกิจ ทั้งนี้ภาวะเงินฝืดที่ดิ่งลึกมากขึ้นเกิดขึ้นทั้งที่มีสัญญาณหลายอย่างดี ขึ้นจนทำให้ไตรมาสที่ 2 เศรษฐกิจญี่ปุ่นพลิกฟื้นกลับมาอยู่ในแดนบวกก็ตาม
รายงาน ข่าวระบุว่า เงินเฟ้อที่ลดลงมากเป็นประวัติการณ์ในเดือนสิงหาคม เกิดจากราคาน้ำมันเชื้อเพลิงและพลังงานอื่นๆ ลดต่ำลง รวมทั้งการใช้จ่ายของผู้บริโภคที่น้อยลง ซึ่งส่งผลให้ราคาแพคเกจท่องเที่ยว เครื่องใช้ไฟฟ้าและบันเทิงลดต่ำ ขณะที่นายฮิเดยูกิ อาระกิ นักเศรษฐศาสตร์ของสถาบันวิจัยเรโซนา ระบุว่า การที่แนวโน้มเงินฝืดกระจายกว้างขึ้นเป็นเพราะชาวญี่ปุ่นถูกลดเงินเดือนและ โบนัสทำให้ไม่มีเงินไปใช้จ่าย ซึ่งในเดือนกันยายนนี้เงินฝืดที่เกิดจากราคาพลังงานต่ำจะหมดไป แต่ปัจจัยที่จะยังก่อให้เกิดเงินฝืดต่อไปก็คืออัตราการว่างงานที่เลวร้ายมาก ขึ้นเรื่อยๆ
รายงานข่าวระบุว่า บรรดานักเศรษฐศาสตร์คาดว่าอัตราการว่างงานเดือนสิงหาคมที่รัฐบาลจะประกาศใน วันที่ 2 ตุลาคม จะทำสถิติสูงสุดครั้งใหม่ที่ 5.8% มากกว่าเดือนกรกฎาคมซึ่งทำสถิติไว้ที่ 5.7% เพราะคาดว่าบริษัทต่างๆ จะมียอดขายต่ำ ทำให้ต้องลดพนักงาน จึงเชื่อว่ามีความเป็นไปได้สูงที่รัฐบาลญี่ปุ่นจำเป็นต้องผ่อนคลายสินเชื่อ ต่อไปเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ
ด้านเอพีรายงานว่า นายฮิโรฮิสะ ฟูจิอิ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังญี่ปุ่น กล่าวว่า รัฐบาลอาจเข้าไปดูแลตลาดอัตราแลกเปลี่ยนด้วยมาตรการที่เหมาะสม ถ้าหากตลาดมีความเคลื่อนไหวผิดปกติ ซึ่งคำให้สัมภาษณ์ครั้งนี้ตรงกันข้ามกับก่อนหน้านี้ที่นายฟูจิอิแสดงความไม่ เห็นด้วยที่จะเข้าไปแทรกแซงอัตราแลกเปลี่ยน
รายงานข่าวระบุว่า เมื่อวันที่ 28 กันยายนที่ผ่านมา เงินเยนแข็งค่ามากที่สุดในรอบ 9 เดือนเมื่อเทียบกับดอลลาร์ที่ระดับ 88.22 เยนต่อดอลลาร์ ส่งผลให้ตลาดหุ้นญี่ปุ่นร่วงลงอย่างหนัก เพราะค่าเงินแข็งจะกระทบต่อรายได้ของบริษัทส่งออก
วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2552 ปีที่ 32 ฉบับที่ 11526 มติชนรายวัน
ญี่ปุ่นเผชิญ"เงินฝืด"4เดือนติด
รบ.แย้มแทรกแซงค่าเงิน"เยน"
เมื่อ วันที่ 29 กันยายน เอเอฟพีรายงานว่า ในเดือนสิงหาคม ดัชนีราคาผู้บริโภค (เงินเฟ้อ) ของญี่ปุ่น ลดลง 2.4% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว ทำให้ญี่ปุ่นเผชิญภาวะ "เงินฝืด" ติดต่อกันเป็นเดือนที่ 4 ถือว่าเป็นสภาวะเงินฝืดที่ย่ำแย่เป็นประวัติการณ์ เนื่องจากอัตราการว่างงานสูงขึ้นเรื่อยๆ ทำให้ความต้องการบริโภคภายในประเทศอ่อนแอจนเป็นอุปสรรคต่อการฟื้นตัวของ เศรษฐกิจ ทั้งนี้ภาวะเงินฝืดที่ดิ่งลึกมากขึ้นเกิดขึ้นทั้งที่มีสัญญาณหลายอย่างดี ขึ้นจนทำให้ไตรมาสที่ 2 เศรษฐกิจญี่ปุ่นพลิกฟื้นกลับมาอยู่ในแดนบวกก็ตาม
รายงาน ข่าวระบุว่า เงินเฟ้อที่ลดลงมากเป็นประวัติการณ์ในเดือนสิงหาคม เกิดจากราคาน้ำมันเชื้อเพลิงและพลังงานอื่นๆ ลดต่ำลง รวมทั้งการใช้จ่ายของผู้บริโภคที่น้อยลง ซึ่งส่งผลให้ราคาแพคเกจท่องเที่ยว เครื่องใช้ไฟฟ้าและบันเทิงลดต่ำ ขณะที่นายฮิเดยูกิ อาระกิ นักเศรษฐศาสตร์ของสถาบันวิจัยเรโซนา ระบุว่า การที่แนวโน้มเงินฝืดกระจายกว้างขึ้นเป็นเพราะชาวญี่ปุ่นถูกลดเงินเดือนและ โบนัสทำให้ไม่มีเงินไปใช้จ่าย ซึ่งในเดือนกันยายนนี้เงินฝืดที่เกิดจากราคาพลังงานต่ำจะหมดไป แต่ปัจจัยที่จะยังก่อให้เกิดเงินฝืดต่อไปก็คืออัตราการว่างงานที่เลวร้ายมาก ขึ้นเรื่อยๆ
รายงานข่าวระบุว่า บรรดานักเศรษฐศาสตร์คาดว่าอัตราการว่างงานเดือนสิงหาคมที่รัฐบาลจะประกาศใน วันที่ 2 ตุลาคม จะทำสถิติสูงสุดครั้งใหม่ที่ 5.8% มากกว่าเดือนกรกฎาคมซึ่งทำสถิติไว้ที่ 5.7% เพราะคาดว่าบริษัทต่างๆ จะมียอดขายต่ำ ทำให้ต้องลดพนักงาน จึงเชื่อว่ามีความเป็นไปได้สูงที่รัฐบาลญี่ปุ่นจำเป็นต้องผ่อนคลายสินเชื่อ ต่อไปเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ
ด้านเอพีรายงานว่า นายฮิโรฮิสะ ฟูจิอิ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังญี่ปุ่น กล่าวว่า รัฐบาลอาจเข้าไปดูแลตลาดอัตราแลกเปลี่ยนด้วยมาตรการที่เหมาะสม ถ้าหากตลาดมีความเคลื่อนไหวผิดปกติ ซึ่งคำให้สัมภาษณ์ครั้งนี้ตรงกันข้ามกับก่อนหน้านี้ที่นายฟูจิอิแสดงความไม่ เห็นด้วยที่จะเข้าไปแทรกแซงอัตราแลกเปลี่ยน
รายงานข่าวระบุว่า เมื่อวันที่ 28 กันยายนที่ผ่านมา เงินเยนแข็งค่ามากที่สุดในรอบ 9 เดือนเมื่อเทียบกับดอลลาร์ที่ระดับ 88.22 เยนต่อดอลลาร์ ส่งผลให้ตลาดหุ้นญี่ปุ่นร่วงลงอย่างหนัก เพราะค่าเงินแข็งจะกระทบต่อรายได้ของบริษัทส่งออก
-
- Verified User
- โพสต์: 112
- ผู้ติดตาม: 0
New Bull Market confirmed !!!!
โพสต์ที่ 131
อึ้ง + ฮา ครับ กระทู้นี้ :lol:
" บทเรียนที่สำคัญที่สุดในการลงทุนก็คือการมองหุ้นที่ซื้อขายกันอยู่ในตลาดเป็นส่วนหนึ่งของธุรกิจ ไม่ใช่สิ่งที่มีราคาขึ้นๆ ลงๆ
-
- Verified User
- โพสต์: 680
- ผู้ติดตาม: 0
New Bull Market confirmed !!!!
โพสต์ที่ 132
Ukraine's Naftogaz indicates default on bonds- AP
Ukraine's debt-laden state energy company Naftogaz on Thursday effectively defaulted on its $500 million Eurobond issue after it failed to make a payment on time, but a deal on restructuring the debt was expected soon.
Ukraine's debt-laden state energy company Naftogaz on Thursday effectively defaulted on its $500 million Eurobond issue after it failed to make a payment on time, but a deal on restructuring the debt was expected soon.
-
- Verified User
- โพสต์: 4395
- ผู้ติดตาม: 0
New Bull Market confirmed !!!!
โพสต์ที่ 133
:roll: :roll:
วันที่ 01 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ปีที่ 32 ฉบับที่ 11527 มติชนรายวัน
หนี้สาธารณะฝรั่งเศส ทะลุเมฆ73.9%จีดีพี
เมื่อ วันที่ 30 กันยายน เอเอฟพีรายงานว่า ไตรมาสที่ 2 ของปีนี้ สัดส่วนหนี้สาธารณะของฝรั่งเศสเพิ่มขึ้นไปอยู่ที่ 73.9% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) สูงกว่าระดับที่กลุ่มประเทศยุโรปที่ใช้เงินสกุลยูโร (ยูโรโซน) กำหนดเอาไว้ ซึ่งเป็นผลจากการใช้จ่ายงบประมาณของรัฐบาลท้องถิ่นรวมทั้งงบประมาณหลัก ประกันทางสังคมที่เพิ่มขึ้น
รายงานข่าวระบุว่า ภายใต้สนธิสัญญามาสทริชต์ สมาชิกยูโรโซนต้องจำกัดหนี้สาธารณะไว้ที่ไม่เกิน 60% ของจีดีพี อย่างไรก็ตามการใช้จ่ายงบประมาณเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจทำให้ฝรั่งเศสและอีก หลายประเทศมีหนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นเกินมาตรฐาน ทั้งนี้รัฐบาลฝรั่งเศสกำหนดจะเปิดเผยรายละเอียดงบประมาณรายจ่ายในวันที่ 30 กันยายนตามเวลาท้องถิ่นและคาดหมายว่าจะมีการลดภาษีให้กับภาคธุรกิจซึ่งจะทำ ให้หนี้สาธารณะสูงขึ้นอีก
วันที่ 01 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ปีที่ 32 ฉบับที่ 11527 มติชนรายวัน
หนี้สาธารณะฝรั่งเศส ทะลุเมฆ73.9%จีดีพี
เมื่อ วันที่ 30 กันยายน เอเอฟพีรายงานว่า ไตรมาสที่ 2 ของปีนี้ สัดส่วนหนี้สาธารณะของฝรั่งเศสเพิ่มขึ้นไปอยู่ที่ 73.9% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) สูงกว่าระดับที่กลุ่มประเทศยุโรปที่ใช้เงินสกุลยูโร (ยูโรโซน) กำหนดเอาไว้ ซึ่งเป็นผลจากการใช้จ่ายงบประมาณของรัฐบาลท้องถิ่นรวมทั้งงบประมาณหลัก ประกันทางสังคมที่เพิ่มขึ้น
รายงานข่าวระบุว่า ภายใต้สนธิสัญญามาสทริชต์ สมาชิกยูโรโซนต้องจำกัดหนี้สาธารณะไว้ที่ไม่เกิน 60% ของจีดีพี อย่างไรก็ตามการใช้จ่ายงบประมาณเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจทำให้ฝรั่งเศสและอีก หลายประเทศมีหนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นเกินมาตรฐาน ทั้งนี้รัฐบาลฝรั่งเศสกำหนดจะเปิดเผยรายละเอียดงบประมาณรายจ่ายในวันที่ 30 กันยายนตามเวลาท้องถิ่นและคาดหมายว่าจะมีการลดภาษีให้กับภาคธุรกิจซึ่งจะทำ ให้หนี้สาธารณะสูงขึ้นอีก
-
- Verified User
- โพสต์: 112
- ผู้ติดตาม: 0
New Bull Market confirmed !!!!
โพสต์ที่ 134
นำเสนอสักหนึ่งดอก :8)
Gold Tells You U.S. Bubble Hasnt Popped Yet: Alice Schroeder
Commentary by Alice Schroeder
Oct. 1 (Bloomberg) -- If you owned stocks and gold and had to sell one, which would it be?
The Standard & Poors 500 Index has gained almost 60 percent since its low on March 9. Gold is near a record price. I know a fair number of people who would keep the gold.
Ive never been a gold bug myself. They get no respect. They are associated with survivalists, conspiracy theorists and nutcases. They are always looking for the hyperinflation that never comes. Gold bugs pay a premium over the metal price for gold and silver coins on the notion that they will need the currency, come the Apocalypse.
On the other hand, the relationship between gold and financial crises goes back centuries. In the aftermath of the credit-bubble bust, we confront a Moby Dick-size pile of leverage and the question of whether this is inflationary or deflationary. So its worth considering what the price of gold may be telling us.
Leverage is a broad term that covers the complete history of finance, which all boils down essentially to the same structure: debt secured by assets. You give me a cow, I give you a piece of paper. Later innovations are simply variations of obligations secured by assets.
So a simple explanation of bubbles is that they form whenever someone creates a rationale to increase obligations too far beyond the level justified by the assets, regardless of the form of the asset or obligation.
Dutch Tulips
Consider tulip mania, which like all bubbles featured leverage; it was fueled not just by ordinary debt, but by leveraged tulip options. When the end came, the government of Holland declined to bail out those who had mortgaged their houses and businesses to buy tulip bulbs, and the multiyear depression that followed ruined an otherwise sound economy.
Our recent real-estate bubble wasnt like tulip mania, in which the inflated asset had only a tenuous connection to the economy it came to dominate. The real-estate bubble swelled on the genuine beliefs among consumers about their future prospects and earnings. To be sure, some of those prospects and earnings were exaggerated to the point of fraud.
Thus the bubble burst when credit-card junkies had spent the last dollars they could justify, and the final peanut brain had been unearthed who could be persuaded to sign up for a negative-amortizing mortgage.
Because this link, however slim, remained between peoples prospects and earnings and the debt they could carry, real- estate prices even in hard-hit cities such as Las Vegas declined only by half. Stock-market losses were similar. These numbers are reported as if they were staggering, but they are less so compared with many bubbles.
Free Lunches
Some now blame consumers disinclination to spend and get the economy going again on banks newfound reluctance to lend. To the contrary, we are in the midst of a deflationary trend that is temporarily being masked by inventory restocking and free lunches like cash for clunkers. Consumers are done with borrowing. They will keep fueling the deflation by going through their attics and garages to find stuff they can sell on EBay to raise cash.
Thats because consumers have figured out that it was all a big head-fake from the Federal Reserve. Real incomes havent grown in years. Manufacturing and, increasingly, service jobs are still moving overseas. The Treasury is trying to pump the economy back to a high-water mark that was phony to begin with, and doing so in the face of a savings rate that is going up.
Trade Gap
The Treasury will succeed in printing enough money to forestall severe deflation. Even so, dollars will keep flowing out of the U.S. to other countries as the trade gap widens. Only when we start creating more jobs and higher earnings can this dynamic reverse. The question is, when will that be?
Enter the gold bugs. They arent just betting on inflation, as is the conventional wisdom. Gold has a wicked history of being an unreliable inflation hedge. It has, though, at times been a haven against sudden currency depreciation.
In all the talk of inflation because the Treasury is printing so much money versus deflation because it may not print enough, there is one type of inflation that is rarely discussed. This is the mega-inflation caused by a sudden currency devaluation. Currency is like any financial innovation, an obligation secured by assets. When the obligation is perceived to have increased far beyond the level justifiable by the assets, which in this case make up a countrys economy, a bubble has formed.
As in any bubble, those who recognize this need to act well in advance. Historically, governments have taken action to prevent currency flight when the owners of a severely overvalued medium of exchange start selling so much that it adds to the pressure on its price. They make private purchases of gold illegal, or tax the exchange of currency.
Right now, the American economy is worth less than the value implied by the market value of its obligations. How much less, no one knows. But gold bugs will tell you, privately, that this is why they are buyers. Might as well stock up, they say, before gold becomes a controlled substance.
I havent, so far, but the temptation is rising by the day.
(Alice Schroeder, author of The Snowball: Warren Buffett and the Business of Life and a senior adviser to Morgan Stanley, is a Bloomberg News columnist. The opinions expressed are her own.)
To contact the writer of this column: Alice Schroeder at [email protected].
http://www.bloomberg.com/apps/news?pid= ... PCIYcGX8t4
Gold Tells You U.S. Bubble Hasnt Popped Yet: Alice Schroeder
Commentary by Alice Schroeder
Oct. 1 (Bloomberg) -- If you owned stocks and gold and had to sell one, which would it be?
The Standard & Poors 500 Index has gained almost 60 percent since its low on March 9. Gold is near a record price. I know a fair number of people who would keep the gold.
Ive never been a gold bug myself. They get no respect. They are associated with survivalists, conspiracy theorists and nutcases. They are always looking for the hyperinflation that never comes. Gold bugs pay a premium over the metal price for gold and silver coins on the notion that they will need the currency, come the Apocalypse.
On the other hand, the relationship between gold and financial crises goes back centuries. In the aftermath of the credit-bubble bust, we confront a Moby Dick-size pile of leverage and the question of whether this is inflationary or deflationary. So its worth considering what the price of gold may be telling us.
Leverage is a broad term that covers the complete history of finance, which all boils down essentially to the same structure: debt secured by assets. You give me a cow, I give you a piece of paper. Later innovations are simply variations of obligations secured by assets.
So a simple explanation of bubbles is that they form whenever someone creates a rationale to increase obligations too far beyond the level justified by the assets, regardless of the form of the asset or obligation.
Dutch Tulips
Consider tulip mania, which like all bubbles featured leverage; it was fueled not just by ordinary debt, but by leveraged tulip options. When the end came, the government of Holland declined to bail out those who had mortgaged their houses and businesses to buy tulip bulbs, and the multiyear depression that followed ruined an otherwise sound economy.
Our recent real-estate bubble wasnt like tulip mania, in which the inflated asset had only a tenuous connection to the economy it came to dominate. The real-estate bubble swelled on the genuine beliefs among consumers about their future prospects and earnings. To be sure, some of those prospects and earnings were exaggerated to the point of fraud.
Thus the bubble burst when credit-card junkies had spent the last dollars they could justify, and the final peanut brain had been unearthed who could be persuaded to sign up for a negative-amortizing mortgage.
