อยากถามวิธีคิด DFC โดยใช้ WACC หน่อยครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 3
- ผู้ติดตาม: 0
อยากถามวิธีคิด DFC โดยใช้ WACC หน่อยครับ
โพสต์ที่ 1
คือตอนนี้ผมกำลังต้องการประเมินมูลค่าหุ้นของ ITV อยู่อ่ะครับ
พอดีว่าทาง ITV ยังไม่มีการจ่ายเงินปันผล เลยต้องใช้วิธี DCF
แต่พอไปอ่านพวกบทวิเคราะห์ก็เลยงงๆ ว่าไอ้ WACC คืออะไร แล้วทำไมบางคนบอก WACC แค่ 4.5% บางคนบอก 10% ทำไมมันต่างกันได้ขนาดนั้น
ยังไงช่วยไขข้อข้องใจด้วยนะครับ จะเป็นพระคุณอย่างสูง
พอดีว่าทาง ITV ยังไม่มีการจ่ายเงินปันผล เลยต้องใช้วิธี DCF
แต่พอไปอ่านพวกบทวิเคราะห์ก็เลยงงๆ ว่าไอ้ WACC คืออะไร แล้วทำไมบางคนบอก WACC แค่ 4.5% บางคนบอก 10% ทำไมมันต่างกันได้ขนาดนั้น
ยังไงช่วยไขข้อข้องใจด้วยนะครับ จะเป็นพระคุณอย่างสูง
- สุมาอี้
- Verified User
- โพสต์: 4576
- ผู้ติดตาม: 0
อยากถามวิธีคิด DFC โดยใช้ WACC หน่อยครับ
โพสต์ที่ 2
คือค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ cost of debt กับ cost of equity ของบริษัทนั้นๆ ครับ
WACC = Wd * Kd * (1-T) + We * Ke
หา DCF แล้วได้เท่าไร นำมาแชร์ให้ฟังบ้างนะครับ
WACC = Wd * Kd * (1-T) + We * Ke
หา DCF แล้วได้เท่าไร นำมาแชร์ให้ฟังบ้างนะครับ
http://dekisugi.net
ไม่ค่อยได้เช็ค PM เลยครับ ต้องการติดต่อผม อีเมลไปที่ [email protected] จะชัวร์กว่าครับ
ไม่ค่อยได้เช็ค PM เลยครับ ต้องการติดต่อผม อีเมลไปที่ [email protected] จะชัวร์กว่าครับ
- Tongue
- Verified User
- โพสต์: 725
- ผู้ติดตาม: 0
อยากถามวิธีคิด DFC โดยใช้ WACC หน่อยครับ
โพสต์ที่ 3
wacc ก็คือ weighted average cost of capital
ก็เอา cost of debt กับ cost of equity มา weight กันครับ
ก็เอา cost of debt กับ cost of equity มา weight กันครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 194
- ผู้ติดตาม: 0
อยากถามวิธีคิด DFC โดยใช้ WACC หน่อยครับ
โพสต์ที่ 5
หนังสือ coporate Finance ทั่วไปครับ มีเยอะ
หลักการเดียวกับการคิด NPV นั่นแหละครับ
แต่การที่จะ project cash flow นานๆล่วงหน้ามันยากมาก ดังนั้นไม่ควรใช้เกิน 10-15 ปีครับ
ปกติการใช้หลัก DCF ในการ valuation ของ stock นั้น การกำหนด discount rate เป็นสิ่งสำคัญมากๆ เนื่องจาก corporate Value จะสามารถต่างกันได้มหาศาล เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงค่า discount return (WACC)
จากสูตรท่าน สุมาอี้ นั้นถูกต้องแล้ว จะขยายความต่อว่า
cost of capital นั้นก็มีวิธีการหามาอีกต่อหนึ่ง ซึ่งสรุปได้ดังนี้
1. Dividend growth model = เงินปันผลสูงขึ้นเป็นอัตราส่วนที่แน่นอน
เอาเงินปันผลล่าสุดมาคูณ % สูงขึ้นทุกๆปี ไปเรื่อยๆ
2. Capital Asset Pricing Model = เกิดจากการประมาณค่าความเสี่ยงของธุรกิจ และ risk free investment ( T-bill)
สูตรคือ
Re = Rf + Be ( Rm-Rf)
Rf = risk free rate
Be = Beta เทียบกับหุ้นตัวอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกัน
Rm-Rf = Market risk premium
ส่วนที่สองคือ cost of debt มันง่ายครับ ก็ weight จากอัตราดอกเบี้ยเงินกู้รึกัน
อธิบายมากกว่านี้เดี๋ยวจะเป็น course Coporate Finance ไปซะครับ :P
หลักการเดียวกับการคิด NPV นั่นแหละครับ
แต่การที่จะ project cash flow นานๆล่วงหน้ามันยากมาก ดังนั้นไม่ควรใช้เกิน 10-15 ปีครับ
ปกติการใช้หลัก DCF ในการ valuation ของ stock นั้น การกำหนด discount rate เป็นสิ่งสำคัญมากๆ เนื่องจาก corporate Value จะสามารถต่างกันได้มหาศาล เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงค่า discount return (WACC)
จากสูตรท่าน สุมาอี้ นั้นถูกต้องแล้ว จะขยายความต่อว่า
cost of capital นั้นก็มีวิธีการหามาอีกต่อหนึ่ง ซึ่งสรุปได้ดังนี้
1. Dividend growth model = เงินปันผลสูงขึ้นเป็นอัตราส่วนที่แน่นอน
เอาเงินปันผลล่าสุดมาคูณ % สูงขึ้นทุกๆปี ไปเรื่อยๆ
2. Capital Asset Pricing Model = เกิดจากการประมาณค่าความเสี่ยงของธุรกิจ และ risk free investment ( T-bill)
สูตรคือ
Re = Rf + Be ( Rm-Rf)
Rf = risk free rate
Be = Beta เทียบกับหุ้นตัวอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกัน
Rm-Rf = Market risk premium
ส่วนที่สองคือ cost of debt มันง่ายครับ ก็ weight จากอัตราดอกเบี้ยเงินกู้รึกัน
อธิบายมากกว่านี้เดี๋ยวจะเป็น course Coporate Finance ไปซะครับ :P