ค่าเงินบาทจะไปไหนในทิศทางไหน ตามความเห็นชาว Thaivi
-
- Verified User
- โพสต์: 1992
- ผู้ติดตาม: 0
ค่าเงินบาทจะไปไหนในทิศทางไหน ตามความเห็นชาว Thaivi
โพสต์ที่ 2
ค่าบาทมันแข็งขึ้นก็เพราะ Fund flow
เข้ามาเล่นหุ้น เพราะเขาต้องการหากำไร ปั่นขึ้นไปสูง ๆ แล้วขายฟันกำไรสองต่อ (ส่วนต่างราคาหุ้น + ค่าเงิน)
พอ flow ออกไป ค่าก็อ่อนเอง (พร้อม ๆ กับ SET ที่จะย่อตัวลง)
เข้ามาเล่นหุ้น เพราะเขาต้องการหากำไร ปั่นขึ้นไปสูง ๆ แล้วขายฟันกำไรสองต่อ (ส่วนต่างราคาหุ้น + ค่าเงิน)
พอ flow ออกไป ค่าก็อ่อนเอง (พร้อม ๆ กับ SET ที่จะย่อตัวลง)
- tachikoma
- Verified User
- โพสต์: 140
- ผู้ติดตาม: 0
ค่าเงินบาทจะไปไหนในทิศทางไหน ตามความเห็นชาว Thaivi
โพสต์ที่ 4
ความเห็นนะครับ
ผมได้ข้อมูลจาก 2 แหล่งครับ
แหล่งแรก เหมือนกับพี่ mprandy และบอกว่าสาเหตุที่เงินบาทแข็งขึ้น เพราะหนี้ของเราน้อยลง ต่างประเทศเลยมองว่ามีเสถียรภาพมากขึ้น
แหล่งที่ 2 บอกว่าความเชื่อมั่นนักลงทุนน้อยลง ประกอบกับการพัฒนาของประเทศข้างเคียง บวกกับนโยบายของหลายๆ ประเทศที่เปลี่ยนเงินสำรองไปถือเงินสกุลอื่นนอกจากดอลล่าห์ บางประเทศเปลี่ยนเป็นยูโร นอกจากนี้หลายประเทศเปลี่ยนไปสำรองน้ำมันแทนทองคำ และเงินตราต่างประเทศ เป็นผลให้ค่าเงินน่าจะอ่อนลงสำหรับประเทศที่สำรองเงินดอล
รวมแล้วๆ น่าคงน่าจะอ่อนตัวลงครับ
ช่วงนี้ที่แข็งตัวขึ้นเพราะเงินไหลเข้าตลาดหุ้นอยู่ ดูจากยอดซื้อวันละ 3-4 พันล้านจากนักลงทุนต่างชาติ
ที่ผมกลัวคือ ตอนนี้รัฐบาลเรากำลังควบคุมค่าเงินบาท โดยคุมไม่ให้เงินบาทแข็งเกินไป วิธีลดค่าเงินบาท ก็คือพยายามทำให้้เงินบาท Oversupply เป็นสาเหตุที่ทำให้พวกกองทุน Hedge มองว่าสามารถซื้อเงินบาทได้ต่ำกว่ามูลค่าจริง ผมคาดว่าเขาแลกเงินไทยแล้วก็เข้ามาช้อนหุ้น เมื่อปันผลแล้ว หรือราคาขึ้นไปสูงพอ ประกอบกับประเทศเราเงินหมดหน้าตักที่จะทำให้ค่าเงินบาทอ่อนตัว เขาก็จะเอาเงินออกไปในจังหวะที่เงินบาท UnderSupply พอเขาถอนตัวออกหมด ก็จะมีหลายคนติดดอย เงินในแบงค์ชาติก็โบ๋เบ๋ เงินบาทก็จะอ่อนตัวลงเอง เพราะ Oversupply
(ความเห็นนะครับ ไม่คิดเหมือนกันว่าจะเลยเถิดขนาดนั้น)
ผมได้ข้อมูลจาก 2 แหล่งครับ
แหล่งแรก เหมือนกับพี่ mprandy และบอกว่าสาเหตุที่เงินบาทแข็งขึ้น เพราะหนี้ของเราน้อยลง ต่างประเทศเลยมองว่ามีเสถียรภาพมากขึ้น