Because this link, however slim, remained between peoples prospects and earnings and the debt they could carry, real- estate prices even in hard-hit cities such as Las Vegas declined only by half. Stock-market losses were similar. These numbers are reported as if they were staggering, but they are less so compared with many bubbles.
Free Lunches
Some now blame consumers disinclination to spend and get the economy going again on banks newfound reluctance to lend. To the contrary, we are in the midst of a deflationary trend that is temporarily being masked by inventory restocking and free lunches like cash for clunkers. Consumers are done with borrowing. They will keep fueling the deflation by going through their attics and garages to find stuff they can sell on EBay to raise cash.
Thats because consumers have figured out that it was all a big head-fake from the Federal Reserve. Real incomes havent grown in years. Manufacturing and, increasingly, service jobs are still moving overseas. The Treasury is trying to pump the economy back to a high-water mark that was phony to begin with, and doing so in the face of a savings rate that is going up.
Trade Gap
The Treasury will succeed in printing enough money to forestall severe deflation. Even so, dollars will keep flowing out of the U.S. to other countries as the trade gap widens. Only when we start creating more jobs and higher earnings can this dynamic reverse. The question is, when will that be?
Enter the gold bugs. They arent just betting on inflation, as is the conventional wisdom. Gold has a wicked history of being an unreliable inflation hedge. It has, though, at times been a haven against sudden currency depreciation.
In all the talk of inflation because the Treasury is printing so much money versus deflation because it may not print enough, there is one type of inflation that is rarely discussed. This is the mega-inflation caused by a sudden currency devaluation. Currency is like any financial innovation, an obligation secured by assets. When the obligation is perceived to have increased far beyond the level justifiable by the assets, which in this case make up a countrys economy, a bubble has formed.
As in any bubble, those who recognize this need to act well in advance. Historically, governments have taken action to prevent currency flight when the owners of a severely overvalued medium of exchange start selling so much that it adds to the pressure on its price. They make private purchases of gold illegal, or tax the exchange of currency.
Right now, the American economy is worth less than the value implied by the market value of its obligations. How much less, no one knows. But gold bugs will tell you, privately, that this is why they are buyers. Might as well stock up, they say, before gold becomes a controlled substance.
I havent, so far, but the temptation is rising by the day.
(Alice Schroeder, author of The Snowball: Warren Buffett and the Business of Life and a senior adviser to Morgan Stanley, is a Bloomberg News columnist. The opinions expressed are her own.)
To contact the writer of this column: Alice Schroeder at [email protected].
http://www.bloomberg.com/apps/news?pid= ... PCIYcGX8t4
" บทเรียนที่สำคัญที่สุดในการลงทุนก็คือการมองหุ้นที่ซื้อขายกันอยู่ในตลาดเป็นส่วนหนึ่งของธุรกิจ ไม่ใช่สิ่งที่มีราคาขึ้นๆ ลงๆ
-
- Verified User
- โพสต์: 680
- ผู้ติดตาม: 0
New Bull Market confirmed !!!!
โพสต์ที่ 135
Summary Box: Jobs, manufacturing data disappoint
Summary Box: Jobs, manufacturing data show recovery off to bumpy start; modest rebound likely
By The Associated Press
On Thursday October 1, 2009, 5:39 pm EDT
Buzz up! 0 Print
CONSUMERS: Consumer spending surged 1.3 percent in August, due partly to the now-ended Cash for Clunkers program. But incomes posted a lackluster 0.2 percent gain, and the number of newly laid-off workers rose more than expected to 551,000 last week.
MANUFACTURING: The Institute for Supply Management's closely watched gauge of manufacturing activity stayed in recovery territory for a second month after 18 straight recessionary readings. But the 52.6 reading posted last month was lower than economists had expected and below August's 52.9.
WHAT'S NEXT?: Economists believe the recession ended in the July-September quarter, with activity pushed higher by a temporary rise in consumer spending, which accounts for 70 percent of total economic activity. But they worry that growth could falter in the months ahead unless incomes begin growing at a stronger pace.
++ และแล้วก็ถึงวันตัดสินทิศทางของตลาด .....วันที่ 1 ตค.
มันไปไม่รอดจริงๆ คงต้องยอมรับกันนะครับ S&P ลงไป 2.5%
คงไม่ใช่เพราะ ข่าว ศก.อะไรหรอก... มันกู้ยืมมาเก็งกำไรกันเกินไป สุดท้ายมันก็มีที่สุดครับ
Summary Box: Jobs, manufacturing data show recovery off to bumpy start; modest rebound likely
By The Associated Press
On Thursday October 1, 2009, 5:39 pm EDT
Buzz up! 0 Print
CONSUMERS: Consumer spending surged 1.3 percent in August, due partly to the now-ended Cash for Clunkers program. But incomes posted a lackluster 0.2 percent gain, and the number of newly laid-off workers rose more than expected to 551,000 last week.
MANUFACTURING: The Institute for Supply Management's closely watched gauge of manufacturing activity stayed in recovery territory for a second month after 18 straight recessionary readings. But the 52.6 reading posted last month was lower than economists had expected and below August's 52.9.
WHAT'S NEXT?: Economists believe the recession ended in the July-September quarter, with activity pushed higher by a temporary rise in consumer spending, which accounts for 70 percent of total economic activity. But they worry that growth could falter in the months ahead unless incomes begin growing at a stronger pace.
++ และแล้วก็ถึงวันตัดสินทิศทางของตลาด .....วันที่ 1 ตค.
มันไปไม่รอดจริงๆ คงต้องยอมรับกันนะครับ S&P ลงไป 2.5%
คงไม่ใช่เพราะ ข่าว ศก.อะไรหรอก... มันกู้ยืมมาเก็งกำไรกันเกินไป สุดท้ายมันก็มีที่สุดครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 4395
- ผู้ติดตาม: 0
New Bull Market confirmed !!!!
โพสต์ที่ 136
:( :(
แรงงานอเมริกันถูกเลิกจ้างในเดือนกันยายนมากกว่า 2 แสนตำแหน่ง ส่งผลให้อัตราว่างงานแตะ 9.8 % และการซื้อขายในตลาดหุ้นปรับลดตัวลงต่อเนื่อง...
สำนักข่าวรอยเตอร์ รายงานวันนี้ ( 3 ต.ค. ) ว่า กระทรวงแรงงานสหรัฐฯเผยจำนวนผู้ถูกเลิกจ้างในประเทศพุ่งสูงถึง 263,000 ตำแหน่ง ในเดือนกันยายนที่ผ่านมา ชี้ให้เห็นภาวะเศรษฐกิจที่เลวร้ายที่สุดในรอบ 70 ปี
ทั้งนี้จำนวน ผู้ถูกเลิกจ้าง เป็นตัวเลขที่มากกว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ไว้ ส่งผลให้อัตราว่างงานในประเทศขยับขึ้นไปแตะระดับ 9.8 เปอร์เซ็นต์ เพิ่มขึ้นจากเดิม 9.7 เปอร์เซ็นต์ ในเดือนสิงหาคม ด้านนักเศรษฐศาสตร์ระบุ จำนวนผู้ถูกเลิกจ้าง 53,000 ตำแหน่ง จากเดือนกันยายน เป็นพนักงานรัฐ
มี รายงานเพิ่มเติมว่าหลังกระทรวงแรงงานเผยตัวเลขผู้ถูกเลิกจ้างเดือนกันยายน ส่งผลให้การซื้อขายในตลาดหุ้นสหรัฐฯ ปรับตัวลงอย่างต่อเนื่อง
แรงงานอเมริกันถูกเลิกจ้างในเดือนกันยายนมากกว่า 2 แสนตำแหน่ง ส่งผลให้อัตราว่างงานแตะ 9.8 % และการซื้อขายในตลาดหุ้นปรับลดตัวลงต่อเนื่อง...
สำนักข่าวรอยเตอร์ รายงานวันนี้ ( 3 ต.ค. ) ว่า กระทรวงแรงงานสหรัฐฯเผยจำนวนผู้ถูกเลิกจ้างในประเทศพุ่งสูงถึง 263,000 ตำแหน่ง ในเดือนกันยายนที่ผ่านมา ชี้ให้เห็นภาวะเศรษฐกิจที่เลวร้ายที่สุดในรอบ 70 ปี
ทั้งนี้จำนวน ผู้ถูกเลิกจ้าง เป็นตัวเลขที่มากกว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ไว้ ส่งผลให้อัตราว่างงานในประเทศขยับขึ้นไปแตะระดับ 9.8 เปอร์เซ็นต์ เพิ่มขึ้นจากเดิม 9.7 เปอร์เซ็นต์ ในเดือนสิงหาคม ด้านนักเศรษฐศาสตร์ระบุ จำนวนผู้ถูกเลิกจ้าง 53,000 ตำแหน่ง จากเดือนกันยายน เป็นพนักงานรัฐ
มี รายงานเพิ่มเติมว่าหลังกระทรวงแรงงานเผยตัวเลขผู้ถูกเลิกจ้างเดือนกันยายน ส่งผลให้การซื้อขายในตลาดหุ้นสหรัฐฯ ปรับตัวลงอย่างต่อเนื่อง
- LOSO
- Verified User
- โพสต์: 2512
- ผู้ติดตาม: 0
New Bull Market confirmed !!!!
โพสต์ที่ 137
ความพยายามไม่มี ปัญญาไม่เกิด
-
- Verified User
- โพสต์: 4395
- ผู้ติดตาม: 0
New Bull Market confirmed !!!!
โพสต์ที่ 140
นที่ 08 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ปีที่ 33 ฉบับที่ 4147 ประชาชาติธุรกิจ
ฉากหลังว่างงานมะกันพุ่ง 9.8% สกัด ศก.ฟื้น-ชะลอขึ้น ดบ.ปลายปีหน้า
ความ เห็นของอลัน กรีนสแปน อดีตประธานธนาคารกลางสหรัฐ (Federal Reserve : FED) ระหว่างให้สัมภาษณ์รายงาน "This Week" ทางสถานีโทรทัศน์เอบีซี ได้ตอกย้ำภาพที่มืดมนของภาวะว่างงานในเศรษฐกิจใหญ่สุดของโลก
โดยกรี นสแปนทำนายว่า อัตราว่างงานในสหรัฐจะพุ่งขึ้นเกิน 10% และคงอยู่ เหนือระดับดังกล่าวอยู่ชั่วระยะหนึ่ง พร้อมให้กล่าวพาดพิงถึงตัวเลขว่างงานล่าสุด ซึ่งเผยแพร่ออกมาเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม ที่ผ่านมา เป็นสถานการณ์ที่น่ากลัวพอสมควร ซึ่งเขาวิตกกังวลอย่างมากต่อสถิติของทางการ ซึ่งบ่งบอกว่า ปัจจุบันจำนวนคนว่างงานต่อเนื่องเป็นเวลา 6 เดือน หรือนานกว่านั้นได้เพิ่มขึ้น 5 ล้านคนแล้ว หลังตัวเลขพุ่งอย่างมากในช่วงเดือนก่อน
ทั้งนี้ กระทรวงแรงงาน ได้เผยแพร่อัตราว่างงานทั่วประเทศของสหรัฐในเดือนกันยายน ได้เพิ่มขึ้นเป็น 9.8% จากระดับ 9.7% ในเดือนสิงหาคม จากผลของจำนวนผู้ว่างงานที่เพิ่มขึ้นเหนือการคาดหมาย 263,000 ตำแหน่ง เหนือตัวเลขคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ที่ประเมินว่า จำนวน ผู้ว่างงานน่าจะอยู่ที่ 180,000 ตำแหน่ง
นอกจากนี้ยังพบว่า หากนับจากจุดเริ่มต้นของภาวะถดถอย เมื่อเดือนธันวาคม ปี 2550 ถึงปัจจุบันจำนวนชาวอเมริกันที่ว่างงาน ได้เพิ่มเป็น 15.1 ล้านคน และอัตราว่างงานได้พุ่งทะยานเป็น 2 เท่าตัว ขณะที่จำนวนผู้ว่างงานเป็นระยะยาว ซึ่งหมายถึงกลุ่มคนที่ว่างงานเป็นเวลา 27 สัปดาห์ หรือนานกว่านั้น ได้เพิ่มขึ้นประมาณ 450,000 คน เป็น 5.4 ล้านคน ในเดือนกันยายน และคิดเป็น 36% ของผู้ว่างงานทั้งหมด
ภาวะ ว่างงานที่พุ่งทะยานขึ้นอย่างรวดเร็วในสหรัฐ ได้นำมาซึ่งคำถามมากมาย โดยเฉพาะระยะเวลาของปัญหาดังกล่าวว่า จะยืดเยื้อยาวนานถึงเมื่อใด จนถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจ และนัยยะต่อนโยบายการเงินการคลังของประเทศนี้
ต่อ ประเด็นที่ว่า ปัญหาว่างงานในสหรัฐ จะกินเวลายาวนานขนาดไหน และจะฟื้นตัวเมื่อใด ริชาร์ด ฟิชเชอร์ ประธานบริหารธนาคารกลางสหรัฐ ประจำดัลลัส คาดการณ์ว่า ตลาดแรงงานในประเทศ จะไม่ปรับตัวไปในทางที่ดีขึ้นเร็วมากนัก เนื่องจากในช่วงเวลานี้ เศรษฐกิจสหรัฐ กำลังเคลื่อนผ่านช่วงเวลาของการปรับตัวที่มีกระทบค่อนข้างรุนแรง ขณะที่โมฮัมเหม็ด เอล อีเรียน ประธานเจ้าหน้าที่บริหารของแปซิฟิก อินเวสต์เมนต์ คอมพานี บริษัทจัดการกองทุนพันธบัตรที่มีขนาดใหญ่สุดของโลก คาดการณ์ว่า แม้เศรษฐกิจของประเทศจะอยู่ในภาวะขยายตัว แต่อาจจะต้องใช้เวลาอย่างน้อย 2 ปี กว่าภาวะว่างงานจะลดลงมาอยู่ระดับ 7% จากระดับ 9.8% ในปัจจุบัน
ในประเด็นผลกระทบทางเศรษฐกิจ เอล อีเรียน เตือนว่า ภาวะว่างงานที่สูงขึ้นจะกระทบต่อการฟื้นตัวของการบริโภคในประเทศ และการเติบโตทางเศรษฐกิจ ซึ่งสอดรับกับคำเตือนของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ที่เตือนว่า ปัญหาว่างงานที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในสหรัฐ จะกระทบต่ออัตราการเติบโตของเศรษฐกิจขนาดใหญ่สุดของโลกในปีหน้า
ไบร อัน ฟาบบรี หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์ จากบีเอ็นพี พาริบาส์ ให้ทัศนะว่า รายงานภาวะการจ้างงานล่าสุด ของสหรัฐ สะท้อนว่า ไม่มีแรงขับเคลื่อนไปสู่การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจมากมายนัก และการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ อาจไปไม่ได้ไกล ดังที่หลายคนคาดการณ์ไว้
เช่น เดียวกับ ไนเจล โกลต์ หัวหน้า นักเศรษฐศาสตร์ ที่ติดตามเศรษฐกิจสหรัฐ จากไอเอชเอส โกลบอล อินไซท์ ที่คาดการณ์ว่า ระดับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐจะชะลอลง และในที่สุด หากภาวะการจ้างงาน ไม่กลับมาเติบโต สหรัฐก็ไม่สามารถรักษาการเติบโตของการบริโภคให้เป็นไปอย่างต่อเนื่องได้ เพราะเป็นเรื่องยากที่เศรษฐกิจจะฟื้นตัวได้อย่างแข็งแกร่ง โดยปราศจากการใช้จ่ายของผู้บริโภค
ด้าน บรูซ คาสแมน หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์ จากเจพี มอร์แกน เชส แอนด์โค คาดการณ์ว่า ภาวะว่างงาน ที่กินเวลายาวนาน อาจกดดันให้การขาดดุลงบประมาณของรัฐบาลกลางสหรัฐ ตรึงอยู่ใกล้ระดับ 1.6 ล้านล้านดอลลาร์ ไปจนถึงปี 2553 และอาจมีผลต่อการดำเนินนโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐ
ผลการ สำรวจความคิดเห็นดีลเลอร์รายสำคัญๆ ของตลาดการเงินสหรัฐ จัดทำโดยสำนักข่าวรอยเตอร์ส ระบุว่า ดีลเลอร์ 17 ราย จากทั้งหมดในผลการสำรวจ เชื่อมั่นว่า ธนาคารกลางสหรัฐ จะไม่ปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ จนกว่า อัตราว่างงานในประเทศจะพุ่งขึ้นถึงระดับสูงสุดเสียก่อน ทั้งนี้ ดีลเลอร์ส่วนใหญ่คาดการณ์ว่า อัตราว่างงานในสหรัฐ จะพุ่งขึ้นทำสถิติสูงสุด ในปลายปี 2552 หรือ ต้นปีหน้า แต่ธนาคารกลางสหรัฐจะรอคอย จนถึงครึ่งปีหลังของปี 2553 หรือ นานกว่านั้น ก่อนจะยอมขยับดอกเบี้ยขึ้นจากระดับใกล้ศูนย์เปอร์เซ็นต์
ก่อนหน้า นี้ โรเบิร์ต เซลลิก ประธานธนาคารโลก เตือนเมื่อปลายสัปดาห์ที่แล้วว่า ปี 2552 ถือเป็นปีที่ยากลำบากปีหนึ่ง และ ปี 2553 ซึ่งเป็นช่วงที่การดำเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจส่วนใหญ่สิ้นสุดลง ถือเป็น ปีที่เศรษฐกิจมีความไม่แน่นอนสูงมาก โดยตราบใดที่เศรษฐกิจโลกยังมีการว่างงานจำนวนมาก กลุ่มคนว่างงานในระดับฐานราก จะได้รับผลกระทบมากที่สุด และมีมาตรการรองรับผลกระทบน้อยที่สุดด้วย
