ทำไมการลดparถึงเป็นการลดหนี้สะสม
-
- Verified User
- โพสต์: 51
- ผู้ติดตาม: 0
ทำไมการลดparถึงเป็นการลดหนี้สะสม
โพสต์ที่ 1
ผมไม่เข้าใจว่า การลด Par ของหุ้น TMB จาก 10บาท เป็น 0.95 ถึงเป็นการลดหนี้สะสม จนทำให้ มีการจ่ายปันผลเกิดขึ้น
ในความเข้าใจของผม การลด Par ก็เหมือนการเพิ่มสภาพคล่อง แต่ก็ไม่เข้าใจว่าทำไม หนี้ที่ TMB มีเป็นแสนล้านถึงหายไปด้วย
รบกวนท่านผู้รู้ ช่วยขยายความให้ทีครับ
ขอบพระคุณมากครับ
ในความเข้าใจของผม การลด Par ก็เหมือนการเพิ่มสภาพคล่อง แต่ก็ไม่เข้าใจว่าทำไม หนี้ที่ TMB มีเป็นแสนล้านถึงหายไปด้วย
รบกวนท่านผู้รู้ ช่วยขยายความให้ทีครับ
ขอบพระคุณมากครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 848
- ผู้ติดตาม: 0
ทำไมการลดparถึงเป็นการลดหนี้สะสม
โพสต์ที่ 3
พาร์ทำให้เรารู้มูลค่าต่อหน่วยของหุ้นตอนจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์
เช่น 10 บาท, 1 บาท
ก็คล้ายกับว่าบริษัทมีทุนจดทะเบียนเท่าไหร่นั่นเอง
ทีนี้กรณีของ TMB
ในส่วน Equity
มีขาดทุนสะสมอยู่ รวมถึงส่วนต่ำมูลค่าหุ้น (ที่เกิดจากการออกหุ้นใหม่แล้วขายได้ต่ำกว่าราคาพาร์ ซึ่งคือ 10 บาท)
ดังนั้นการลดพาร์ ก็เป็นการล้างทั้งสองส่วนนี้ ด้วยทุนจดทะเบียน
Shareholder เก่าๆที่ซื้อหุ้นเพิ่มทุน ซึ่งขายที่ราคาพาร์ ก็จะโดน Dilute นั่นเอง
เช่น 10 บาท, 1 บาท
ก็คล้ายกับว่าบริษัทมีทุนจดทะเบียนเท่าไหร่นั่นเอง
ทีนี้กรณีของ TMB
ในส่วน Equity
มีขาดทุนสะสมอยู่ รวมถึงส่วนต่ำมูลค่าหุ้น (ที่เกิดจากการออกหุ้นใหม่แล้วขายได้ต่ำกว่าราคาพาร์ ซึ่งคือ 10 บาท)
ดังนั้นการลดพาร์ ก็เป็นการล้างทั้งสองส่วนนี้ ด้วยทุนจดทะเบียน
Shareholder เก่าๆที่ซื้อหุ้นเพิ่มทุน ซึ่งขายที่ราคาพาร์ ก็จะโดน Dilute นั่นเอง
-
- Verified User
- โพสต์: 18364
- ผู้ติดตาม: 1
ทำไมการลดparถึงเป็นการลดหนี้สะสม
โพสต์ที่ 6
การลดพาร์ในกรณีนี้
จำนวนเงินที่ลดลงนั้นเอาไปหักกับขาดทุนสะสมเป็นหลักคร้าบ
เพื่อที่ให้บริษัทสามารถจ่ายปันผลได้เร็วขึ้น
กรณีเคยเกิดขึ้นแล้วคร้าบ สมัยก่อน ธนาคารที่เริ่มเป็นคนแรกคือ KTB
คนต่อไปที่น่าทำคือ BMCL กับ BTS
เพราะทั้งคู่ขาดทุนสะสมจำนวนมหาศาล
แต่ BMCL กิจการยังไม่สามารถทำเงินสดจากการดำเนินงานได้
แต่ BTS สามารถทำเงินสดจากการดำเนินงานได้
และมีการเรียกเพิ่มทุนเพิ่ม ดังนั้นน่ามีแรงกดดันจากนักลงทุน
ที่ต้องการเห็นบริษัทเริ่มจ่ายปันผลได้
จำนวนเงินที่ลดลงนั้นเอาไปหักกับขาดทุนสะสมเป็นหลักคร้าบ
เพื่อที่ให้บริษัทสามารถจ่ายปันผลได้เร็วขึ้น
กรณีเคยเกิดขึ้นแล้วคร้าบ สมัยก่อน ธนาคารที่เริ่มเป็นคนแรกคือ KTB
คนต่อไปที่น่าทำคือ BMCL กับ BTS
เพราะทั้งคู่ขาดทุนสะสมจำนวนมหาศาล
แต่ BMCL กิจการยังไม่สามารถทำเงินสดจากการดำเนินงานได้
แต่ BTS สามารถทำเงินสดจากการดำเนินงานได้
และมีการเรียกเพิ่มทุนเพิ่ม ดังนั้นน่ามีแรงกดดันจากนักลงทุน
ที่ต้องการเห็นบริษัทเริ่มจ่ายปันผลได้