แหล่งที่ 2 บอกว่าความเชื่อมั่นนักลงทุนน้อยลง ประกอบกับการพัฒนาของประเทศข้างเคียง บวกกับนโยบายของหลายๆ ประเทศที่เปลี่ยนเงินสำรองไปถือเงินสกุลอื่นนอกจากดอลล่าห์ บางประเทศเปลี่ยนเป็นยูโร นอกจากนี้หลายประเทศเปลี่ยนไปสำรองน้ำมันแทนทองคำ และเงินตราต่างประเทศ เป็นผลให้ค่าเงินน่าจะอ่อนลงสำหรับประเทศที่สำรองเงินดอล
รวมแล้วๆ น่าคงน่าจะอ่อนตัวลงครับ
ช่วงนี้ที่แข็งตัวขึ้นเพราะเงินไหลเข้าตลาดหุ้นอยู่ ดูจากยอดซื้อวันละ 3-4 พันล้านจากนักลงทุนต่างชาติ
ที่ผมกลัวคือ ตอนนี้รัฐบาลเรากำลังควบคุมค่าเงินบาท โดยคุมไม่ให้เงินบาทแข็งเกินไป วิธีลดค่าเงินบาท ก็คือพยายามทำให้้เงินบาท Oversupply เป็นสาเหตุที่ทำให้พวกกองทุน Hedge มองว่าสามารถซื้อเงินบาทได้ต่ำกว่ามูลค่าจริง ผมคาดว่าเขาแลกเงินไทยแล้วก็เข้ามาช้อนหุ้น เมื่อปันผลแล้ว หรือราคาขึ้นไปสูงพอ ประกอบกับประเทศเราเงินหมดหน้าตักที่จะทำให้ค่าเงินบาทอ่อนตัว เขาก็จะเอาเงินออกไปในจังหวะที่เงินบาท UnderSupply พอเขาถอนตัวออกหมด ก็จะมีหลายคนติดดอย เงินในแบงค์ชาติก็โบ๋เบ๋ เงินบาทก็จะอ่อนตัวลงเอง เพราะ Oversupply
(ความเห็นนะครับ ไม่คิดเหมือนกันว่าจะเลยเถิดขนาดนั้น)
- สุมาอี้
- Verified User
- โพสต์: 4576
- ผู้ติดตาม: 0
ค่าเงินบาทจะไปไหนในทิศทางไหน ตามความเห็นชาว Thaivi
โพสต์ที่ 5
40 ไม่มีวันได้เห็นอีกแล้วครับ ฟันธง
http://dekisugi.net
ไม่ค่อยได้เช็ค PM เลยครับ ต้องการติดต่อผม อีเมลไปที่ [email protected] จะชัวร์กว่าครับ
ไม่ค่อยได้เช็ค PM เลยครับ ต้องการติดต่อผม อีเมลไปที่ [email protected] จะชัวร์กว่าครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
ใช้คืนหนี้ imf สิ
โพสต์ที่ 8
รัฐบาลน่าจะช่วยโอกาสตอนนี้ รีบใช้คืนหนี้ ไอเอ็มเอฟนะครับ ได้ประโยชน์หลายต่อ ทั้งรักษาอัตราแลกเปลี่ยนไม่ให้แข็งเกินและปลดหนี้ด้วย ผมว่าน่าจะแฮปปี้นะ
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
จริงดิ
โพสต์ที่ 10
จริงๆเหรอครับ คลับคล้าย ว่ายังเห็นผ่านตาแวบๆอยู่เลยครับตอนดูงบประมาณเมื่อ49 แหมหากว่าหมดจริงก็ถือว่าดี แต่เท่าที่ทราบยังตั้งงบใช้หนี้เขาอยู่เลย อ่ะ :lol:kongkang เขียน:เราใช้หนี้ไอเอ็มเอ็ฟหมดแล้วไม่ใช่หรือคะ ตั้งแต่ยุครัฐบาลทักษิณ
- tachikoma
- Verified User
- โพสต์: 140