ฉากหลังว่างงานมะกันพุ่ง 9.8% สกัด ศก.ฟื้น-ชะลอขึ้น ดบ.ปลายปีหน้า
ความ เห็นของอลัน กรีนสแปน อดีตประธานธนาคารกลางสหรัฐ (Federal Reserve : FED) ระหว่างให้สัมภาษณ์รายงาน "This Week" ทางสถานีโทรทัศน์เอบีซี ได้ตอกย้ำภาพที่มืดมนของภาวะว่างงานในเศรษฐกิจใหญ่สุดของโลก
โดยกรี นสแปนทำนายว่า อัตราว่างงานในสหรัฐจะพุ่งขึ้นเกิน 10% และคงอยู่ เหนือระดับดังกล่าวอยู่ชั่วระยะหนึ่ง พร้อมให้กล่าวพาดพิงถึงตัวเลขว่างงานล่าสุด ซึ่งเผยแพร่ออกมาเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม ที่ผ่านมา เป็นสถานการณ์ที่น่ากลัวพอสมควร ซึ่งเขาวิตกกังวลอย่างมากต่อสถิติของทางการ ซึ่งบ่งบอกว่า ปัจจุบันจำนวนคนว่างงานต่อเนื่องเป็นเวลา 6 เดือน หรือนานกว่านั้นได้เพิ่มขึ้น 5 ล้านคนแล้ว หลังตัวเลขพุ่งอย่างมากในช่วงเดือนก่อน
ทั้งนี้ กระทรวงแรงงาน ได้เผยแพร่อัตราว่างงานทั่วประเทศของสหรัฐในเดือนกันยายน ได้เพิ่มขึ้นเป็น 9.8% จากระดับ 9.7% ในเดือนสิงหาคม จากผลของจำนวนผู้ว่างงานที่เพิ่มขึ้นเหนือการคาดหมาย 263,000 ตำแหน่ง เหนือตัวเลขคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ที่ประเมินว่า จำนวน ผู้ว่างงานน่าจะอยู่ที่ 180,000 ตำแหน่ง
นอกจากนี้ยังพบว่า หากนับจากจุดเริ่มต้นของภาวะถดถอย เมื่อเดือนธันวาคม ปี 2550 ถึงปัจจุบันจำนวนชาวอเมริกันที่ว่างงาน ได้เพิ่มเป็น 15.1 ล้านคน และอัตราว่างงานได้พุ่งทะยานเป็น 2 เท่าตัว ขณะที่จำนวนผู้ว่างงานเป็นระยะยาว ซึ่งหมายถึงกลุ่มคนที่ว่างงานเป็นเวลา 27 สัปดาห์ หรือนานกว่านั้น ได้เพิ่มขึ้นประมาณ 450,000 คน เป็น 5.4 ล้านคน ในเดือนกันยายน และคิดเป็น 36% ของผู้ว่างงานทั้งหมด
ภาวะ ว่างงานที่พุ่งทะยานขึ้นอย่างรวดเร็วในสหรัฐ ได้นำมาซึ่งคำถามมากมาย โดยเฉพาะระยะเวลาของปัญหาดังกล่าวว่า จะยืดเยื้อยาวนานถึงเมื่อใด จนถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจ และนัยยะต่อนโยบายการเงินการคลังของประเทศนี้
ต่อ ประเด็นที่ว่า ปัญหาว่างงานในสหรัฐ จะกินเวลายาวนานขนาดไหน และจะฟื้นตัวเมื่อใด ริชาร์ด ฟิชเชอร์ ประธานบริหารธนาคารกลางสหรัฐ ประจำดัลลัส คาดการณ์ว่า ตลาดแรงงานในประเทศ จะไม่ปรับตัวไปในทางที่ดีขึ้นเร็วมากนัก เนื่องจากในช่วงเวลานี้ เศรษฐกิจสหรัฐ กำลังเคลื่อนผ่านช่วงเวลาของการปรับตัวที่มีกระทบค่อนข้างรุนแรง ขณะที่โมฮัมเหม็ด เอล อีเรียน ประธานเจ้าหน้าที่บริหารของแปซิฟิก อินเวสต์เมนต์ คอมพานี บริษัทจัดการกองทุนพันธบัตรที่มีขนาดใหญ่สุดของโลก คาดการณ์ว่า แม้เศรษฐกิจของประเทศจะอยู่ในภาวะขยายตัว แต่อาจจะต้องใช้เวลาอย่างน้อย 2 ปี กว่าภาวะว่างงานจะลดลงมาอยู่ระดับ 7% จากระดับ 9.8% ในปัจจุบัน
ในประเด็นผลกระทบทางเศรษฐกิจ เอล อีเรียน เตือนว่า ภาวะว่างงานที่สูงขึ้นจะกระทบต่อการฟื้นตัวของการบริโภคในประเทศ และการเติบโตทางเศรษฐกิจ ซึ่งสอดรับกับคำเตือนของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ที่เตือนว่า ปัญหาว่างงานที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในสหรัฐ จะกระทบต่ออัตราการเติบโตของเศรษฐกิจขนาดใหญ่สุดของโลกในปีหน้า
ไบร อัน ฟาบบรี หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์ จากบีเอ็นพี พาริบาส์ ให้ทัศนะว่า รายงานภาวะการจ้างงานล่าสุด ของสหรัฐ สะท้อนว่า ไม่มีแรงขับเคลื่อนไปสู่การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจมากมายนัก และการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ อาจไปไม่ได้ไกล ดังที่หลายคนคาดการณ์ไว้
เช่น เดียวกับ ไนเจล โกลต์ หัวหน้า นักเศรษฐศาสตร์ ที่ติดตามเศรษฐกิจสหรัฐ จากไอเอชเอส โกลบอล อินไซท์ ที่คาดการณ์ว่า ระดับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐจะชะลอลง และในที่สุด หากภาวะการจ้างงาน ไม่กลับมาเติบโต สหรัฐก็ไม่สามารถรักษาการเติบโตของการบริโภคให้เป็นไปอย่างต่อเนื่องได้ เพราะเป็นเรื่องยากที่เศรษฐกิจจะฟื้นตัวได้อย่างแข็งแกร่ง โดยปราศจากการใช้จ่ายของผู้บริโภค
ด้าน บรูซ คาสแมน หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์ จากเจพี มอร์แกน เชส แอนด์โค คาดการณ์ว่า ภาวะว่างงาน ที่กินเวลายาวนาน อาจกดดันให้การขาดดุลงบประมาณของรัฐบาลกลางสหรัฐ ตรึงอยู่ใกล้ระดับ 1.6 ล้านล้านดอลลาร์ ไปจนถึงปี 2553 และอาจมีผลต่อการดำเนินนโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐ
ผลการ สำรวจความคิดเห็นดีลเลอร์รายสำคัญๆ ของตลาดการเงินสหรัฐ จัดทำโดยสำนักข่าวรอยเตอร์ส ระบุว่า ดีลเลอร์ 17 ราย จากทั้งหมดในผลการสำรวจ เชื่อมั่นว่า ธนาคารกลางสหรัฐ จะไม่ปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ จนกว่า อัตราว่างงานในประเทศจะพุ่งขึ้นถึงระดับสูงสุดเสียก่อน ทั้งนี้ ดีลเลอร์ส่วนใหญ่คาดการณ์ว่า อัตราว่างงานในสหรัฐ จะพุ่งขึ้นทำสถิติสูงสุด ในปลายปี 2552 หรือ ต้นปีหน้า แต่ธนาคารกลางสหรัฐจะรอคอย จนถึงครึ่งปีหลังของปี 2553 หรือ นานกว่านั้น ก่อนจะยอมขยับดอกเบี้ยขึ้นจากระดับใกล้ศูนย์เปอร์เซ็นต์
ก่อนหน้า นี้ โรเบิร์ต เซลลิก ประธานธนาคารโลก เตือนเมื่อปลายสัปดาห์ที่แล้วว่า ปี 2552 ถือเป็นปีที่ยากลำบากปีหนึ่ง และ ปี 2553 ซึ่งเป็นช่วงที่การดำเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจส่วนใหญ่สิ้นสุดลง ถือเป็น ปีที่เศรษฐกิจมีความไม่แน่นอนสูงมาก โดยตราบใดที่เศรษฐกิจโลกยังมีการว่างงานจำนวนมาก กลุ่มคนว่างงานในระดับฐานราก จะได้รับผลกระทบมากที่สุด และมีมาตรการรองรับผลกระทบน้อยที่สุดด้วย
-
- Verified User
- โพสต์: 4395
- ผู้ติดตาม: 0
New Bull Market confirmed !!!!
โพสต์ที่ 141
:( :(
วันที่ 08 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ปีที่ 33 ฉบับที่ 4147 ประชาชาติธุรกิจ
ส่องสถานะโออีซีดีปี"53 เสี่ยงตกงาน 57 ล้านคน
สหรัฐ ไม่ใช่ประเทศเดียวที่ต้องเผชิญกับปัญหาใหญ่ อย่างตัวเลขว่างงานที่พุ่งสูงลิบลิ่ว อันเนื่องมาจากผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจถดถอยทั่วโลก สำนักข่าวเอพี รายงานอ้างข้อมูลเดือนกรกฎาคมขององค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (โออีซีดี) พบว่าใน 30 ประเทศสมาชิกของกลุ่ม ประเทศที่มีอัตราว่างงานสูงที่สุดในช่วงเดือนดังกล่าว คือ สเปน 17.6% ขณะที่ประเทศที่มีอัตราว่างงานต่ำสุด ได้แก่ เนเธอร์แลนด์ 3.2%
สำหรับ ประเทศที่อยู่กลุ่มยูโรโซน (ประเทศที่ใช้เงินสกุลยูโร) 16 ชาติ พบว่ามีอัตราว่างงานเฉลี่ยพุ่งขึ้นที่ระดับ 9.6% ต่ำกว่าอัตราว่างงานของสหรัฐในเดือนกันยายนเล็กน้อย แต่อัตราว่างงานของ กลุ่มประเทศโออีซีดีโดยรวมคาดว่าจะเพิ่มขึ้นถึงระดับ 10% ในครึ่งหลังของปีหน้า หรือคาดว่าจะมีพลเมืองในกลุ่มโออีซีดี ว่างงานทั้งสิ้น 57 ล้านคน
เฉพาะในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งได้รับผลกระทบจากภาวะถดถอยทั่วโลกอย่างรุนแรงไม่แพ้กัน โดยเม็กซิโกมีอัตราว่างงานพุ่งขึ้นแตะระดับสูงสุดในรอบ 13 ปี เช่นเดียวกับแอฟริกาใต้ ซึ่งกำลังประสบภาวะถดถอยรุนแรงสุดใน 17 ปี โดยมีอัตราว่างงานมากถึง 25%
เมื่อเลือกพิจารณาประเทศสำคัญ ๆ 10 ประเทศ พบว่า อัตราว่างงานของเยอรมนีนับถึงกรกฎาคมได้เพิ่มขึ้นเป็น 7.7% ในช่วงปี 2551 แต่ลดลงจากระดับ 8.4% ในปี 2550 ขณะที่ฝรั่งเศสมีอัตราว่างงานในเดือนกรกฎาคมอยู่ที่ 9.2% เพิ่มขึ้นอย่างมาก จากระดับ 7.8% ของตลอดปี 2551 อย่างไรก็ตาม อัตราว่างงานของฝรั่งเศสอาจพุ่งขึ้นเป็น 10% ในสิ้นปี 2552
ใน อังกฤษพบว่าอัตราว่างงานได้พุ่งขึ้นสูงสุดที่ 7.9% สูงสุดในรอบเกือบ 13 ปี ทั้งนี้ คาดว่าภายในปีหน้าจำนวนคนว่างงานในอังกฤษจะเกิน 3 ล้านคน ส่วนสเปนพบว่าในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา สเปนได้ช่วยสร้างงานใหม่ให้กับกลุ่มยูโรโซนมากถึง 1 ใน 3 ปัจจุบันสเปนกลับเป็นประเทศที่มีอัตราว่างงานสูงที่สุดในกลุ่มโออีซีดี
สถานการณ์ ของไอร์แลนด์ย่ำแย่ ไม่แพ้กัน จากประเทศที่มีอัตราว่างงานอยู่ที่ 6% เมื่อปีที่แล้ว พบว่าตัวเลขได้พุ่งกระฉูดกว่าเท่าตัวเป็น 13.3% นับถึงกรกฎาคม 2552 แต่สถานการณ์ของญี่ปุ่นในเดือนสิงหาคมเริ่มดีขึ้นเล็กน้อย โดยอัตราว่างงานลดลงเหลือ 5.5% จาก 5.7% ในเดือนกรกฎาคม ซึ่งเป็นอัตราว่างงานสูงสุดนับจากหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่เมื่อเทียบปีต่อปี พบว่าจำนวนคนว่างงานได้เพิ่มขึ้น 32.7% รวม 3.61 ล้านคน
ในจีนอัตราว่างงานทางการของพื้นที่ในเมืองได้เพิ่มขึ้นเป็น 4.3% ในครึ่งปีหลัง ของปี 2552 แต่ตัวเลขดังกล่าว ไม่ได้ ครอบคลุมแรงงานอพยพหลายล้านคน และลูกจ้างรัฐวิสาหกิจที่ได้รับอนุญาตให้ลา พักงาน (ซึ่งไม่นับเป็นการเลิกจ้าง) ทั้งนี้ พบว่าแรงงานของศูนย์ธุรกิจตามเมืองใหญ่ต่างๆ ของจีน มีจำนวนทั้งสิ้น 210 ล้านคน ในจำนวนนั้น 9 ล้านคนขึ้นทะเบียนเป็นผู้ว่างงาน ขณะที่จำนวนแรงงานอพยพ ที่ถูกเลิกจ้างอาจมีตัวเลขสูงถึง 30 ล้านคน อย่างไรก็ตาม ไม่มีตัวเลขทางการยืนยัน
สถานการณ์แรงงานในอินเดียก็มี ความน่าสนใจไม่แพ้กัน เนื่องจาก 95% ของแรงงานแดนภารตอยู่ในภาคอุตสาหกรรมที่ไม่เป็นทางการ ดังนั้น จึงเป็นเรื่องยากที่จะประเมินผลกระทบของภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจในตลาดอินเดีย ได้อย่างถูกต้อง ประกอบกับการสำรวจแรงงาน ของทางการจะมีขึ้นในทุกๆ 5 ปีเท่านั้น
เม็กซิโกเป็นประเทศที่มีอัตราว่างงานเพิ่มขึ้นที่ระดับ 6.28% ในเดือนสิงหาคม ซึ่งเป็นอัตราว่างงานสูงที่สุดในรอบมากกว่า 13 ปี ปัจจุบันประเมินกันว่าชาวเม็กซิโก ว่างงาน 45 ล้านคน เพิ่มขึ้น 4.2% จากปีก่อน ขณะที่แอฟริกาใต้มีอัตราว่างงานใน ไตรมาส 2 ของปี 2552 อยู่ที่ 23.6% และตัวเลขปัจจุบันได้พุ่งทะยานสูงลิ่ว 25%
นอกเหนือจาก 10 ประเทศที่กล่าวข้างต้น ข้อมูลของโออีซีดี ยังระบุถึงภาวะ ว่างงานในโคโซโว หนึ่งในประเทศยากจนที่สุดในยุโรป ผลจากภาวะการเติบโตที่ชะลอลงอย่างต่อเนื่อง ทำให้อัตราว่างงานของประเทศ อยู่ที่ 46.3% ในปี 2550 ขณะที่ในบราซิล พบว่า ตัวเลขว่างงานอยู่ที่ 8.1% ในเดือนสิงหาคม ทรงตัวอย่างต่อเนื่องมาตลอด 2 เดือนที่ผ่านมา และลดลงจากระดับสูงสุด 9% ในเดือนมีนาคม
วันที่ 08 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ปีที่ 33 ฉบับที่ 4147 ประชาชาติธุรกิจ
ส่องสถานะโออีซีดีปี"53 เสี่ยงตกงาน 57 ล้านคน
สหรัฐ ไม่ใช่ประเทศเดียวที่ต้องเผชิญกับปัญหาใหญ่ อย่างตัวเลขว่างงานที่พุ่งสูงลิบลิ่ว อันเนื่องมาจากผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจถดถอยทั่วโลก สำนักข่าวเอพี รายงานอ้างข้อมูลเดือนกรกฎาคมขององค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (โออีซีดี) พบว่าใน 30 ประเทศสมาชิกของกลุ่ม ประเทศที่มีอัตราว่างงานสูงที่สุดในช่วงเดือนดังกล่าว คือ สเปน 17.6% ขณะที่ประเทศที่มีอัตราว่างงานต่ำสุด ได้แก่ เนเธอร์แลนด์ 3.2%
สำหรับ ประเทศที่อยู่กลุ่มยูโรโซน (ประเทศที่ใช้เงินสกุลยูโร) 16 ชาติ พบว่ามีอัตราว่างงานเฉลี่ยพุ่งขึ้นที่ระดับ 9.6% ต่ำกว่าอัตราว่างงานของสหรัฐในเดือนกันยายนเล็กน้อย แต่อัตราว่างงานของ กลุ่มประเทศโออีซีดีโดยรวมคาดว่าจะเพิ่มขึ้นถึงระดับ 10% ในครึ่งหลังของปีหน้า หรือคาดว่าจะมีพลเมืองในกลุ่มโออีซีดี ว่างงานทั้งสิ้น 57 ล้านคน
เฉพาะในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งได้รับผลกระทบจากภาวะถดถอยทั่วโลกอย่างรุนแรงไม่แพ้กัน โดยเม็กซิโกมีอัตราว่างงานพุ่งขึ้นแตะระดับสูงสุดในรอบ 13 ปี เช่นเดียวกับแอฟริกาใต้ ซึ่งกำลังประสบภาวะถดถอยรุนแรงสุดใน 17 ปี โดยมีอัตราว่างงานมากถึง 25%
เมื่อเลือกพิจารณาประเทศสำคัญ ๆ 10 ประเทศ พบว่า อัตราว่างงานของเยอรมนีนับถึงกรกฎาคมได้เพิ่มขึ้นเป็น 7.7% ในช่วงปี 2551 แต่ลดลงจากระดับ 8.4% ในปี 2550 ขณะที่ฝรั่งเศสมีอัตราว่างงานในเดือนกรกฎาคมอยู่ที่ 9.2% เพิ่มขึ้นอย่างมาก จากระดับ 7.8% ของตลอดปี 2551 อย่างไรก็ตาม อัตราว่างงานของฝรั่งเศสอาจพุ่งขึ้นเป็น 10% ในสิ้นปี 2552
ใน อังกฤษพบว่าอัตราว่างงานได้พุ่งขึ้นสูงสุดที่ 7.9% สูงสุดในรอบเกือบ 13 ปี ทั้งนี้ คาดว่าภายในปีหน้าจำนวนคนว่างงานในอังกฤษจะเกิน 3 ล้านคน ส่วนสเปนพบว่าในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา สเปนได้ช่วยสร้างงานใหม่ให้กับกลุ่มยูโรโซนมากถึง 1 ใน 3 ปัจจุบันสเปนกลับเป็นประเทศที่มีอัตราว่างงานสูงที่สุดในกลุ่มโออีซีดี
สถานการณ์ ของไอร์แลนด์ย่ำแย่ ไม่แพ้กัน จากประเทศที่มีอัตราว่างงานอยู่ที่ 6% เมื่อปีที่แล้ว พบว่าตัวเลขได้พุ่งกระฉูดกว่าเท่าตัวเป็น 13.3% นับถึงกรกฎาคม 2552 แต่สถานการณ์ของญี่ปุ่นในเดือนสิงหาคมเริ่มดีขึ้นเล็กน้อย โดยอัตราว่างงานลดลงเหลือ 5.5% จาก 5.7% ในเดือนกรกฎาคม ซึ่งเป็นอัตราว่างงานสูงสุดนับจากหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แต่เมื่อเทียบปีต่อปี พบว่าจำนวนคนว่างงานได้เพิ่มขึ้น 32.7% รวม 3.61 ล้านคน
ในจีนอัตราว่างงานทางการของพื้นที่ในเมืองได้เพิ่มขึ้นเป็น 4.3% ในครึ่งปีหลัง ของปี 2552 แต่ตัวเลขดังกล่าว ไม่ได้ ครอบคลุมแรงงานอพยพหลายล้านคน และลูกจ้างรัฐวิสาหกิจที่ได้รับอนุญาตให้ลา พักงาน (ซึ่งไม่นับเป็นการเลิกจ้าง) ทั้งนี้ พบว่าแรงงานของศูนย์ธุรกิจตามเมืองใหญ่ต่างๆ ของจีน มีจำนวนทั้งสิ้น 210 ล้านคน ในจำนวนนั้น 9 ล้านคนขึ้นทะเบียนเป็นผู้ว่างงาน ขณะที่จำนวนแรงงานอพยพ ที่ถูกเลิกจ้างอาจมีตัวเลขสูงถึง 30 ล้านคน อย่างไรก็ตาม ไม่มีตัวเลขทางการยืนยัน
สถานการณ์แรงงานในอินเดียก็มี ความน่าสนใจไม่แพ้กัน เนื่องจาก 95% ของแรงงานแดนภารตอยู่ในภาคอุตสาหกรรมที่ไม่เป็นทางการ ดังนั้น จึงเป็นเรื่องยากที่จะประเมินผลกระทบของภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจในตลาดอินเดีย ได้อย่างถูกต้อง ประกอบกับการสำรวจแรงงาน ของทางการจะมีขึ้นในทุกๆ 5 ปีเท่านั้น
เม็กซิโกเป็นประเทศที่มีอัตราว่างงานเพิ่มขึ้นที่ระดับ 6.28% ในเดือนสิงหาคม ซึ่งเป็นอัตราว่างงานสูงที่สุดในรอบมากกว่า 13 ปี ปัจจุบันประเมินกันว่าชาวเม็กซิโก ว่างงาน 45 ล้านคน เพิ่มขึ้น 4.2% จากปีก่อน ขณะที่แอฟริกาใต้มีอัตราว่างงานใน ไตรมาส 2 ของปี 2552 อยู่ที่ 23.6% และตัวเลขปัจจุบันได้พุ่งทะยานสูงลิ่ว 25%
นอกเหนือจาก 10 ประเทศที่กล่าวข้างต้น ข้อมูลของโออีซีดี ยังระบุถึงภาวะ ว่างงานในโคโซโว หนึ่งในประเทศยากจนที่สุดในยุโรป ผลจากภาวะการเติบโตที่ชะลอลงอย่างต่อเนื่อง ทำให้อัตราว่างงานของประเทศ อยู่ที่ 46.3% ในปี 2550 ขณะที่ในบราซิล พบว่า ตัวเลขว่างงานอยู่ที่ 8.1% ในเดือนสิงหาคม ทรงตัวอย่างต่อเนื่องมาตลอด 2 เดือนที่ผ่านมา และลดลงจากระดับสูงสุด 9% ในเดือนมีนาคม
- MANEKI
- Verified User
- โพสต์: 1005
- ผู้ติดตาม: 0
New Bull Market confirmed !!!!
