ใครรู้บ้างว่าดอกเบื้ย r/p 14วันคืออะไรช่วยอธิบายให้หน่อย
- Tongue
- Verified User
- โพสต์: 725
- ผู้ติดตาม: 0
ใครรู้บ้างว่าดอกเบื้ย r/p 14วันคืออะไรช่วยอธิบายให้หน่อย
โพสต์ที่ 2
ผมไม่แน่ใจ ว่าย่อมาจาก repo หรือเปล่านะครับ
แต่เป็น อัตราดอกเบี้นที่แบงค์ชาติใช้ส่งสัญญาณ ให้ธนาคารพาณิชย์ทราบว่า
แบงค์ชาติมีนโยบายอย่างไร
ปล. ธนาคารพาณิชย์อาจปรับตามหรือไม่ก็ได้ แต่ส่วนใหญ่จะตาม
แต่เป็น อัตราดอกเบี้นที่แบงค์ชาติใช้ส่งสัญญาณ ให้ธนาคารพาณิชย์ทราบว่า
แบงค์ชาติมีนโยบายอย่างไร
ปล. ธนาคารพาณิชย์อาจปรับตามหรือไม่ก็ได้ แต่ส่วนใหญ่จะตาม
-
- Verified User
- โพสต์: 3763
- ผู้ติดตาม: 0
ใครรู้บ้างว่าดอกเบื้ย r/p 14วันคืออะไรช่วยอธิบายให้หน่อย
โพสต์ที่ 3
repo rate ถูกต้องแล้วครับ เป็นดอกเบี้ยที่ใช้กันในระยะสั้นแบบ 14 วัน ถามว่าทำไมต้อง 14 วันก็เพราะเค้าถือว่า free risk สุดๆ แล้วครับ ถือว่าเป็น norm ก็ได้เทียบได้กับ fed fund rate ของ US
Impossible is Nothing
-
- ผู้ติดตาม: 0
ใครรู้บ้างว่าดอกเบื้ย r/p 14วันคืออะไรช่วยอธิบายให้หน่อย
โพสต์ที่ 4
อยากกู้ได้ดอกเบี้ย R/P ต้องกู้ยังไงคับ ... สงสัย
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 9795
- ผู้ติดตาม: 0
ใครรู้บ้างว่าดอกเบื้ย r/p 14วันคืออะไรช่วยอธิบายให้หน่อย
โพสต์ที่ 5
R/P 14 คือ repurchase rate สำหรับ 14 days ครับ บางทีเรียกว่า Repo Rate
เป็นอัตราดอกเบี้ยกลางสำหรับสัญญาธุรกรรมซื้อและซื้อคืนพันธบัตรภายใน
ระยะเวลา 14 วัน (จริงๆ แล้วมีหลาย rate เช่น 1 วัน 7 วัน 14 วัน 1 เดือน ฯลฯ)
ซึ่งเป็นอัตราแลกเปลี่ยนที่แบงก์กับแบงก์ใช้ในการตกลงซื้อขายกัน โดยได้รับ
การค้ำประกันจากกระทรวงการคลัง (จึงสามารถใช้เป็นอัตราดอกเบี้ยกลางได้)
และสะท้อนถึง "ต้นทุน" ของแบงก์ในกู้ยืมเงินในระยะสั้น (เผื่อขาดเงินสด)
ซึ่ง มักจะเป็นผลต่อเนื่องมาจากสภาพคล่องในระบบด้วย
14 วันเป็นระยะเวลาปานกลาง ซึ่งเพียงพอที่จะใช้ในการบริหารเงิน (มั้ง)
เหตุผลที่ risk-free เพราะ กระทรวงการคลังค้ำประกันทั้งเงินต้นและดอกเบี้ยครับ
ไม่ใช่เพราะ 14 วัน
ถ้าอยากกู้ได้ดอกเบี้ย R/P ต้องขอไลเซ้นส์แบงก์ก่อนครับ และมีการซื้อพันธบัตร
(รัฐบาล) ไว้ด้วย
http://www.bot.or.th/bothomepage/databa ... Rate_e.htm
เป็นอัตราดอกเบี้ยกลางสำหรับสัญญาธุรกรรมซื้อและซื้อคืนพันธบัตรภายใน
ระยะเวลา 14 วัน (จริงๆ แล้วมีหลาย rate เช่น 1 วัน 7 วัน 14 วัน 1 เดือน ฯลฯ)
ซึ่งเป็นอัตราแลกเปลี่ยนที่แบงก์กับแบงก์ใช้ในการตกลงซื้อขายกัน โดยได้รับ
การค้ำประกันจากกระทรวงการคลัง (จึงสามารถใช้เป็นอัตราดอกเบี้ยกลางได้)
และสะท้อนถึง "ต้นทุน" ของแบงก์ในกู้ยืมเงินในระยะสั้น (เผื่อขาดเงินสด)
ซึ่ง มักจะเป็นผลต่อเนื่องมาจากสภาพคล่องในระบบด้วย
14 วันเป็นระยะเวลาปานกลาง ซึ่งเพียงพอที่จะใช้ในการบริหารเงิน (มั้ง)
เหตุผลที่ risk-free เพราะ กระทรวงการคลังค้ำประกันทั้งเงินต้นและดอกเบี้ยครับ
ไม่ใช่เพราะ 14 วัน
ถ้าอยากกู้ได้ดอกเบี้ย R/P ต้องขอไลเซ้นส์แบงก์ก่อนครับ และมีการซื้อพันธบัตร
(รัฐบาล) ไว้ด้วย
http://www.bot.or.th/bothomepage/databa ... Rate_e.htm
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 9795
- ผู้ติดตาม: 0
ใครรู้บ้างว่าดอกเบื้ย r/p 14วันคืออะไรช่วยอธิบายให้หน่อย
โพสต์ที่ 6
ส่วนประเด็นเรื่องแบงก์จะใช้ rate นี้หรือไม่ ก็เป็นเรื่องระหว่างสองแบงก์ที่
ทำธุรกรรมกันครับ แต่กระทรวงการคลังจะค้ำแค่ตาม rate นี้เท่านั้น
โดยปกติเมื่อแบงก์ชาติปรับ rate นี้ขึ้น มักจะทำให้ต้นทุนของแบงก์ขึ้น
ตามไปด้วย (สำหรับการบริหารเงินระยะสั้น) ทำให้แบงก์ที่ขาดสภาพคล่อง
จำต้องขึ้นอัตราดอกเบี้ย
ทำธุรกรรมกันครับ แต่กระทรวงการคลังจะค้ำแค่ตาม rate นี้เท่านั้น
โดยปกติเมื่อแบงก์ชาติปรับ rate นี้ขึ้น มักจะทำให้ต้นทุนของแบงก์ขึ้น
ตามไปด้วย (สำหรับการบริหารเงินระยะสั้น) ทำให้แบงก์ที่ขาดสภาพคล่อง
จำต้องขึ้นอัตราดอกเบี้ย