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ใช้คืนหนี้ imf สิ
โพสต์ที่ 11
ผมสงสัยอย่างครับพี่ ทำไมคนไทยชอบกู้เงินตอนค่าเงินบาทแข็ง คืนเงินตอนค่าเงินบาทอ่อนอ่าครับchartchai madman เขียน:รัฐบาลน่าจะช่วยโอกาสตอนนี้ รีบใช้คืนหนี้ ไอเอ็มเอฟนะครับ ได้ประโยชน์หลายต่อ ทั้งรักษาอัตราแลกเปลี่ยนไม่ให้แข็งเกินและปลดหนี้ด้วย ผมว่าน่าจะแฮปปี้นะ
แล้วทำไมตอนค่าเงินบาทแข็งถึงไม่สนับสนุนให้ลงทุนในต่างประเทศกัน?
ทุกอย่างให้ภาคเอกชนตะเกียกตะกายทำเอาเอง
- odacroniandevil
- Verified User
- โพสต์: 101
- ผู้ติดตาม: 0
ค่าเงินบาทจะไปไหนในทิศทางไหน ตามความเห็นชาว Thaivi
โพสต์ที่ 12
อะไรคือ 40 ครับ ผมไม่เข้าใจอะคับสุมาอี้ เขียน:40 ไม่มีวันได้เห็นอีกแล้วครับ ฟันธง
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 2273
- ผู้ติดตาม: 0
ค่าเงินบาทจะไปไหนในทิศทางไหน ตามความเห็นชาว Thaivi
โพสต์ที่ 15
คงยาก เพราะตอนนี้ตัวประเทศก็แข็งแกร่งดีtachikoma เขียน: ถ้าติดหนี้ IMF อีกรอบผมว่าได้เห็นครับ
ไม่ได้เป็นหนี้ หรือกู้มาลงทุนจนเกินตัวเหมือนตอนก่อน วิกฤต
เพียงแต่เรายังติดว่าประเทศต้องโตมากๆเหมือนในอดีต
โดยลืมไปว่าประเทศที่เค้ามีศักยภาพมากกว่าเค้ามาตีตลาด
เงินบาทคงแข็งไปเรื่อยๆ เพราะว่าเราซื้อของมาแล้วมาทำมูลค่าเพิ่ม
โดยที่อาจจะใช้ทรัพยากรธรรมชาติของเรา หรือแรงงานแล้วก็ขายออกในราคาที่ดีกว่า
ขณะที่เรานำเข้าน้อยกว่ามาก
ตอนนี้อัตรานำเข้าต่อส่งออก ก็ประมาณ 1/4 ต่อ 1/5 จากเรือตู้ที่ผมดูอยู่
ดังนันเศรษฐกิจเราก็โตขึ้นเรื่อยๆ เพราะมีแต่เงินเข้ามาไม่ค่อยมีออกไป
เหมือนเรารวยขึ้นแต่คนก็ยังไม่กล้าใช้
เหมือนบริษัทรวยแต่ผู้บริหารทะเลาะกันตลอดเลย เงินส่วนกลางของบริษัท
ก็เลยไม่ได้ใช้พัฒนาบริษัท พนักงานก็ไม่มั่นใจอนาคตเก็บเงินไว้เพียบ ไม่กล้าใช้ :lol:
เมื่อไหร่ที่เงินเราแข็งมากเกิน เดี๋ยวก็ import เข้ามาเอง
ซึ่งต้องใช้เวลา
เพียงแต่สินค้าของเราที่เคยมีเป็นจุดแข็งราคาถูกก็อาจไม่ใช่จุดแข็งอีกต่อไป
เราก็ต้องหารายได้ส่งออกในรูปแบบอื่น
ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วเกินไปนี้อาจทำให้บริษัทในเมืองไทยยังปรับตัวไม่ทันครับ
ในความคิดของผม ผมว่าเราคงเห็นบริษัทส่งออกที่เป็นรูปแบบเก่าและไม่ได้มีเทคโนโลยี่เป็นของตัวเองปิดตัวลงเรือ่ยๆครับ