โพสต์ที่ 144
ความกังวลต่อการอิ่มตัวของภาคส่งออกเครื่องยนต์หลัก ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ มีให้เห็นถี่ขึ้นในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา ล่าสุด โฆษิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ ประธานกรรมการบริหาร แบงก์กรุงเทพ หนึ่งในนักเศรษฐศาสตร์แถวหน้าของไทย ได้ออกมาพูดเรื่องส่งออกว่า
ประเด็นสำคัญที่ต้องช่วยกันคิดแก้ไขในระยะยาวคือ การหาสิ่งที่จะสามารถทดแทนการส่งออกได้ เนื่องจากหากวิกฤติครั้งนี้ผ่านพ้นไป แต่การค้าของโลกคงไม่กลับมาเหมือนเดิมแน่นอน ดังนั้นสิ่งที่เป็นวาระแห่งชาติที่แท้จริงคือ การช่วยกันหาแนวทางพัฒนาตนเอง ทั้งเรื่องเครื่องจักรอุตสาหกรรม วิศวกรรมที่จะทำอย่างไรให้ประเทศสามารถก้าวไปเป็นประเทศอุตสาหกรรม ได้ด้วยตนเอง ไม่ใช่พึ่งพาส่งออกเพียงอย่างเดียว
แม้วิธีมองปัญหาของ โฆษิต ต่างมุมจาก ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ กรรมการผู้จัดการ สายงานวิจัย บริษัทหลักทรัพย์ (บล.) ภัทร ที่ตั้งประเด็นว่า การที่สัดส่วนภาคส่งออกเพิ่มจาก 35 % ต่อจีดีพี (ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ) หลังวิกฤติต้มยำกุ้งปี 2540 มาเป็น 65 % ของขนาดเศรษฐกิจ ในปัจจุบัน หรือเพิ่มขึ้นถึง 30 % คือประเด็นที่ต้องขบคิดว่าเราจะไปต่อกันอย่างไร
ดร.ศุภวุฒิบอกว่าแม้ยุทธศาสตร์พึ่งส่งออกใช้ได้ดีในช่วงที่ผ่านมา เพราะเศรษฐกิจโลกเติบโตต่อเนื่อง และสหรัฐฯใช้จ่ายเกินตัว แต่เวลานี้คนอเมริกันเริ่มรู้ตัว และลดค่าใช้จ่ายลดลง ซึ่งมีผลกระทบถึงภาคส่งออกโลกและของไทยโดยตรง นักเศรษฐศาสตร์รายนี้ มองว่าหากประเทศไทยคงพึ่งยุทธศาสตร์มุ่งส่งออกต่อไป ผลที่น่าจะตามมาคือ เศรษฐกิจขยายตัวช้า
กว่า 3 ทศวรรษที่ผ่านมาหลังสิ้นยุค ผลิตเพื่อทดแทนการนำเข้า ประเทศไทยยึดยุทธศาสตร์มุ่งส่งออกในการขับเคลื่อนประเทศมาโดยตลอดซึ่งประสบความสำเร็จในการผลักดันให้เศรษฐกิจขยายตัวมาโดยตลอด อาทิการเติบโตทางเศรษฐกิจถึง 2 หลักระหว่างปี 2531-2533 จนถูก คาดหมายว่าจะขึ้นชั้น เป็นเสือเศรษฐกิจแห่งเอเชียตัวที่ห้า หรือ Nics ( Newly Industrialized countries)
เช่นเดียวกับ หลังวิกฤติต้มยำกุ้งในปี 2540 ภาคส่งออกคือ พระเอกตัวจริง ที่ฉุดเศรษฐกิจออกจากกับดักวิกฤติครั้งนั้น เนื่องจาก เงินบาทที่อ่อนค่าจาก 25 บทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ โดยเฉลี่ย ลงไปถึง 40 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ ประจวบเหมาะกับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกทำให้ขนาดการค้าโลกขยายตัวตาม
ห้วงเวลาดังกล่าว ภาคส่งออกได้สร้างปรากฎการณ์ โดยมูลค่าส่งออกเพิ่มจาก 1,806,682.0 ล้านบาทในปี 2540 เป็น 3,325,630.1 ล้านบาทในปี 2546 (เศรษฐกิจขยายตัวสูงสุดนับแต่เผชิญวิกฤติเศรษฐกิจ 6.8 %) ทะลุถึง 5,241,962.8 ล้านบาทในปี 2550 ขยับขึ้นมาเป็น 5,851,371.0 ล้านบาทในปี 2551 แม้ปี 2552 ภาคการค้าหดตัวตาม ภาวะเศรษฐกิจถดถอย แต่มูลค่าการค้าคงสูงเช่นเดิม
การเพิ่มขึ้นอย่างตื่นตาตื่นใจ ของมูลค่าส่งออกดังกล่าว เป็นที่มาของข้อสังเกต ตามด้วยคำถาม และความห่วงใย
ก่อนหน้านี้นักเศรษฐศาสตร์หลายคนมองว่า การที่ภาคส่งออกมีขนาดมากกว่าครึ่งหนึ่งของเศรษฐกิจรวมทำให้ไทยเสี่ยงต่อภาวะผันผวนของเศรษฐกิจโลกมาก เนื่องจากเศรษฐกิจในประเทศที่ผนวกเข้ากับเศรษฐกิจโลกมากเกินไป จะมีผลต่อภูมิคุ้มกันโรคโลกาภิวัตน์ลดลง โดยมีบทเรียนจากการถูกโจมตีจากค่าเงินในปี 2540 เป็นกรณีศึกษา
คำถามต่อมาผูกโยงกับคำถามแรกแต่ ข้อมีห่วงใยที่แตกต่างกัน นักเศรษฐศาสตร์อีกจำนวนหนึ่งรวมทั้ง ดร.ศุภวุฒิ มองว่า ขนาดของภาคส่งออก ได้เดินทางมาถึงจุดอิ่มตัวแล้ว หากประเทศไทยคงยึดยุทธศาสตร์มุ่งส่งออกเช่นเดิมต่อไป จะเผชิญกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจแบบเรื่อยๆมาเรียงๆ เนื่องจากช่วงเฟื่องฟูของภาคส่งออกผ่านไปแล้ว และยังมีผลเกี่ยวเนื่องมาถึง การเพิ่มขึ้นของ ทุนสำรองเงินตราและต่อไปถึงค่าเงินบาทอีกด้วย เช่นเดียวกับการวิเคราะห์ของ โฆษิต ที่ว่า หลังวิกฤติเศรษฐกิจโลกการค้าของโลกเปลี่ยนไปแล้วประเทศไทยต้องหาหนทางก้าวขึ้นเป็นประเทศอุตสาหกรรม
ความจริงหลายรัฐบาลที่ผ่านๆมา มีความคิดที่จะปรับทิศการบริหารทิศทางเศรษฐกิจภาพใหญ่ของประเทศมาโดย เช่นหลังวิกฤติต้มยำกุ้ง มีความพยายามจากหลายฝ่ายที่ผลักดันให้พัฒนารูปแบบการส่งออก จากเน้นอุตสาหกรรมใช้แรงงานหนาแน่นเป็นอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าเพิ่มเพราะตระหนักดีว่าไทยไม่สามารถแข่งขันด้าน ค่าแรง กับหลายประเทศโดยเฉพาะจีนได้ แต่หลังค่าเงินอ่อนยวบลงไปผู้ประกอบการส่วนใหญ่ เก็บความคิดสร้างมูลค่าเพิ่มเข้าลิ้นชักและกลับมารับจ้างทำของแบบคุ้นเคยต่อไป
ในยุครัฐบาลทักษิณ (2544-2549) พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีขณะนั้น เจ้าของความคิดบริหารเศรษฐกิจที่ฉูฉาดที่สุดจนนโยบายและความคิดถูกเรียกว่า ทักษิโณมิกส์ได้ นำเสนอแนวคิด ตะเกียบคู่ หรือ คู่ขนาน (Dual Track) คือขยายเศรษฐกิจภายในด้วยนโยบายประชานิยม ควบคู่ไปกับการส่งออกที่สร้างมูลค่าเพิ่ม แต่ตะเกียบคู่ๆนั้นถูกกวาดลงถังขยะไปพร้อมกับรัฐบาลทักษิณในปี 2549
ความคิดเรื่องเปลี่ยนรูปแบบส่งออกกลับมาอีกครั้ง เมื่อจีนแสดงตัวชัดว่า ฉันคือเจ้าแห่งโรงงานโลก ที่ผลิตสินค้ามีต้นทุนต่ำอย่างเหลือเชื่อ แม้มีผู้ประกอบการหลายรายเริ่มหันมาให้ความสำคัญ กับการสร้างมูลค่าเพิ่ม หรือ โยกฐานการผลิตเข้าไปในจีน แต่โดยภาพรวมแล้วภาคผลิตและส่งออกของไทย คงรับจ้างทำของเหมือนเดิม และความคิดดังกล่าว ถูกนำมาฉายซ้ำอีกครั้ง เมื่อเกิดวิกฤติเศรษฐกิจโลกในปี 2551 ที่การค้าโลกหายวูบฉุดภาคส่งออกหายวับไปด้วยคราวนี้เป็นบทของรัฐบาลอภิสิทธิ์
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ซึ่งประกาศเป็นหัวหน้าทีมเศรษฐกิจ ภูมิใจนำเสนอ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ( Creative Economy) แม้ความหมายของคำที่ดูดีดังกล่าว ยังไม่ชัดแจ้ง แต่คำอธิบายที่ได้รับอย่างกลมๆทั้งจากปากนายกรัฐมนตรี และผู้บริหารองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ คือ การสร้างมูลค่าเพิ่ม แทนการผลิตอย่างแมสที่ไทยไม่สามารถแข่งด้านราคากับ จีน เวียตนาม หรืออีกหลายประเทศได้แล้ว
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เพิ่งเริ่มต้น แม้มีการคาดการณ์อย่างสวยหรูว่าจะตัวช่วยๆ เพิ่มสัดส่วนเศรษฐกิจสร้างสรรค์จาก 9 หมื่นล้านเป็น 1.8 แสนล้านใน 3 ปี ตามแผนไทยเข้มแข็งซึ่งใช้งบลงทุนเพื่อการนี้ 2 หมื่นล้านบาท แต่ยังเร็วเกินไปที่จะสรุปว่า เศรษฐกิจสร้างสรรค์ จะประสบความสำเร็จ หรือ ไม่สำเร็จ หากการเคลื่อนไหวทั้งในเชิงความคิดของนักเศรษฐศาสตร์ และ นโยบายของหลายรัฐบาลที่ผ่านมา ตอกย้ำว่าประเทศไทย มีความจำเป็น ต้องหา พระเอกเศรษฐกิจคนใหม่จริงๆเพราะส่งออก ได้เวลาขยับขึ้นไปรับบทพ่อแล้ว
ประเด็นสำคัญที่ต้องช่วยกันคิดแก้ไขในระยะยาวคือ การหาสิ่งที่จะสามารถทดแทนการส่งออกได้ เนื่องจากหากวิกฤติครั้งนี้ผ่านพ้นไป แต่การค้าของโลกคงไม่กลับมาเหมือนเดิมแน่นอน ดังนั้นสิ่งที่เป็นวาระแห่งชาติที่แท้จริงคือ การช่วยกันหาแนวทางพัฒนาตนเอง ทั้งเรื่องเครื่องจักรอุตสาหกรรม วิศวกรรมที่จะทำอย่างไรให้ประเทศสามารถก้าวไปเป็นประเทศอุตสาหกรรม ได้ด้วยตนเอง ไม่ใช่พึ่งพาส่งออกเพียงอย่างเดียว
แม้วิธีมองปัญหาของ โฆษิต ต่างมุมจาก ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ กรรมการผู้จัดการ สายงานวิจัย บริษัทหลักทรัพย์ (บล.) ภัทร ที่ตั้งประเด็นว่า การที่สัดส่วนภาคส่งออกเพิ่มจาก 35 % ต่อจีดีพี (ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ) หลังวิกฤติต้มยำกุ้งปี 2540 มาเป็น 65 % ของขนาดเศรษฐกิจ ในปัจจุบัน หรือเพิ่มขึ้นถึง 30 % คือประเด็นที่ต้องขบคิดว่าเราจะไปต่อกันอย่างไร
ดร.ศุภวุฒิบอกว่าแม้ยุทธศาสตร์พึ่งส่งออกใช้ได้ดีในช่วงที่ผ่านมา เพราะเศรษฐกิจโลกเติบโตต่อเนื่อง และสหรัฐฯใช้จ่ายเกินตัว แต่เวลานี้คนอเมริกันเริ่มรู้ตัว และลดค่าใช้จ่ายลดลง ซึ่งมีผลกระทบถึงภาคส่งออกโลกและของไทยโดยตรง นักเศรษฐศาสตร์รายนี้ มองว่าหากประเทศไทยคงพึ่งยุทธศาสตร์มุ่งส่งออกต่อไป ผลที่น่าจะตามมาคือ เศรษฐกิจขยายตัวช้า
กว่า 3 ทศวรรษที่ผ่านมาหลังสิ้นยุค ผลิตเพื่อทดแทนการนำเข้า ประเทศไทยยึดยุทธศาสตร์มุ่งส่งออกในการขับเคลื่อนประเทศมาโดยตลอดซึ่งประสบความสำเร็จในการผลักดันให้เศรษฐกิจขยายตัวมาโดยตลอด อาทิการเติบโตทางเศรษฐกิจถึง 2 หลักระหว่างปี 2531-2533 จนถูก คาดหมายว่าจะขึ้นชั้น เป็นเสือเศรษฐกิจแห่งเอเชียตัวที่ห้า หรือ Nics ( Newly Industrialized countries)
เช่นเดียวกับ หลังวิกฤติต้มยำกุ้งในปี 2540 ภาคส่งออกคือ พระเอกตัวจริง ที่ฉุดเศรษฐกิจออกจากกับดักวิกฤติครั้งนั้น เนื่องจาก เงินบาทที่อ่อนค่าจาก 25 บทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ โดยเฉลี่ย ลงไปถึง 40 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ ประจวบเหมาะกับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกทำให้ขนาดการค้าโลกขยายตัวตาม
ห้วงเวลาดังกล่าว ภาคส่งออกได้สร้างปรากฎการณ์ โดยมูลค่าส่งออกเพิ่มจาก 1,806,682.0 ล้านบาทในปี 2540 เป็น 3,325,630.1 ล้านบาทในปี 2546 (เศรษฐกิจขยายตัวสูงสุดนับแต่เผชิญวิกฤติเศรษฐกิจ 6.8 %) ทะลุถึง 5,241,962.8 ล้านบาทในปี 2550 ขยับขึ้นมาเป็น 5,851,371.0 ล้านบาทในปี 2551 แม้ปี 2552 ภาคการค้าหดตัวตาม ภาวะเศรษฐกิจถดถอย แต่มูลค่าการค้าคงสูงเช่นเดิม
การเพิ่มขึ้นอย่างตื่นตาตื่นใจ ของมูลค่าส่งออกดังกล่าว เป็นที่มาของข้อสังเกต ตามด้วยคำถาม และความห่วงใย
ก่อนหน้านี้นักเศรษฐศาสตร์หลายคนมองว่า การที่ภาคส่งออกมีขนาดมากกว่าครึ่งหนึ่งของเศรษฐกิจรวมทำให้ไทยเสี่ยงต่อภาวะผันผวนของเศรษฐกิจโลกมาก เนื่องจากเศรษฐกิจในประเทศที่ผนวกเข้ากับเศรษฐกิจโลกมากเกินไป จะมีผลต่อภูมิคุ้มกันโรคโลกาภิวัตน์ลดลง โดยมีบทเรียนจากการถูกโจมตีจากค่าเงินในปี 2540 เป็นกรณีศึกษา
คำถามต่อมาผูกโยงกับคำถามแรกแต่ ข้อมีห่วงใยที่แตกต่างกัน นักเศรษฐศาสตร์อีกจำนวนหนึ่งรวมทั้ง ดร.ศุภวุฒิ มองว่า ขนาดของภาคส่งออก ได้เดินทางมาถึงจุดอิ่มตัวแล้ว หากประเทศไทยคงยึดยุทธศาสตร์มุ่งส่งออกเช่นเดิมต่อไป จะเผชิญกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจแบบเรื่อยๆมาเรียงๆ เนื่องจากช่วงเฟื่องฟูของภาคส่งออกผ่านไปแล้ว และยังมีผลเกี่ยวเนื่องมาถึง การเพิ่มขึ้นของ ทุนสำรองเงินตราและต่อไปถึงค่าเงินบาทอีกด้วย เช่นเดียวกับการวิเคราะห์ของ โฆษิต ที่ว่า หลังวิกฤติเศรษฐกิจโลกการค้าของโลกเปลี่ยนไปแล้วประเทศไทยต้องหาหนทางก้าวขึ้นเป็นประเทศอุตสาหกรรม
ความจริงหลายรัฐบาลที่ผ่านๆมา มีความคิดที่จะปรับทิศการบริหารทิศทางเศรษฐกิจภาพใหญ่ของประเทศมาโดย เช่นหลังวิกฤติต้มยำกุ้ง มีความพยายามจากหลายฝ่ายที่ผลักดันให้พัฒนารูปแบบการส่งออก จากเน้นอุตสาหกรรมใช้แรงงานหนาแน่นเป็นอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าเพิ่มเพราะตระหนักดีว่าไทยไม่สามารถแข่งขันด้าน ค่าแรง กับหลายประเทศโดยเฉพาะจีนได้ แต่หลังค่าเงินอ่อนยวบลงไปผู้ประกอบการส่วนใหญ่ เก็บความคิดสร้างมูลค่าเพิ่มเข้าลิ้นชักและกลับมารับจ้างทำของแบบคุ้นเคยต่อไป
ในยุครัฐบาลทักษิณ (2544-2549) พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีขณะนั้น เจ้าของความคิดบริหารเศรษฐกิจที่ฉูฉาดที่สุดจนนโยบายและความคิดถูกเรียกว่า ทักษิโณมิกส์ได้ นำเสนอแนวคิด ตะเกียบคู่ หรือ คู่ขนาน (Dual Track) คือขยายเศรษฐกิจภายในด้วยนโยบายประชานิยม ควบคู่ไปกับการส่งออกที่สร้างมูลค่าเพิ่ม แต่ตะเกียบคู่ๆนั้นถูกกวาดลงถังขยะไปพร้อมกับรัฐบาลทักษิณในปี 2549
ความคิดเรื่องเปลี่ยนรูปแบบส่งออกกลับมาอีกครั้ง เมื่อจีนแสดงตัวชัดว่า ฉันคือเจ้าแห่งโรงงานโลก ที่ผลิตสินค้ามีต้นทุนต่ำอย่างเหลือเชื่อ แม้มีผู้ประกอบการหลายรายเริ่มหันมาให้ความสำคัญ กับการสร้างมูลค่าเพิ่ม หรือ โยกฐานการผลิตเข้าไปในจีน แต่โดยภาพรวมแล้วภาคผลิตและส่งออกของไทย คงรับจ้างทำของเหมือนเดิม และความคิดดังกล่าว ถูกนำมาฉายซ้ำอีกครั้ง เมื่อเกิดวิกฤติเศรษฐกิจโลกในปี 2551 ที่การค้าโลกหายวูบฉุดภาคส่งออกหายวับไปด้วยคราวนี้เป็นบทของรัฐบาลอภิสิทธิ์
อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ซึ่งประกาศเป็นหัวหน้าทีมเศรษฐกิจ ภูมิใจนำเสนอ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ( Creative Economy) แม้ความหมายของคำที่ดูดีดังกล่าว ยังไม่ชัดแจ้ง แต่คำอธิบายที่ได้รับอย่างกลมๆทั้งจากปากนายกรัฐมนตรี และผู้บริหารองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ คือ การสร้างมูลค่าเพิ่ม แทนการผลิตอย่างแมสที่ไทยไม่สามารถแข่งด้านราคากับ จีน เวียตนาม หรืออีกหลายประเทศได้แล้ว
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เพิ่งเริ่มต้น แม้มีการคาดการณ์อย่างสวยหรูว่าจะตัวช่วยๆ เพิ่มสัดส่วนเศรษฐกิจสร้างสรรค์จาก 9 หมื่นล้านเป็น 1.8 แสนล้านใน 3 ปี ตามแผนไทยเข้มแข็งซึ่งใช้งบลงทุนเพื่อการนี้ 2 หมื่นล้านบาท แต่ยังเร็วเกินไปที่จะสรุปว่า เศรษฐกิจสร้างสรรค์ จะประสบความสำเร็จ หรือ ไม่สำเร็จ หากการเคลื่อนไหวทั้งในเชิงความคิดของนักเศรษฐศาสตร์ และ นโยบายของหลายรัฐบาลที่ผ่านมา ตอกย้ำว่าประเทศไทย มีความจำเป็น ต้องหา พระเอกเศรษฐกิจคนใหม่จริงๆเพราะส่งออก ได้เวลาขยับขึ้นไปรับบทพ่อแล้ว
DON"T EVER GIVE UP YOUR DREAM.....
- MANEKI
- Verified User
- โพสต์: 1005
- ผู้ติดตาม: 0
New Bull Market confirmed !!!!
โพสต์ที่ 145
ท่ามกลางเสียงสะท้อนจากหลายภาคส่วนฟันธง เศรษฐกิจไทยผ่านจุดต่ำสุดแล้ว
โดยรัฐบาลประกาศผลักดันอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (จีดีพี) ไตรมาส 4 ของปี 2552 ให้กลับมาขยายตัวเป็นบวก ด้วยการเร่งออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง แม้ว่า การเมือง จะยังเป็นประเด็นความเสี่ยงต่อเศรษฐกิจอยู่ก็ตาม
เมื่อเร็วๆนี้ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ออกมายืนยันว่า เศรษฐกิจไทยจะฟื้นตัว
ในลักษณะ วีเชฟ ซึ่งจะเป็นไปได้จริงหรือไม่ และรัฐบาลจะปลดล็อกปัญหาการเมืองอย่างไร ทีมข่าว ฐานฯออนไลน์ มีโอกาสสัมภาษณ์พิเศษ นายกรัฐมนตรี ที่ทำเนียบรัฐบาล เมื่อบ่ายวันที่ 4 กันยายนที่ผ่านมา ทั้งประเด็นด้านเศรษฐกิจและการเมือง
*** ยังยืนยันว่าเศรษฐกิจจะฟื้นตัวแบบวีเชฟหรือไม่
ยืนยัน เพราะตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจขณะนี้ทุกตัวก็ยืนยันอย่างนั้น ในแง่ของการเปรียบเทียบไตรมาสต่อไตรมาส เดือนต่อเดือนมันค่อนข้างชัด แต่ที่พูดไม่ได้หมายความว่า ประมาท เพราะ 1.รู้ว่ามีความเสี่ยง เช่น ราคาน้ำมันผันผวน ไข้หวัดยังสร้างความวิตกกังวลอยู่ในหลายวงการ การเมืองก็ยังเป็นตัวที่อยู่ในใจของหลายๆคนว่าจะเกิดอะไรที่มาสะดุดหรือไม่ เพราะฉะนั้นก็คือ ยืนยันว่าโดยขณะนี้ โดยธรรมชาติของมัน กำลังเป็นอย่างนั้น แต่ไม่ประมาท เพราะรู้ว่ามีตัวแปร
และ2. รู้ว่าถ้าจะทำให้ต่อเนื่องก็มีมาตรการของรัฐบาลที่ต้องเดินหน้าอย่างมั่นคง เช่น การเร่งรัดเรื่องของไทยเข้มแข็งว่าเงินต้องลงไปจริง เร็ว และการทำงานในนโยบายสำคัญอื่นๆ ก็ต้องกัดติด ต่อเนื่อง เข้มข้น ไม่ใช่ เห็นอย่างนี้แล้วรู้สึกว่าจะลดละความเข้มข้นในการทำงาน
***การเมืองยังเป็นตัวแปร จะเป็นวีเชฟ หรือดับเบิ้ลยู
การเมืองอยู่ที่คน การเมืองมันไม่ได้ลอยมา สังคมจะยอมหรือไม่ว่าให้มันสะดุดอีก สังคมก็ต้องมีส่วนช่วยในการให้คนบอกว่าพอแล้ว ถ้าไม่พอคนเดือดร้อน มันไม่ใช่พรรคประชาธิปัตย์ หรือ พรรคเพื่อไทย มันไม่ใช่ผมหรือคุณทักษิณ แต่เป็นคนไทยทุกคน
****ปัจจัยภายในและภายนอกห่วงอะไรมากกว่ากัน
ภายนอกยังมองว่าตอนนี้ความเสี่ยงลดลงค่อนข้างเร็ว ความหมายก็คือว่า ถ้าดูว่าเศรษฐกิจอย่างน้อยในเอเชียวิ่งขึ้นไปแบบเดียวกัน ก็น่าจะเกื้อซึ่งกันและกัน และยังไม่เห็นสัญญาณว่าจะมีอะไรที่รุนแรง แต่ข้างในต้องยอมรับว่าละเอียดอ่อน เหตุการณ์ความวุ่นวายทางการเมือง บางทีมันเรื่องเล็กนิดเดียว แต่อุบัติเหตุหรือมันพลาด มันลุกลามได้ ถ้าถามผมผมกังวลตรงนี้มากกว่า แต่ก็คิดว่าหลักที่รัฐบาลใช้ก็เป็นภูมิคุ้มกันที่ดีที่สุดแล้วที่เราพึงจะมีพึงจะใช้
***มีคนวิจารณ์ว่ารัฐบาลเน้นแก้ปัญหาการเมืองมากกว่าเศรษฐกิจ
ไม่จริง ผมว่าดูได้จากงานที่ออกมา ในขณะที่คนบอกว่ารัฐบาลเสียงปริ่มน้ำ การเมืองวุ่นวายต้องบริหารจัดการ ไปดูมาตรการทางเศรษฐกิจที่ออกมาใน 8 เดือนและไม่ได้ทำเรื่องเล็กๆ ทำเรื่องที่หลายรัฐบาลบอกว่าจะทำแล้วไม่ได้ทำ หรือบอกว่าจะทำแล้วทำไม่ได้ คนที่เกี่ยวข้องกับโครงการ เช่น เรียนฟรี ผู้สูงอายุ 20-30 ล้านคน ทำออกมา งบประมาณกลางปี พ.ร.ก. งบประมาณประจำปีผ่านตามเวลาตามเป้าหมายทุกอย่าง เพราะฉะนั้นสมาธิเราอยู่กับเรื่องเศรษฐกิจแน่นอน แต่บังเอิญสื่อที่เป็นคนให้น้ำหนักเรื่องการเมือง
ผมทำงานทั้งวัน เรื่องเศรษฐกิจอาจจะ 70% แต่ผมเดินออกจากตึกสื่อสัมภาษณ์ น้ำหนักไปถามการเมือง 90% คนเขาก็รับรู้เรื่องการเมือง นี่คือข้อเท็จจริง
***8 เดือนที่ผ่านมาให้คะแนนตัวเองเท่าไร
ผมไม่ให้คะแนนตัวเอง เรื่องการให้คะแนนต้องให้คนอื่นให้ แต่ผมก็ติดตามการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ผมดูจากที่คนอื่นสำรวจมา ดูโพลล์ต่างๆ และคนที่ทำวิจัยในแง่มุมต่างๆกับสภาวะวิกฤติที่เป็นแบบนี้ ผมก็คิดว่าก็ไปได้ระดับหนึ่ง ทุกคนมาอยู่ตรงนี้ก็อยากให้มันดีกว่านี้ ถ้าจะไปสรุปว่าสอบตก หรือไม่มีผลงาน มันก็ไม่ใช่ ตัวเลขมันไม่ได้เป็นอย่างนั้น ตัวเลขที่เขาสำรวจมาก็ไม่เคยบอกว่าจะเป็นอย่างนั้น เพียงแต่ว่าแล้วแต่คนที่ไปสรุป แล้วแต่คนที่นำเสนอ
*** มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจมีผลให้หนี้พุ่ง
ผมเองผมไม่ได้กังวลว่าหนี้สาธารณะจะไปพุ่งสูงเกินขอบเขต และที่สำคัญก็คือว่าการเพิ่มขึ้นของหนี้สาธารณะต่อจีดีพีมันเพิ่มขึ้นทั้งโลก ถ้าจะมีอะไรที่ทำให้มันสูงขึ้นไปอีก ทุกประเทศก็สูงขึ้นเหมือนกัน มันไม่ได้ส่งผลต่อความได้เปรียบเสียเปรียบในเชิงความเข้มแข็งของเสถียรภาพของประเทศต่างๆ เพราะเวลานี้ทุกประเทศก็จะขึ้น ใครอยู่ 40% ก็จะขึ้นมาเป็น 60% ใครเคยอยู่ 60%ก็ขึ้นไปเป็น 80% ใครอยู่ 80% ก็ขึ้นไปเป็น 100% ก็ค่อนข้างจะเป็นอย่างนี้ ภาพอย่างนี้ทั่วโลกเหมือนกันหมด อาจจะยกเว้นจีน อินเดีย 2-3 ประเทศ ที่เหลือก็ไปยกแผง
ตัวเลขสัดส่วนหนี้ต่อจีดีพีที่พุ่งสูง มันมาจาก 2 ขา ขาหนึ่งเพราะเราต้องมีการกู้ยืมมาเพิ่มเติมเกินเพดานของบ แต่อีกขาหนึ่งคือตัวฐานของจีดีพีหด ซึ่งเรามั่นใจว่าปีนี้เป็นปีสุดท้ายที่จีดีพีจะหด และปีหน้า (ปี2553) ในขณะที่ผมค่อนข้างอนุรักษ์นิยม มองว่าจีดีพีจะโตสัก 2% ก็ยังมีสถาบันต่างๆออกมาบอกว่าจะโต 3% บางคนก็ไปมากกว่า 3% แล้ว
ผมก็ยังมั่นใจว่าถ้าไม่ได้เกิดเหตุการณ์แบบไม่คาดฝันขึ้นมาอีก พอเศรษฐกิจเริ่มกลับไปโต 4-5% โดยอัตโนมัติสัดส่วนตรงนี้มันก็จะค่อยๆลงมา และเมื่อพูดกันตามความเป็นจริง สมมติว่าเศรษฐกิจเริ่มโตพอถึง 4 % หรือ 5% พอเข้าไปถึงปีที่ 2 ปีที่ 3 ผมก็อาจจะตัดสินใจว่าไม่ต้องกู้เงินทั้งหมดก็ได้ 800,000 ล้านบาท ที่ขออำนาจไว้ ก็เอาค่าใช้จ่ายกลับมาใส่ในงบประมาณปกติก็ได้ เพราะการจัดเก็บรายได้ดีขึ้นเหมือนกับที่เดิมคลังบอกว่าพ.ร.ก. 400,000 ล้านบาท ขอ 200,000 ล้านบาทไว้ชดเชยเงินคงคลัง ตอนนี้ก็ไม่ขอ 200,000 ล้านบาทแล้ว ขอแค่ 100,000 ล้านบาท
แต่รัฐบาลก็จะเร่งลงทุนโครงการไทยเข้มแข็งจาก 200,000 ล้านบาทเป็น 300,000 ล้านบาท ซึ่งทำให้มองไปข้างหน้าว่าในส่วนของ พ.ร.บ.ที่ยังใช้เวลาอีกพอสมควรกว่าจะผ่านสภาฯออกมา ถึงกฎหมายออกมาแล้ว ถึงตรงนั้นถ้าสถานการณ์เปลี่ยน เราก็มาประเมินใหม่ได้ แต่เราต้องการมีเครื่องมือเอาไว้สำหรับที่จะใช้หากสถานการณ์ยังมีความจำเป็นที่จะต้องใช้ตรงนี้
****เม็ดเงินลงทุน 2 แสนที่จะเข้าสู่ระบบ
ในส่วนของ 200,000 ล้านบาท มีโครงการชัดเจนแล้วตามมติ ครม. เมื่อ 18 สิงหาคม โครงการวันนี้จะขึ้นเว็บไซด์หมดว่าอยู่ที่ไหนบ้าง ประชาชนรู้แล้ว แหล่งน้ำอยู่ไหน โรงเรียน สถานีอนามัย ถนนเส้นไหน รถไฟที่จะปรับปรุง 200,000 ล้านบาทนี้ ผมถามรมว.คลังเมื่อเช้า (4 ก.ย.) ท่านมั่นใจว่าภายในสิ้นปีปฏิทิน 2553 เงิน 90% ของ 200,000 ล้านบาทจะออก
ส่วนอีก 100,000 ล้านบาท ยังอยู่ในระหว่างการกลั่นกรองอยู่ น่าจะเสนอเข้าครม.ได้ภายใน 1-2 สัปดาห์ข้างหน้า ตรงนั้นผมถึงจะตอบได้อีกทีหนึ่งว่าจะเป็นอย่างไร แต่ผมคิดว่าในภาพรวมของพ.ร.ก. โครงการส่วนใหญ่ที่เป็นที่เข้าใจว่าจะเกิดขึ้นก่อนที่จะมีการปรับ 200,000 ล้านบาท เป็น 300,000 ล้านบาท ตอนนี้ชัดเจนแล้ว ที่ยังดูยากหน่อยคือ ในส่วนของการออกพ.ร.บ. 400,000 ล้านบาท เพราะวุฒิสภาเขาแปรญัตติเยอะ
****มีมาตรการช่วยชนชั้นกลางและผู้เสียภาษีอย่างไร
มาตรการทางภาษีก็มีการลดหย่อนและมีการขยายให้แล้วส่วนหนึ่ง และบริการทั้งหลายผู้เสียภาษีก็ได้รับด้วย เช่น การศึกษา ผู้สูงอายุ ในส่วนของภาษีเงินได้นิติบุคคล จริงๆแล้วเราก็มีแผนที่จะลดอัตราภาษีอยู่แล้ว (จากปัจจุบันจัดเก็บ 30%) แต่บังเอิญมาเจอวิกฤติ ซึ่งคิดว่าหากสถานการณ์เศรษฐกิจดีขึ้นจะลดภาษีแน่ เพื่อให้นิติบุคคลแข่งขันกับประเทศอื่นได้ ส่วนบุคคลธรรมดาก็ขยายเพดานไปตามสถานการณ์ อยากให้มันง่ายขึ้น
รอดูการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ผมว่าถ้าเศรษฐกิจกลับมาสู่ภาวะที่เราเรียกว่าค่อนข้างปกติ เราก็จะเริ่มทำ
***มีความเห็นอย่างไรที่นักเศรษฐศาสตร์เสนอนำเงินทุนสำรองมาใช้กระตุ้นเศรษฐกิจ
ผมคิดว่าจังหวะเวลาไม่น่าจะเดินไปทางนั้น เหตุผลเพราะการกระตุ้นของบเราส่วนใหญ่เป็นการใช้เงินบาท ทุนสำรองเป็นเงินต่างประเทศ ถ้าเอากลับมาทำเป็นเงินบาทก็จะแข็งขึ้นไปอีก
ผมคิดตรงกันข้ามเลย ขณะนี้โครงการที่มีการนำเข้าและเดิมจะไปกู้จากต่างประเทศตามกฎหมายปกติ มีแต่รัฐบาลกำลังทบทวนว่าจะไม่เอาแบบนั้นหรือไม่ เอาเงินบาทแล้วยอมไปแลกเงินต่างประเทศเพื่อที่จะให้ค่าเงินบาทอ่อนลงด้วยซ้ำ มีแต่ไปอีกทางหนึ่ง ไม่ได้คิดเรื่องเงินสำรอง และขณะนี้เมื่อเรามีเครื่องมือของ พ.ร.ก.แล้ว ที่บอกว่าการขาดแคลนเงินที่จะออกมา ผมไม่ได้มองว่ามีปัญหา เงินที่เราดึงออกมาจากตลาด หรือจากสถาบันการเงิน ไม่ว่าจะด้วยการออกพันธบัตรหรือไปกู้ก็ตาม ขณะนี้ยังไม่มีอะไรที่กระทบกับการเข้าถึงแหล่งเงินทุนของภาคเอกชน เพราะสภาพคล่องส่วนเกินเยอะ แต่ถ้าเศรษฐกิจฟื้นขึ้นมาในระดับหนึ่ง อาจจะมีประเด็นก็ค่อยว่ากัน แต่ขณะนี้ยังมองไม่เห็นว่าทำไมจะไปทำอย่างนั้นเพื่อให้เงินบาทแข็ง ส่งออกมีปัญหามากขึ้น และมีเงินในประเทศที่นอนอยู่เฉยๆในระบบธนาคาร ไม่ได้เอาออกมาทำอะไร
***พอใจกับนโยบายดอกเบี้ยเพื่อฟื้นเศรษฐกิจหรือไม่
เขา (แบงก์ชาติ) ทำเยอะแล้ว ไม่เคยเห็นแบงก์ชาติทำเยอะขนาดนี้ ในรอบ 8-9 เดือนที่ผ่านมา เขาลดแรงมาก อย่าใช้คำว่าพอใจ คือ ไม่มีปัญหากัน ปล่อยให้เป็นการดำเนินนโยบายการเงินที่อิสระของแบงก์ชาติที่เข้าใจเป้าหมายร่วมกัน
***มีนักเศรษฐศาสตร์ที่เสนอให้พึ่งเศรษฐกิจภายในประเทศทดแทนส่งออก
ผมก็อยากให้เศรษฐกิจข้างในมันโตขึ้น และมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจส่วนใหญ่ขณะนี้ก็พยายามที่จะสนับสนุนแนวทางนั้นด้วย แต่เส้นแบ่งมันก็บางระหว่างการที่บอกว่าทำอย่างไรให้เศรษฐกิจข้างในโตขึ้นและขณะเดียวกันไม่ไปจำกัดหรือสกัดการส่งออก
ผมคิดว่าโดยข้อเท็จจริงการที่ประเทศของเราจะส่งออกมากหรือน้อย มันไม่ได้เป็นการตัดสินใจของรัฐบาล เป็นการตัดสินใจของเอกชน รัฐบาลทำได้อย่างมากสุดก็ไปเล่นกับอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งผมก็บอกตรงๆขณะนี้ในระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่เป็นอยู่ก็ใช่ว่ารัฐบาลจะทำได้ ผมก็ตอบกับภาคเอกชนตรงๆเลย สมมติว่าวันนี้รัฐบาลอยากให้เงินบาทอยู่ที่ 38 บาททำได้จริงหรือไม่ หรือถ้าบอกว่าไม่อยากให้ส่งออก ก็ง่ายเลย เอาเงินบาทกลับไปอยู่ที่ 25 บาทมั๊ย