ส่วนบาทก็ยังคงแข็งต่อไปจนกว่าคนในประเทศจะเริ่มกล้าใช้เงิน และลงทุนเพิ่มครับ
การลงทุนคือความเสี่ยง
แต่ความเสี่ยงสูงคือ ไม่รุ้ว่าอะไรคือจุดชี้เป็นชี้ตายของบริษัท
ความเสียงสุงที่สุด คือ ไม่รู้ว่าเลยว่าตัวเองทำอะไรอยู่
แต่ความเสี่ยงสูงคือ ไม่รุ้ว่าอะไรคือจุดชี้เป็นชี้ตายของบริษัท
ความเสียงสุงที่สุด คือ ไม่รู้ว่าเลยว่าตัวเองทำอะไรอยู่
- cryptonian_man
- Verified User
- โพสต์: 585
- ผู้ติดตาม: 0
ค่าเงินบาทจะไปไหนในทิศทางไหน ตามความเห็นชาว Thaivi
โพสต์ที่ 17
ถ้าอย่างนั้น ปัญหาคือผู้ประกอบการส่งออกไม่ยอมปรับตัวใช่ไหมครับ เพราะเขาก็เล่นผลิตแต่ของเดิมๆ ทั้งที่บ้านอื่นเมืองอื่นเขาผลิตได้ถูกกว่า เราก็เลยดูว่าแย่ในความคิดของผม ผมว่าเราคงเห็นบริษัทส่งออกที่เป็นรูปแบบเก่าและไม่ได้มีเทคโนโลยี่เป็นของตัวเองปิดตัวลงเรือ่ยๆครับ
ส่วนบาทก็ยังคงแข็งต่อไปจนกว่าคนในประเทศจะเริ่มกล้าใช้เงิน และลงทุนเพิ่มครับ
ว่าแต่บ.ส่งออกที่ไม่เป็นรูปแบบเก่าๆ และมีเทคโนโลยีเป็นของตัวเองมี บ. ไหนบ้างอ่ะครับ จะได้ไปมองๆ ไว้เผื่อเกิดไรขึ้นตัวพวกนี้น่าจะมีทางรอดได้มากกว่า อิอิ
เขาว่า "หลังจากปากพองจากการดื่มนมร้อน เราจะเป่าโยเกิร์ตให้เย็นก่อนตักเข้าปาก"
แต่ทำไมตรูไม่เข็ด เคาะขวาไวตลอดเนี่ย
แต่ทำไมตรูไม่เข็ด เคาะขวาไวตลอดเนี่ย
- tanate
- Verified User
- โพสต์: 307
- ผู้ติดตาม: 0
ค่าเงินบาทจะไปไหนในทิศทางไหน ตามความเห็นชาว Thaivi
โพสต์ที่ 18
สงสัยว่าทำไม จะเป็น 40บาท ไม่ได้ครับ
แบบความรุ้น้อย เลยต้องสมมุตินะ
อยากทำให้ค่าเงินเป็น40 บาท ต่อ US
มันมีสาเหตุที่จะทำให้บาทอ่อนสุดๆ ได้ตั้งหลายวิธี
ถ้าเราตั้งใจทำให้มันเกิด เช่น
เอาเงินสำรองออกมาใช้ให้เหลือน้อยสุดๆ แล้ว แล้วรีบกู้เงินจากต่างประเทศ ดอกเบี้ยแพงๆ
เพื่ออะไรมิทราบ แล้วให้กลุ่มเฮดฟัน ปั่นอีกนิดแค่นี้ ก็พอเพียงที่จะทำให้บาทอ่อนแล้วครับ
แบบความรุ้น้อย เลยต้องสมมุตินะ
อยากทำให้ค่าเงินเป็น40 บาท ต่อ US
มันมีสาเหตุที่จะทำให้บาทอ่อนสุดๆ ได้ตั้งหลายวิธี
ถ้าเราตั้งใจทำให้มันเกิด เช่น
เอาเงินสำรองออกมาใช้ให้เหลือน้อยสุดๆ แล้ว แล้วรีบกู้เงินจากต่างประเทศ ดอกเบี้ยแพงๆ
เพื่ออะไรมิทราบ แล้วให้กลุ่มเฮดฟัน ปั่นอีกนิดแค่นี้ ก็พอเพียงที่จะทำให้บาทอ่อนแล้วครับ
หุ้นขึ้นสักแต่รู้ว่าหุ้นขึ้น หุ้นตกสักแต่รู้ว่าหุ้นตก
- สุมาอี้