1.อยากทำหรือไม่ 2. ถึงอยากทำ ทำได้หรือไม่ ผมก็ว่าทำไม่ได้ เพราะฉะนั้นมันเป็นการตัดสินใจของเอกชน สิ่งที่เราต้องทำมากกว่าก็คือว่า ใครที่ทำเรื่องของการส่งออกพึ่งพิงกับเศรษฐกิจโลกต้องรู้จักบริหารความเสี่ยงมากขึ้น เวลาที่เศรษฐกิจโลกผันผวน มันกระทบแต่มีทางออกในเชิงการบริหารความเสี่ยงของตัวผู้ค้าขายและผู้ส่งออกเอง
และที่สำคัญกว่านั้นก็คือว่า สิ่งที่ผมพยายามทำในเรื่องของการทำระบบสวัสดิการให้เป็นระบบสวัสดิการมากกว่าระบบที่เรียกว่ารัฐบาลช่วยเหลือเฉพาะหน้าครั้งคราว ก็จะเป็นตัวที่ปกป้องคนไทยจากความผันผวนของเศรษฐกิจ แต่ถ้าเราทำให้เศรษฐกิจข้างในโตขึ้น เข้มแข็งขึ้นได้ก็ดี แต่ขนาดของประเทศ เราต้องยอมรับเมื่อเทียบกับโอกาสที่มันมีกับตลาดโลกทั้งโลก ถามว่ามันมีเหตุผลหรือไม่ที่เราจะบิกคนของเราว่าถึงมีโอกาสข้างนอกคุณอย่าไปเลย ในเมื่อมันสร้างรายได้ให้เขาได้ สร้างงานได้ สร้างโอกาสได้ แต่ถ้าระบบเศรษฐกิจทุนนิยม หรือตลาดก็จะผันผวนและมีความถี่ และความรุนแรงในการผันผวนมากขึ้น อันนี้ก็เป็นความจริง
***โครงสร้างของประเทศมีการพูดว่าจะใช้การผลิตที่ใช้แรงงานต่อไปไม่ได้
เห็นด้วย และอันนี้ก็คือเหตุผลที่เราเน้นเรื่องเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ว่าจะต้องเข้ามาเพื่อพึ่งเรื่องการใช้แรงงานน้อยลง และพึ่งเรื่องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติน้อยลง และเราทำเราเน้นทั้งภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการ
ภาคเกษตรขณะนี้คือ เราต้องมุ่งไปสู่การเพิ่มผลผลิตต่อไร่ให้ได้ อุตสาหกรรมก็คือการเพิ่มมูลค่า จะโดยการมียี่ห้อ การออกแบบ และภาคบริการ คือ การปรับปรุงผลิตภัณฑ์หรือกฎกติกาของเราเกี่ยวกับภาคบริการ อันนี้ผมเห็นด้วย 100% ว่าเราต้องลดการพึ่งพิงแรงงาน การพึ่งพิงต้นทุนต่ำ การกินบุญเก่าจากการที่เรามีทรัพยากรธรรมชาติสมบูรณ์
****กลไกที่รัฐจะผลักดันเรื่องเศรษฐกิจสร้างสรรค์
คิดว่าในอดีตก็มีความพยายามทำกันมา ปัญหาคือไม่ได้ทำเชื่อมโยงกัน เช่น บางทีเราก็บอกกรุงเทพเมืองแฟชั่น การตั้งทีซีดีซี แต่ไม่โยงกัน หลักของเราตอนนี้ก็คือเราทำเป็นยุทธศาสตร์ใหญ่ จะมีตัวกลไกเข้ามาประสาน เราปรับปรุงกติกาเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา และหยิบภาคเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องมาโดยตรง เช่น ศิลปวัฒนธรรม โยงไปถึงวิสาหกิจชุมชน เช่น เรื่องสื่อ อุตสาหกรรมบันเทิง ท่องเที่ยว การออกแบบผลิตภัณฑ์ และทำเป็นเรื่องเดียวกัน โยงไปถึงเรื่องงานวิจัย การสนับสนุนที่เป็นระบบ เรื่องทุน ตลาด และกฎกติกา
***ระบบปรับปรุงสวัสดิการจะเป็นแบบรัฐสวัสดิการหรือไม่
ผมหลีกเลี่ยงคำว่ารัฐสวัสดิการ เพราะผมไม่ต้องการให้สื่อว่าต่อไปนี้เราจะเก็บภาษีสูง และเอาเงินมาให้ ระบบที่เราพยายามทำมากที่สุดคือ ระบบที่มีการสมทบ กฎหมายที่กระทรวงการคลังจะเสนอและที่เรากำลังจะไปต่อยอดสวัสดิการชุมชน เป็นระบบที่สมทบทั้งสิ้น คือ ชาวบ้านต้องออกเงินเองด้วยและมีการออมเงินด้วย
แม้กระทั่งระบบสวัสดิการพยาบาลในอนาคตที่ผมกำลังเริ่มต้นให้ศึกษาอยู่ก็จะเป็นระบบที่เป็นลักษณะของบัญชีการออมมากกว่า เป็นระบบสวัสดิการ แต่ผมไม่เรียกว่าเป็นรัฐสวัสดิการ เพราะคนต้องมีส่วนสมทบมีส่วนร่วม เพียงแต่ว่าถ้าคนมีรายได้น้อยหรือคนยากจนอาจได้รับการยกเว้นไม่ต้องสมทบ แม้แต่เรื่องประกันพืชผลในวันข้างหน้าเราก็ยังคิดว่าจะพัฒนาไปในลักษณะของการเก็บเบี้ยได้ ถ้าอยากประกันในส่วนที่สูงกว่าซื้อประกันเพิ่มได้ เป็นการเอาหลักของเรื่องการประกันภัยมาใช้มากขึ้น และระบบสวัสดิการจะผูกพันกับเรื่องการออมด้วย ไม่ใช่เรื่องที่ว่ามารับจากรัฐบาลอย่างเดียว ภาษีจ่ายไป เพราะถ้าผมจะทำเป็นแบบนั้นผมไม่ต้องทำกองทุนออมอะไรเลย ผมก็เพิ่มเบี้ยยังชีพจาก 500 บาท เป็นพันเป็นหมื่น
***การแก้วิกฤติการเมืองปี 2549-ปัจจุบัน
เรื่องความขัดแย้งทางการเมือง มีที่มาถ้านับย้อนหลังไปไม่น่าจะต่ำกว่า 5 ปี เพราะฉะนั้น
มันก็เป็นเรื่องยากที่จะคาดหวังว่า ระยะเวลาสั้นๆก็ดี หรือการทำงานของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งก็ดี ในที่นี้ไม่ได้หมายถึงเฉพาะรัฐบาล แต่หมายถึงรัฐสภาก็ดี จะสามารถปลดเงื่อนไขความขัดแย้งได้
ในส่วนของรัฐบาลหรือรัฐสภาเอง ได้ทำหลายส่วนเพื่อที่จะคลี่คลายสถานการณ์ แต่ไม่สามารถให้คำตอบได้ทั้งหมด
แต่หลักของสังคมในขณะนี้คือ ทำอย่างไรให้คนที่มีความคิดเห็นแตกต่างกันอยู่ร่วมกันได้ ยอมรับกระบวนการ ยอมรับกติกาบางอย่าง เพื่อให้บ้านเมืองเดินไปข้างหน้าได้ ในฐานะรัฐบาลผมก็กำหนดกรอบขอบเขตไว้ชัด คือ ทำให้เห็นว่ารัฐบาลนี้ให้โอกาสคนที่ไม่เห็นด้วยกับรัฐบาล โดยที่ยุคนี้เป็นยุคแรกที่เราถ่ายทอดกระทู้ถามสด ผมว่าผมเป็นนายกฯในรอบ 10 ปี ที่นั่งฟังและตอบปัญหาในสภาด้วยตนเองน่าจะมากที่สุด
บรรยากาศขณะนี้ ถามว่าคนวิตกกังวลหรือไม่ ก็ยังวิตกกังวล แต่อย่างน้อยที่สุดผมก็พิสูจน์ว่า 8 เดือน แสดงให้เห็นว่าการเมืองจะเป็นอย่างไรก็แล้วแต่ แต่มีรัฐบาลที่มีการผลักดันนโยบาย แก้ไขปัญหาของบ้านเมือง ปัญหาของเศรษฐกิจที่เข้าขั้นวิกฤติด้วยซ้ำอย่างต่อเนื่อง ไม่ได้สะดุด ไม่ได้เสียสมาธิ ผมก็กล้าที่จะให้เปรียบเทียบกับตลอดทั้งปีปีที่แล้ว ว่าสภาพของการมีรัฐบาลแตกต่างกันอย่างไร ถ้าทำอย่างนี้ไปอีกสักระยะหนึ่ง ผมว่าสถานการณ์ก็จะเริ่มคลี่คลาย แต่มันไม่หมดหรอก
โดยรัฐบาลประกาศผลักดันอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (จีดีพี) ไตรมาส 4 ของปี 2552 ให้กลับมาขยายตัวเป็นบวก ด้วยการเร่งออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง แม้ว่า การเมือง จะยังเป็นประเด็นความเสี่ยงต่อเศรษฐกิจอยู่ก็ตาม
เมื่อเร็วๆนี้ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ออกมายืนยันว่า เศรษฐกิจไทยจะฟื้นตัว
ในลักษณะ วีเชฟ ซึ่งจะเป็นไปได้จริงหรือไม่ และรัฐบาลจะปลดล็อกปัญหาการเมืองอย่างไร ทีมข่าว ฐานฯออนไลน์ มีโอกาสสัมภาษณ์พิเศษ นายกรัฐมนตรี ที่ทำเนียบรัฐบาล เมื่อบ่ายวันที่ 4 กันยายนที่ผ่านมา ทั้งประเด็นด้านเศรษฐกิจและการเมือง
*** ยังยืนยันว่าเศรษฐกิจจะฟื้นตัวแบบวีเชฟหรือไม่
ยืนยัน เพราะตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจขณะนี้ทุกตัวก็ยืนยันอย่างนั้น ในแง่ของการเปรียบเทียบไตรมาสต่อไตรมาส เดือนต่อเดือนมันค่อนข้างชัด แต่ที่พูดไม่ได้หมายความว่า ประมาท เพราะ 1.รู้ว่ามีความเสี่ยง เช่น ราคาน้ำมันผันผวน ไข้หวัดยังสร้างความวิตกกังวลอยู่ในหลายวงการ การเมืองก็ยังเป็นตัวที่อยู่ในใจของหลายๆคนว่าจะเกิดอะไรที่มาสะดุดหรือไม่ เพราะฉะนั้นก็คือ ยืนยันว่าโดยขณะนี้ โดยธรรมชาติของมัน กำลังเป็นอย่างนั้น แต่ไม่ประมาท เพราะรู้ว่ามีตัวแปร
และ2. รู้ว่าถ้าจะทำให้ต่อเนื่องก็มีมาตรการของรัฐบาลที่ต้องเดินหน้าอย่างมั่นคง เช่น การเร่งรัดเรื่องของไทยเข้มแข็งว่าเงินต้องลงไปจริง เร็ว และการทำงานในนโยบายสำคัญอื่นๆ ก็ต้องกัดติด ต่อเนื่อง เข้มข้น ไม่ใช่ เห็นอย่างนี้แล้วรู้สึกว่าจะลดละความเข้มข้นในการทำงาน
***การเมืองยังเป็นตัวแปร จะเป็นวีเชฟ หรือดับเบิ้ลยู
การเมืองอยู่ที่คน การเมืองมันไม่ได้ลอยมา สังคมจะยอมหรือไม่ว่าให้มันสะดุดอีก สังคมก็ต้องมีส่วนช่วยในการให้คนบอกว่าพอแล้ว ถ้าไม่พอคนเดือดร้อน มันไม่ใช่พรรคประชาธิปัตย์ หรือ พรรคเพื่อไทย มันไม่ใช่ผมหรือคุณทักษิณ แต่เป็นคนไทยทุกคน
****ปัจจัยภายในและภายนอกห่วงอะไรมากกว่ากัน
ภายนอกยังมองว่าตอนนี้ความเสี่ยงลดลงค่อนข้างเร็ว ความหมายก็คือว่า ถ้าดูว่าเศรษฐกิจอย่างน้อยในเอเชียวิ่งขึ้นไปแบบเดียวกัน ก็น่าจะเกื้อซึ่งกันและกัน และยังไม่เห็นสัญญาณว่าจะมีอะไรที่รุนแรง แต่ข้างในต้องยอมรับว่าละเอียดอ่อน เหตุการณ์ความวุ่นวายทางการเมือง บางทีมันเรื่องเล็กนิดเดียว แต่อุบัติเหตุหรือมันพลาด มันลุกลามได้ ถ้าถามผมผมกังวลตรงนี้มากกว่า แต่ก็คิดว่าหลักที่รัฐบาลใช้ก็เป็นภูมิคุ้มกันที่ดีที่สุดแล้วที่เราพึงจะมีพึงจะใช้
***มีคนวิจารณ์ว่ารัฐบาลเน้นแก้ปัญหาการเมืองมากกว่าเศรษฐกิจ
ไม่จริง ผมว่าดูได้จากงานที่ออกมา ในขณะที่คนบอกว่ารัฐบาลเสียงปริ่มน้ำ การเมืองวุ่นวายต้องบริหารจัดการ ไปดูมาตรการทางเศรษฐกิจที่ออกมาใน 8 เดือนและไม่ได้ทำเรื่องเล็กๆ ทำเรื่องที่หลายรัฐบาลบอกว่าจะทำแล้วไม่ได้ทำ หรือบอกว่าจะทำแล้วทำไม่ได้ คนที่เกี่ยวข้องกับโครงการ เช่น เรียนฟรี ผู้สูงอายุ 20-30 ล้านคน ทำออกมา งบประมาณกลางปี พ.ร.ก. งบประมาณประจำปีผ่านตามเวลาตามเป้าหมายทุกอย่าง เพราะฉะนั้นสมาธิเราอยู่กับเรื่องเศรษฐกิจแน่นอน แต่บังเอิญสื่อที่เป็นคนให้น้ำหนักเรื่องการเมือง
ผมทำงานทั้งวัน เรื่องเศรษฐกิจอาจจะ 70% แต่ผมเดินออกจากตึกสื่อสัมภาษณ์ น้ำหนักไปถามการเมือง 90% คนเขาก็รับรู้เรื่องการเมือง นี่คือข้อเท็จจริง
***8 เดือนที่ผ่านมาให้คะแนนตัวเองเท่าไร
ผมไม่ให้คะแนนตัวเอง เรื่องการให้คะแนนต้องให้คนอื่นให้ แต่ผมก็ติดตามการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ผมดูจากที่คนอื่นสำรวจมา ดูโพลล์ต่างๆ และคนที่ทำวิจัยในแง่มุมต่างๆกับสภาวะวิกฤติที่เป็นแบบนี้ ผมก็คิดว่าก็ไปได้ระดับหนึ่ง ทุกคนมาอยู่ตรงนี้ก็อยากให้มันดีกว่านี้ ถ้าจะไปสรุปว่าสอบตก หรือไม่มีผลงาน มันก็ไม่ใช่ ตัวเลขมันไม่ได้เป็นอย่างนั้น ตัวเลขที่เขาสำรวจมาก็ไม่เคยบอกว่าจะเป็นอย่างนั้น เพียงแต่ว่าแล้วแต่คนที่ไปสรุป แล้วแต่คนที่นำเสนอ
*** มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจมีผลให้หนี้พุ่ง
ผมเองผมไม่ได้กังวลว่าหนี้สาธารณะจะไปพุ่งสูงเกินขอบเขต และที่สำคัญก็คือว่าการเพิ่มขึ้นของหนี้สาธารณะต่อจีดีพีมันเพิ่มขึ้นทั้งโลก ถ้าจะมีอะไรที่ทำให้มันสูงขึ้นไปอีก ทุกประเทศก็สูงขึ้นเหมือนกัน มันไม่ได้ส่งผลต่อความได้เปรียบเสียเปรียบในเชิงความเข้มแข็งของเสถียรภาพของประเทศต่างๆ เพราะเวลานี้ทุกประเทศก็จะขึ้น ใครอยู่ 40% ก็จะขึ้นมาเป็น 60% ใครเคยอยู่ 60%ก็ขึ้นไปเป็น 80% ใครอยู่ 80% ก็ขึ้นไปเป็น 100% ก็ค่อนข้างจะเป็นอย่างนี้ ภาพอย่างนี้ทั่วโลกเหมือนกันหมด อาจจะยกเว้นจีน อินเดีย 2-3 ประเทศ ที่เหลือก็ไปยกแผง
ตัวเลขสัดส่วนหนี้ต่อจีดีพีที่พุ่งสูง มันมาจาก 2 ขา ขาหนึ่งเพราะเราต้องมีการกู้ยืมมาเพิ่มเติมเกินเพดานของบ แต่อีกขาหนึ่งคือตัวฐานของจีดีพีหด ซึ่งเรามั่นใจว่าปีนี้เป็นปีสุดท้ายที่จีดีพีจะหด และปีหน้า (ปี2553) ในขณะที่ผมค่อนข้างอนุรักษ์นิยม มองว่าจีดีพีจะโตสัก 2% ก็ยังมีสถาบันต่างๆออกมาบอกว่าจะโต 3% บางคนก็ไปมากกว่า 3% แล้ว
ผมก็ยังมั่นใจว่าถ้าไม่ได้เกิดเหตุการณ์แบบไม่คาดฝันขึ้นมาอีก พอเศรษฐกิจเริ่มกลับไปโต 4-5% โดยอัตโนมัติสัดส่วนตรงนี้มันก็จะค่อยๆลงมา และเมื่อพูดกันตามความเป็นจริง สมมติว่าเศรษฐกิจเริ่มโตพอถึง 4 % หรือ 5% พอเข้าไปถึงปีที่ 2 ปีที่ 3 ผมก็อาจจะตัดสินใจว่าไม่ต้องกู้เงินทั้งหมดก็ได้ 800,000 ล้านบาท ที่ขออำนาจไว้ ก็เอาค่าใช้จ่ายกลับมาใส่ในงบประมาณปกติก็ได้ เพราะการจัดเก็บรายได้ดีขึ้นเหมือนกับที่เดิมคลังบอกว่าพ.ร.ก. 400,000 ล้านบาท ขอ 200,000 ล้านบาทไว้ชดเชยเงินคงคลัง ตอนนี้ก็ไม่ขอ 200,000 ล้านบาทแล้ว ขอแค่ 100,000 ล้านบาท
แต่รัฐบาลก็จะเร่งลงทุนโครงการไทยเข้มแข็งจาก 200,000 ล้านบาทเป็น 300,000 ล้านบาท ซึ่งทำให้มองไปข้างหน้าว่าในส่วนของ พ.ร.บ.ที่ยังใช้เวลาอีกพอสมควรกว่าจะผ่านสภาฯออกมา ถึงกฎหมายออกมาแล้ว ถึงตรงนั้นถ้าสถานการณ์เปลี่ยน เราก็มาประเมินใหม่ได้ แต่เราต้องการมีเครื่องมือเอาไว้สำหรับที่จะใช้หากสถานการณ์ยังมีความจำเป็นที่จะต้องใช้ตรงนี้
****เม็ดเงินลงทุน 2 แสนที่จะเข้าสู่ระบบ
ในส่วนของ 200,000 ล้านบาท มีโครงการชัดเจนแล้วตามมติ ครม. เมื่อ 18 สิงหาคม โครงการวันนี้จะขึ้นเว็บไซด์หมดว่าอยู่ที่ไหนบ้าง ประชาชนรู้แล้ว แหล่งน้ำอยู่ไหน โรงเรียน สถานีอนามัย ถนนเส้นไหน รถไฟที่จะปรับปรุง 200,000 ล้านบาทนี้ ผมถามรมว.คลังเมื่อเช้า (4 ก.ย.) ท่านมั่นใจว่าภายในสิ้นปีปฏิทิน 2553 เงิน 90% ของ 200,000 ล้านบาทจะออก
ส่วนอีก 100,000 ล้านบาท ยังอยู่ในระหว่างการกลั่นกรองอยู่ น่าจะเสนอเข้าครม.ได้ภายใน 1-2 สัปดาห์ข้างหน้า ตรงนั้นผมถึงจะตอบได้อีกทีหนึ่งว่าจะเป็นอย่างไร แต่ผมคิดว่าในภาพรวมของพ.ร.ก. โครงการส่วนใหญ่ที่เป็นที่เข้าใจว่าจะเกิดขึ้นก่อนที่จะมีการปรับ 200,000 ล้านบาท เป็น 300,000 ล้านบาท ตอนนี้ชัดเจนแล้ว ที่ยังดูยากหน่อยคือ ในส่วนของการออกพ.ร.บ. 400,000 ล้านบาท เพราะวุฒิสภาเขาแปรญัตติเยอะ
****มีมาตรการช่วยชนชั้นกลางและผู้เสียภาษีอย่างไร
มาตรการทางภาษีก็มีการลดหย่อนและมีการขยายให้แล้วส่วนหนึ่ง และบริการทั้งหลายผู้เสียภาษีก็ได้รับด้วย เช่น การศึกษา ผู้สูงอายุ ในส่วนของภาษีเงินได้นิติบุคคล จริงๆแล้วเราก็มีแผนที่จะลดอัตราภาษีอยู่แล้ว (จากปัจจุบันจัดเก็บ 30%) แต่บังเอิญมาเจอวิกฤติ ซึ่งคิดว่าหากสถานการณ์เศรษฐกิจดีขึ้นจะลดภาษีแน่ เพื่อให้นิติบุคคลแข่งขันกับประเทศอื่นได้ ส่วนบุคคลธรรมดาก็ขยายเพดานไปตามสถานการณ์ อยากให้มันง่ายขึ้น
รอดูการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ผมว่าถ้าเศรษฐกิจกลับมาสู่ภาวะที่เราเรียกว่าค่อนข้างปกติ เราก็จะเริ่มทำ
***มีความเห็นอย่างไรที่นักเศรษฐศาสตร์เสนอนำเงินทุนสำรองมาใช้กระตุ้นเศรษฐกิจ
ผมคิดว่าจังหวะเวลาไม่น่าจะเดินไปทางนั้น เหตุผลเพราะการกระตุ้นของบเราส่วนใหญ่เป็นการใช้เงินบาท ทุนสำรองเป็นเงินต่างประเทศ ถ้าเอากลับมาทำเป็นเงินบาทก็จะแข็งขึ้นไปอีก
ผมคิดตรงกันข้ามเลย ขณะนี้โครงการที่มีการนำเข้าและเดิมจะไปกู้จากต่างประเทศตามกฎหมายปกติ มีแต่รัฐบาลกำลังทบทวนว่าจะไม่เอาแบบนั้นหรือไม่ เอาเงินบาทแล้วยอมไปแลกเงินต่างประเทศเพื่อที่จะให้ค่าเงินบาทอ่อนลงด้วยซ้ำ มีแต่ไปอีกทางหนึ่ง ไม่ได้คิดเรื่องเงินสำรอง และขณะนี้เมื่อเรามีเครื่องมือของ พ.ร.ก.แล้ว ที่บอกว่าการขาดแคลนเงินที่จะออกมา ผมไม่ได้มองว่ามีปัญหา เงินที่เราดึงออกมาจากตลาด หรือจากสถาบันการเงิน ไม่ว่าจะด้วยการออกพันธบัตรหรือไปกู้ก็ตาม ขณะนี้ยังไม่มีอะไรที่กระทบกับการเข้าถึงแหล่งเงินทุนของภาคเอกชน เพราะสภาพคล่องส่วนเกินเยอะ แต่ถ้าเศรษฐกิจฟื้นขึ้นมาในระดับหนึ่ง อาจจะมีประเด็นก็ค่อยว่ากัน แต่ขณะนี้ยังมองไม่เห็นว่าทำไมจะไปทำอย่างนั้นเพื่อให้เงินบาทแข็ง ส่งออกมีปัญหามากขึ้น และมีเงินในประเทศที่นอนอยู่เฉยๆในระบบธนาคาร ไม่ได้เอาออกมาทำอะไร
***พอใจกับนโยบายดอกเบี้ยเพื่อฟื้นเศรษฐกิจหรือไม่
เขา (แบงก์ชาติ) ทำเยอะแล้ว ไม่เคยเห็นแบงก์ชาติทำเยอะขนาดนี้ ในรอบ 8-9 เดือนที่ผ่านมา เขาลดแรงมาก อย่าใช้คำว่าพอใจ คือ ไม่มีปัญหากัน ปล่อยให้เป็นการดำเนินนโยบายการเงินที่อิสระของแบงก์ชาติที่เข้าใจเป้าหมายร่วมกัน
***มีนักเศรษฐศาสตร์ที่เสนอให้พึ่งเศรษฐกิจภายในประเทศทดแทนส่งออก
ผมก็อยากให้เศรษฐกิจข้างในมันโตขึ้น และมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจส่วนใหญ่ขณะนี้ก็พยายามที่จะสนับสนุนแนวทางนั้นด้วย แต่เส้นแบ่งมันก็บางระหว่างการที่บอกว่าทำอย่างไรให้เศรษฐกิจข้างในโตขึ้นและขณะเดียวกันไม่ไปจำกัดหรือสกัดการส่งออก
ผมคิดว่าโดยข้อเท็จจริงการที่ประเทศของเราจะส่งออกมากหรือน้อย มันไม่ได้เป็นการตัดสินใจของรัฐบาล เป็นการตัดสินใจของเอกชน รัฐบาลทำได้อย่างมากสุดก็ไปเล่นกับอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งผมก็บอกตรงๆขณะนี้ในระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่เป็นอยู่ก็ใช่ว่ารัฐบาลจะทำได้ ผมก็ตอบกับภาคเอกชนตรงๆเลย สมมติว่าวันนี้รัฐบาลอยากให้เงินบาทอยู่ที่ 38 บาททำได้จริงหรือไม่ หรือถ้าบอกว่าไม่อยากให้ส่งออก ก็ง่ายเลย เอาเงินบาทกลับไปอยู่ที่ 25 บาทมั๊ย
1.อยากทำหรือไม่ 2. ถึงอยากทำ ทำได้หรือไม่ ผมก็ว่าทำไม่ได้ เพราะฉะนั้นมันเป็นการตัดสินใจของเอกชน สิ่งที่เราต้องทำมากกว่าก็คือว่า ใครที่ทำเรื่องของการส่งออกพึ่งพิงกับเศรษฐกิจโลกต้องรู้จักบริหารความเสี่ยงมากขึ้น เวลาที่เศรษฐกิจโลกผันผวน มันกระทบแต่มีทางออกในเชิงการบริหารความเสี่ยงของตัวผู้ค้าขายและผู้ส่งออกเอง
และที่สำคัญกว่านั้นก็คือว่า สิ่งที่ผมพยายามทำในเรื่องของการทำระบบสวัสดิการให้เป็นระบบสวัสดิการมากกว่าระบบที่เรียกว่ารัฐบาลช่วยเหลือเฉพาะหน้าครั้งคราว ก็จะเป็นตัวที่ปกป้องคนไทยจากความผันผวนของเศรษฐกิจ แต่ถ้าเราทำให้เศรษฐกิจข้างในโตขึ้น เข้มแข็งขึ้นได้ก็ดี แต่ขนาดของประเทศ เราต้องยอมรับเมื่อเทียบกับโอกาสที่มันมีกับตลาดโลกทั้งโลก ถามว่ามันมีเหตุผลหรือไม่ที่เราจะบิกคนของเราว่าถึงมีโอกาสข้างนอกคุณอย่าไปเลย ในเมื่อมันสร้างรายได้ให้เขาได้ สร้างงานได้ สร้างโอกาสได้ แต่ถ้าระบบเศรษฐกิจทุนนิยม หรือตลาดก็จะผันผวนและมีความถี่ และความรุนแรงในการผันผวนมากขึ้น อันนี้ก็เป็นความจริง
***โครงสร้างของประเทศมีการพูดว่าจะใช้การผลิตที่ใช้แรงงานต่อไปไม่ได้
เห็นด้วย และอันนี้ก็คือเหตุผลที่เราเน้นเรื่องเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ว่าจะต้องเข้ามาเพื่อพึ่งเรื่องการใช้แรงงานน้อยลง และพึ่งเรื่องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติน้อยลง และเราทำเราเน้นทั้งภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการ
ภาคเกษตรขณะนี้คือ เราต้องมุ่งไปสู่การเพิ่มผลผลิตต่อไร่ให้ได้ อุตสาหกรรมก็คือการเพิ่มมูลค่า จะโดยการมียี่ห้อ การออกแบบ และภาคบริการ คือ การปรับปรุงผลิตภัณฑ์หรือกฎกติกาของเราเกี่ยวกับภาคบริการ อันนี้ผมเห็นด้วย 100% ว่าเราต้องลดการพึ่งพิงแรงงาน การพึ่งพิงต้นทุนต่ำ การกินบุญเก่าจากการที่เรามีทรัพยากรธรรมชาติสมบูรณ์
****กลไกที่รัฐจะผลักดันเรื่องเศรษฐกิจสร้างสรรค์
คิดว่าในอดีตก็มีความพยายามทำกันมา ปัญหาคือไม่ได้ทำเชื่อมโยงกัน เช่น บางทีเราก็บอกกรุงเทพเมืองแฟชั่น การตั้งทีซีดีซี แต่ไม่โยงกัน หลักของเราตอนนี้ก็คือเราทำเป็นยุทธศาสตร์ใหญ่ จะมีตัวกลไกเข้ามาประสาน เราปรับปรุงกติกาเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา และหยิบภาคเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องมาโดยตรง เช่น ศิลปวัฒนธรรม โยงไปถึงวิสาหกิจชุมชน เช่น เรื่องสื่อ อุตสาหกรรมบันเทิง ท่องเที่ยว การออกแบบผลิตภัณฑ์ และทำเป็นเรื่องเดียวกัน โยงไปถึงเรื่องงานวิจัย การสนับสนุนที่เป็นระบบ เรื่องทุน ตลาด และกฎกติกา
***ระบบปรับปรุงสวัสดิการจะเป็นแบบรัฐสวัสดิการหรือไม่
ผมหลีกเลี่ยงคำว่ารัฐสวัสดิการ เพราะผมไม่ต้องการให้สื่อว่าต่อไปนี้เราจะเก็บภาษีสูง และเอาเงินมาให้ ระบบที่เราพยายามทำมากที่สุดคือ ระบบที่มีการสมทบ กฎหมายที่กระทรวงการคลังจะเสนอและที่เรากำลังจะไปต่อยอดสวัสดิการชุมชน เป็นระบบที่สมทบทั้งสิ้น คือ ชาวบ้านต้องออกเงินเองด้วยและมีการออมเงินด้วย
แม้กระทั่งระบบสวัสดิการพยาบาลในอนาคตที่ผมกำลังเริ่มต้นให้ศึกษาอยู่ก็จะเป็นระบบที่เป็นลักษณะของบัญชีการออมมากกว่า เป็นระบบสวัสดิการ แต่ผมไม่เรียกว่าเป็นรัฐสวัสดิการ เพราะคนต้องมีส่วนสมทบมีส่วนร่วม เพียงแต่ว่าถ้าคนมีรายได้น้อยหรือคนยากจนอาจได้รับการยกเว้นไม่ต้องสมทบ แม้แต่เรื่องประกันพืชผลในวันข้างหน้าเราก็ยังคิดว่าจะพัฒนาไปในลักษณะของการเก็บเบี้ยได้ ถ้าอยากประกันในส่วนที่สูงกว่าซื้อประกันเพิ่มได้ เป็นการเอาหลักของเรื่องการประกันภัยมาใช้มากขึ้น และระบบสวัสดิการจะผูกพันกับเรื่องการออมด้วย ไม่ใช่เรื่องที่ว่ามารับจากรัฐบาลอย่างเดียว ภาษีจ่ายไป เพราะถ้าผมจะทำเป็นแบบนั้นผมไม่ต้องทำกองทุนออมอะไรเลย ผมก็เพิ่มเบี้ยยังชีพจาก 500 บาท เป็นพันเป็นหมื่น
***การแก้วิกฤติการเมืองปี 2549-ปัจจุบัน
เรื่องความขัดแย้งทางการเมือง มีที่มาถ้านับย้อนหลังไปไม่น่าจะต่ำกว่า 5 ปี เพราะฉะนั้น
มันก็เป็นเรื่องยากที่จะคาดหวังว่า ระยะเวลาสั้นๆก็ดี หรือการทำงานของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งก็ดี ในที่นี้ไม่ได้หมายถึงเฉพาะรัฐบาล แต่หมายถึงรัฐสภาก็ดี จะสามารถปลดเงื่อนไขความขัดแย้งได้
ในส่วนของรัฐบาลหรือรัฐสภาเอง ได้ทำหลายส่วนเพื่อที่จะคลี่คลายสถานการณ์ แต่ไม่สามารถให้คำตอบได้ทั้งหมด
แต่หลักของสังคมในขณะนี้คือ ทำอย่างไรให้คนที่มีความคิดเห็นแตกต่างกันอยู่ร่วมกันได้ ยอมรับกระบวนการ ยอมรับกติกาบางอย่าง เพื่อให้บ้านเมืองเดินไปข้างหน้าได้ ในฐานะรัฐบาลผมก็กำหนดกรอบขอบเขตไว้ชัด คือ ทำให้เห็นว่ารัฐบาลนี้ให้โอกาสคนที่ไม่เห็นด้วยกับรัฐบาล โดยที่ยุคนี้เป็นยุคแรกที่เราถ่ายทอดกระทู้ถามสด ผมว่าผมเป็นนายกฯในรอบ 10 ปี ที่นั่งฟังและตอบปัญหาในสภาด้วยตนเองน่าจะมากที่สุด
บรรยากาศขณะนี้ ถามว่าคนวิตกกังวลหรือไม่ ก็ยังวิตกกังวล แต่อย่างน้อยที่สุดผมก็พิสูจน์ว่า 8 เดือน แสดงให้เห็นว่าการเมืองจะเป็นอย่างไรก็แล้วแต่ แต่มีรัฐบาลที่มีการผลักดันนโยบาย แก้ไขปัญหาของบ้านเมือง ปัญหาของเศรษฐกิจที่เข้าขั้นวิกฤติด้วยซ้ำอย่างต่อเนื่อง ไม่ได้สะดุด ไม่ได้เสียสมาธิ ผมก็กล้าที่จะให้เปรียบเทียบกับตลอดทั้งปีปีที่แล้ว ว่าสภาพของการมีรัฐบาลแตกต่างกันอย่างไร ถ้าทำอย่างนี้ไปอีกสักระยะหนึ่ง ผมว่าสถานการณ์ก็จะเริ่มคลี่คลาย แต่มันไม่หมดหรอก
DON"T EVER GIVE UP YOUR DREAM.....