- Verified User
- โพสต์: 4576
- ผู้ติดตาม: 0
ค่าเงินบาทจะไปไหนในทิศทางไหน ตามความเห็นชาว Thaivi
โพสต์ที่ 19
คงยาก เพราะตอนนี้ตัวประเทศก็แข็งแกร่งดีsunrise เขียน:
ไม่ได้เป็นหนี้ หรือกู้มาลงทุนจนเกินตัวเหมือนตอนก่อน วิกฤต
เพียงแต่เรายังติดว่าประเทศต้องโตมากๆเหมือนในอดีต
โดยลืมไปว่าประเทศที่เค้ามีศักยภาพมากกว่าเค้ามาตีตลาด
เงินบาทคงแข็งไปเรื่อยๆ เพราะว่าเราซื้อของมาแล้วมาทำมูลค่าเพิ่ม
โดยที่อาจจะใช้ทรัพยากรธรรมชาติของเรา หรือแรงงานแล้วก็ขายออกในราคาที่ดีกว่า
ขณะที่เรานำเข้าน้อยกว่ามาก
ตอนนี้อัตรานำเข้าต่อส่งออก ก็ประมาณ 1/4 ต่อ 1/5 จากเรือตู้ที่ผมดูอยู่
ดังนันเศรษฐกิจเราก็โตขึ้นเรื่อยๆ เพราะมีแต่เงินเข้ามาไม่ค่อยมีออกไป
เหมือนเรารวยขึ้นแต่คนก็ยังไม่กล้าใช้
เหมือนบริษัทรวยแต่ผู้บริหารทะเลาะกันตลอดเลย เงินส่วนกลางของบริษัท
ก็เลยไม่ได้ใช้พัฒนาบริษัท พนักงานก็ไม่มั่นใจอนาคตเก็บเงินไว้เพียบ ไม่กล้าใช้
http://dekisugi.net
ไม่ค่อยได้เช็ค PM เลยครับ ต้องการติดต่อผม อีเมลไปที่ [email protected] จะชัวร์กว่าครับ
ไม่ค่อยได้เช็ค PM เลยครับ ต้องการติดต่อผม อีเมลไปที่ [email protected] จะชัวร์กว่าครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 1992
- ผู้ติดตาม: 0
ค่าเงินบาทจะไปไหนในทิศทางไหน ตามความเห็นชาว Thaivi
โพสต์ที่ 20
อ่า... ไม่แน่นาครับคุณสุมาอี้ เอาแน่เอานอนกับบ้านเมืองได้ยาก เพราะค่าเงินมันขึ้นอยู่กับทั้งสองฝ่าย (ทั้งบ้านเรา และบ้านเขา)สุมาอี้ เขียน:40 ไม่มีวันได้เห็นอีกแล้วครับ ฟันธง
ขนาดญี่ปุ่น ยังเห็นทั้งดอลล่าร์ละ 80 เยน และ 130 เยนเลย
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 1841
- ผู้ติดตาม: 0
ค่าเงินบาทจะไปไหนในทิศทางไหน ตามความเห็นชาว Thaivi
โพสต์ที่ 21
Bangkok Post 14th July, 2007
Experts expecting SET bull market
Political stability fuelling momentum
PARISTA YUTHAMANOP
The Thai equity market is set to begin a long bull run, says Phatra Securities. Optimism about regional economic growth, led by China, as well as low valuations and the prospect of general elections this year would drive foreign funds into the SET, said Ian Gisbourne, head of equity research for Phatra Securities.