-
- Verified User
- โพสต์: 4395
- ผู้ติดตาม: 0
New Bull Market confirmed !!!!
โพสต์ที่ 147
มะกันขาดดุลงบ สูงสุด เป็นประวัติการณ์
Pic_40386
ข้อมูล รัฐบาลสหรัฐฯ เผยแพร่เมื่อศุกร์ที่ 16 ต.ค.ระบุว่า งบประมาณของรัฐบาลกลางสหรัฐฯ ประจำปี 2552 จนถึง 30 ก.ย.ท่ี2552 ขาดดุลเป็นประวัติการณ์ถึง 1.42 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ สูงกว่าปีท่ีแล้วกว่า 3 เท่า
สำนักข่าวต่างประเทศรายงานเมื่อวันที่ 17 ต.ค. อ้างข้อมูลของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา เผยแพร่เมื่อศุกร์ที่ 16 ต.ค.ระบุว่า งบประมาณของรัฐบาลกลางสหรัฐอเมริกา ประจำปี 2552 จนถึง 30 ก.ย.ท่ีผ่านมา ขาดดุลเป็นประวัติการณ์ถึง 1.42 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ สูงกว่าปีท่ีแล้วกว่า 3 เท่า สูงท่ีสุดตั้งแต่สงครามโลกครั้งท่ี 2 เป็นต้นมา คิดเป็น 10% ของระบบเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา
รายงานระบุว่า การขาดดุลงบประมาณมหาศาลในปีนี้เกิดจากภาวะเศรษฐกิจถดถอยทำให้จัดเก็บภาษี อากรได้น้อยลง ขณะที่รัฐบาลสหรัฐอเมริกาทุ่มเม็ดเงินมหาศาลเพื่อสร้างเสถียรภาพในระบบการ เงินและเร่ง ฟ้ืนฟูเศรษฐกิจของประเทศ
Pic_40386
ข้อมูล รัฐบาลสหรัฐฯ เผยแพร่เมื่อศุกร์ที่ 16 ต.ค.ระบุว่า งบประมาณของรัฐบาลกลางสหรัฐฯ ประจำปี 2552 จนถึง 30 ก.ย.ท่ี2552 ขาดดุลเป็นประวัติการณ์ถึง 1.42 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ สูงกว่าปีท่ีแล้วกว่า 3 เท่า
สำนักข่าวต่างประเทศรายงานเมื่อวันที่ 17 ต.ค. อ้างข้อมูลของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา เผยแพร่เมื่อศุกร์ที่ 16 ต.ค.ระบุว่า งบประมาณของรัฐบาลกลางสหรัฐอเมริกา ประจำปี 2552 จนถึง 30 ก.ย.ท่ีผ่านมา ขาดดุลเป็นประวัติการณ์ถึง 1.42 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ สูงกว่าปีท่ีแล้วกว่า 3 เท่า สูงท่ีสุดตั้งแต่สงครามโลกครั้งท่ี 2 เป็นต้นมา คิดเป็น 10% ของระบบเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา
รายงานระบุว่า การขาดดุลงบประมาณมหาศาลในปีนี้เกิดจากภาวะเศรษฐกิจถดถอยทำให้จัดเก็บภาษี อากรได้น้อยลง ขณะที่รัฐบาลสหรัฐอเมริกาทุ่มเม็ดเงินมหาศาลเพื่อสร้างเสถียรภาพในระบบการ เงินและเร่ง ฟ้ืนฟูเศรษฐกิจของประเทศ
- LOSO
- Verified User
- โพสต์: 2512
- ผู้ติดตาม: 0
New Bull Market confirmed !!!!
โพสต์ที่ 148
Expert: Despite Mixed News, Economy In Recovery
October 18, 2009
The stock market has been soaring — the Dow's up more than 50 percent since March — yet the unemployment rate is still sky-high, hovering just below 10 percent. And lending to businesses, particularly small ones, remains iced up. Host Guy Raz tries to make sense of what seems to be conflicting economic news by talking with Lakshman Achuthan, managing director of the Economic Cycle Research Institute, which specializes in economic forecasts. Achuthan says the economic indicators he watches show the economy in a relatively standard recovery phase. And he says measures like employment and lending always lag.
From NPR News, this is ALL THINGS CONSIDERED. I'm Guy Raz.
We begin the hour with a simple question: If the economy is starting to crawl back from the brink, why are so few Americans feeling the benefits?
The stock market is up more than 50 percent just since March, and yet unemployment is expected to hit 10 percent at any moment, and things are far worse in places like California and Michigan, still very much in the grip of the economic crisis.
Joining us to help make sense of this weird financial landscape is Lakshman Achuthan. He's the head of the Economic Cycle Research Institute and one of the few analysts who warned about the coming economic crisis early last year.
Mr. Achuthan, welcome to the show.
Mr. LAKSHMAN ACHUTHAN (Managing Director, Economic Cycle Research Institute): Well, thank you.
RAZ: Why is the stock market doing so well? Is it connected in any way to the economy?
Mr. ACHUTHAN: Let's be clear. It is not a measure of economic activity. However, it is closely connected to the economic cycle. And what I mean is it anticipates upswings and downswings in economic growth by a few months.
When we think about the economy as individuals, we think about, you know, how's my job doing, or how's my company doing, and that is very different from the stock market. The stock market is going to move literally a few months, maybe a quarter or two, before those kinds of things, before actual jobs start to move.
RAZ: So the market's like a bellwether, right?
Mr. ACHUTHAN: It is a bellwether, and it makes all kinds of mistakes, to be fair. It gives you these false alarms. So it's very important to see other leading indicators of the economy move alongside the rise in the stock market, and that's what's interesting about the last six months. We are seeing profits growth starting to improve. We are seeing essentially the business cycle has turned the corner. The recession has ended. It still feels bad to individuals and to businesses because we're near the bottom of the business cycle. However, the critical thing - and this is what the stock market is concerned about -we've changed direction.
You're actually seeing things like production. Factories are producing more. People are buying more. It's not even less bad anymore. What we're getting is actual expansion.
RAZ: Well, if on paper, the recession is over…
Mr. ACHUTHAN: Mm-hmm.
RAZ: …why is unemployment so high?
Mr. ACHUTHAN: Let's put this in perspective. It's because we had the worst recession since the 1930s. So, of course, unemployment's going to be up. But it's not even as bad as it might have been. In the last bad recession, it was in the early '80s - in 1981, '82 - we actually unemployment a full percentage point higher than we have now. And it's actually entirely normal for the jobless rate to rise into the early part of a recovery.
There's two basic reasons. One is simple population growth. Every month, the population is growing so fast that you have to produce 125,000 more jobs just to tread water. And the other reason is as the economy improves, people who have been sitting on the sidelines say, you know, now, it's worth it for me to go and hit the pavement and look for a job.
RAZ: One final question for you. There is a credit crisis now, particularly for small businesses in this country, small businesses that are struggling to stay afloat. They simply cannot borrow money from banks because banks are not lending it. Why is that happening?
Mr. ACHUTHAN: Well, you know, the banks have essentially had a near-death or actually a death experience, and they've been brought back to life. So they're completely shell-shocked. They are very scared to loan money, more than even is normal. And actually, this is normal.
Typically, loan growth does not start to revive until many quarters after the recovery has begun. But I think somewhere in the next, say, one to two to three quarters, you'll start to see the loan growth back out to business again.
RAZ: Lakshman Achuthan is the managing director of the Economic Cycle Research Institute. He spoke with us from New York.
Mr. Achuthan, thank you so much.
Mr. ACHUTHAN: Thank you.
October 18, 2009
The stock market has been soaring — the Dow's up more than 50 percent since March — yet the unemployment rate is still sky-high, hovering just below 10 percent. And lending to businesses, particularly small ones, remains iced up. Host Guy Raz tries to make sense of what seems to be conflicting economic news by talking with Lakshman Achuthan, managing director of the Economic Cycle Research Institute, which specializes in economic forecasts. Achuthan says the economic indicators he watches show the economy in a relatively standard recovery phase. And he says measures like employment and lending always lag.
From NPR News, this is ALL THINGS CONSIDERED. I'm Guy Raz.
We begin the hour with a simple question: If the economy is starting to crawl back from the brink, why are so few Americans feeling the benefits?
The stock market is up more than 50 percent just since March, and yet unemployment is expected to hit 10 percent at any moment, and things are far worse in places like California and Michigan, still very much in the grip of the economic crisis.
Joining us to help make sense of this weird financial landscape is Lakshman Achuthan. He's the head of the Economic Cycle Research Institute and one of the few analysts who warned about the coming economic crisis early last year.
Mr. Achuthan, welcome to the show.
Mr. LAKSHMAN ACHUTHAN (Managing Director, Economic Cycle Research Institute): Well, thank you.
RAZ: Why is the stock market doing so well? Is it connected in any way to the economy?
Mr. ACHUTHAN: Let's be clear. It is not a measure of economic activity. However, it is closely connected to the economic cycle. And what I mean is it anticipates upswings and downswings in economic growth by a few months.
When we think about the economy as individuals, we think about, you know, how's my job doing, or how's my company doing, and that is very different from the stock market. The stock market is going to move literally a few months, maybe a quarter or two, before those kinds of things, before actual jobs start to move.
RAZ: So the market's like a bellwether, right?
Mr. ACHUTHAN: It is a bellwether, and it makes all kinds of mistakes, to be fair. It gives you these false alarms. So it's very important to see other leading indicators of the economy move alongside the rise in the stock market, and that's what's interesting about the last six months. We are seeing profits growth starting to improve. We are seeing essentially the business cycle has turned the corner. The recession has ended. It still feels bad to individuals and to businesses because we're near the bottom of the business cycle. However, the critical thing - and this is what the stock market is concerned about -we've changed direction.
You're actually seeing things like production. Factories are producing more. People are buying more. It's not even less bad anymore. What we're getting is actual expansion.
RAZ: Well, if on paper, the recession is over…
Mr. ACHUTHAN: Mm-hmm.
RAZ: …why is unemployment so high?
Mr. ACHUTHAN: Let's put this in perspective. It's because we had the worst recession since the 1930s. So, of course, unemployment's going to be up. But it's not even as bad as it might have been. In the last bad recession, it was in the early '80s - in 1981, '82 - we actually unemployment a full percentage point higher than we have now. And it's actually entirely normal for the jobless rate to rise into the early part of a recovery.
There's two basic reasons. One is simple population growth. Every month, the population is growing so fast that you have to produce 125,000 more jobs just to tread water. And the other reason is as the economy improves, people who have been sitting on the sidelines say, you know, now, it's worth it for me to go and hit the pavement and look for a job.
RAZ: One final question for you. There is a credit crisis now, particularly for small businesses in this country, small businesses that are struggling to stay afloat. They simply cannot borrow money from banks because banks are not lending it. Why is that happening?
Mr. ACHUTHAN: Well, you know, the banks have essentially had a near-death or actually a death experience, and they've been brought back to life. So they're completely shell-shocked. They are very scared to loan money, more than even is normal. And actually, this is normal.
Typically, loan growth does not start to revive until many quarters after the recovery has begun. But I think somewhere in the next, say, one to two to three quarters, you'll start to see the loan growth back out to business again.
RAZ: Lakshman Achuthan is the managing director of the Economic Cycle Research Institute. He spoke with us from New York.
Mr. Achuthan, thank you so much.
Mr. ACHUTHAN: Thank you.
ความพยายามไม่มี ปัญญาไม่เกิด
- Seizhin
- Verified User
- โพสต์: 275
- ผู้ติดตาม: 0
New Bull Market confirmed !!!!
โพสต์ที่ 149
Normal to see a few banks going downhill, while a few others will rise to the top..
With Gold this high, I can expect Oil to soon follow the trend of speculators.. Time for speculating maybe?
Regardless, somebody I know is far more concerned on the after-effect of the rapid recovery, the "hyper-inflation."
With Gold this high, I can expect Oil to soon follow the trend of speculators.. Time for speculating maybe?
Regardless, somebody I know is far more concerned on the after-effect of the rapid recovery, the "hyper-inflation."
-
- Verified User
- โพสต์: 4395
- ผู้ติดตาม: 0
New Bull Market confirmed !!!!
โพสต์ที่ 150
วันที่ 25 ตุลาคม 2552 01:09
ธนาคารในสหรัฐล้มกว่า106แห่งแล้วในปี'52
โดย : กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
แบงก์ในสหรัฐล้มกว่า 106 แห่งแล้ว ในปีนี้ ทำสถิติสูงสุดนับตั้งแต่ปี"35 ผลพวงวิกฤติแฮมเบอร์เกอร์
ธนาคารสหรัฐอีก 7 แห่งถูกทางการประกาศให้ล้มไปเมื่อวันที่ 23 ต.ค.ที่
ผ่านมา ทำให้จำนวนธนาคารในสหรัฐที่ล้มทั้งหมดในปีนี้มีทั้งสิ้น 106
แห่ง ซึ่งสูงที่สุดนับตั้งแต่ปี 2535 โดยธนาคารที่ตกเป็นเหยื่อภาวะการถด
ถอยทางเศรษฐกิจที่ยาวนานที่สุดนับตั้งแต่ ยุค 30 เป็นธนาคารระดับท้อง
ถิ่นในรัฐฟลอริด้า, จอร์เจีย, มินเนโซต้า, วิสคอนซิล และอิลลินอยส์
โดยหลังการล้มลงของธนาคารเพื่อการลงทุนที่อยู่ในตลาดหุ้นวอลสตรีท
รวมทั้งมาตรการอุ้มธนาคารเหล่านี้ของทางการสหรัฐ ซึ่งถูกวิพากษ์
วิจารณ์อย่างหนัก ปรากฏว่าธนาคารที่ล้มในปีนี้ส่วนใหญ่ต่างก็เป็นธนาคาร
ขนาดเล็ก ธนาคารระดับท้องถิ่นและระดับภูมิภาคทั้งสิ้น
ธนาคารลำดับ 100 ที่ล้มคือธนาคารพาร์ตเนอร์ เมืองเนเปิ้ล ของฟลอริ
ด้า ซึ่งมีสินทรัพย์ 66 ล้านดอลลาร์ ซึ่งถูกเทคโอเวอร์โดยธนาคารสโตน
เกต จากการสนับสนุนของรัฐบาลฟลอริด้า ส่วนรายอื่นๆที่ล้มก็มีธนาคาร
อเมริกัน ยูไนเต็ด เมืองลอเรนซ์วิลล์ รัฐจอร์เจียที่มีสินทรัพย์ 111 ล้าน
ดอลลาร์ นอกจากนั้นก็มีธนาคารแฟล็กชิพ เนชั่นนัล รัฐฟลอริด้า, ธนาคาร
ริเวอร์วิว คอมมิวนิตี้ รัฐมินเนโซต้า, ธนาคาร เอล์มวู้ด รัฐวิสคอนซิล และ
ธนาคารดูเพจ รัฐอิลลินอยส์
Tags : ธนาคารสหรัฐ
ธนาคารในสหรัฐล้มกว่า106แห่งแล้วในปี'52
โดย : กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
แบงก์ในสหรัฐล้มกว่า 106 แห่งแล้ว ในปีนี้ ทำสถิติสูงสุดนับตั้งแต่ปี"35 ผลพวงวิกฤติแฮมเบอร์เกอร์
ธนาคารสหรัฐอีก 7 แห่งถูกทางการประกาศให้ล้มไปเมื่อวันที่ 23 ต.ค.ที่
ผ่านมา ทำให้จำนวนธนาคารในสหรัฐที่ล้มทั้งหมดในปีนี้มีทั้งสิ้น 106
แห่ง ซึ่งสูงที่สุดนับตั้งแต่ปี 2535 โดยธนาคารที่ตกเป็นเหยื่อภาวะการถด
ถอยทางเศรษฐกิจที่ยาวนานที่สุดนับตั้งแต่ ยุค 30 เป็นธนาคารระดับท้อง
ถิ่นในรัฐฟลอริด้า, จอร์เจีย, มินเนโซต้า, วิสคอนซิล และอิลลินอยส์
โดยหลังการล้มลงของธนาคารเพื่อการลงทุนที่อยู่ในตลาดหุ้นวอลสตรีท
รวมทั้งมาตรการอุ้มธนาคารเหล่านี้ของทางการสหรัฐ ซึ่งถูกวิพากษ์
วิจารณ์อย่างหนัก ปรากฏว่าธนาคารที่ล้มในปีนี้ส่วนใหญ่ต่างก็เป็นธนาคาร
ขนาดเล็ก ธนาคารระดับท้องถิ่นและระดับภูมิภาคทั้งสิ้น
ธนาคารลำดับ 100 ที่ล้มคือธนาคารพาร์ตเนอร์ เมืองเนเปิ้ล ของฟลอริ
ด้า ซึ่งมีสินทรัพย์ 66 ล้านดอลลาร์ ซึ่งถูกเทคโอเวอร์โดยธนาคารสโตน
เกต จากการสนับสนุนของรัฐบาลฟลอริด้า ส่วนรายอื่นๆที่ล้มก็มีธนาคาร
อเมริกัน ยูไนเต็ด เมืองลอเรนซ์วิลล์ รัฐจอร์เจียที่มีสินทรัพย์ 111 ล้าน
ดอลลาร์ นอกจากนั้นก็มีธนาคารแฟล็กชิพ เนชั่นนัล รัฐฟลอริด้า, ธนาคาร
ริเวอร์วิว คอมมิวนิตี้ รัฐมินเนโซต้า, ธนาคาร เอล์มวู้ด รัฐวิสคอนซิล และ
ธนาคารดูเพจ รัฐอิลลินอยส์
Tags : ธนาคารสหรัฐ