''We see no discount from the political situation, because the flows are so strong. It is actually a bull run for emerging markets, not just the Thai market,'' he said yesterday.
The US investment bank Merrill Lynch expects emerging market equities to remain bullish throughout 2008, although returns in 2007 would be lower than in 2006.
Mr Gisbourne said the SET was expected to post earnings growth of 18.7% in 2008, compared with -1% this year.
He cited regulations such as new accounting standards in the banking system and the shift from access charges to interconnection charges in the telecom sector as factors affecting earnings.
The market's price-to-earnings ratio is expected to stand at 13 times in 2007, representing a 25% discount from the regional average of 17.3.
Phatra projects the SET's P/E ratio to dip to 10.9 next year, due in part to a sharp recovery in corporate earnings. The discount from the regional average valuation is expected to widen to 27%.
''We earlier forecast the SET index to top 1,000 points in the next year, but it could possibly do so this year. The market can even go further in 2008 as the gap in valuations is so large. There is a correction risk, but the market will remain accommodative,'' Mr Gisbourne said.
He said the effect of the baht's appreciation on equities would be slight and would be offset by an increase in investment in 2008.
Supavud Saicheua, Phatra's head of research, said bullish portfolio inflows and the increasing current account surplus caused by slowing imports were likely to cause the baht to appreciate in the second half of the year.
Phatra last month raised its forecast of the country's current account surplus to $10 billion from $5-6 billion this year.
''We expect the baht to have upside gains as long as there are portfolio inflows and a healthy current account surplus,'' Dr Supavud said.
He Supavud said exports would decline if the baht rose to between 30 and 32 to the dollar. The calculation was based on a 5-10% decline in margins when the baht was at 38 to the dollar.
''We can expect the baht to correct itself following export declines. We should not expect the central bank to intervene to keep the baht weak all the time, as that would prohibit exporters from adjusting themselves,'' he said.
Private investment would not recover until 2008 after the new government is established. ''The total value of applications lodged with the Board of Investment has risen by 50% in the first half of the year,'' he said.
Dr Supavud said the Bank of Thailand was expected to adopt a conservative approach to interest rates, due to inflation fears.
A trade war between the US and China, which could cause a sharp depreciation of the dollar, and weakness in sub-prime lending in the US represent risks for Asian currencies, he said.
In addition, he said, the SET could suffer a correction after the election, given expectations for a coalition government and continued political friction.
Experts expecting SET bull market
Political stability fuelling momentum
PARISTA YUTHAMANOP
The Thai equity market is set to begin a long bull run, says Phatra Securities. Optimism about regional economic growth, led by China, as well as low valuations and the prospect of general elections this year would drive foreign funds into the SET, said Ian Gisbourne, head of equity research for Phatra Securities.
''We see no discount from the political situation, because the flows are so strong. It is actually a bull run for emerging markets, not just the Thai market,'' he said yesterday.
The US investment bank Merrill Lynch expects emerging market equities to remain bullish throughout 2008, although returns in 2007 would be lower than in 2006.
Mr Gisbourne said the SET was expected to post earnings growth of 18.7% in 2008, compared with -1% this year.
He cited regulations such as new accounting standards in the banking system and the shift from access charges to interconnection charges in the telecom sector as factors affecting earnings.
The market's price-to-earnings ratio is expected to stand at 13 times in 2007, representing a 25% discount from the regional average of 17.3.
Phatra projects the SET's P/E ratio to dip to 10.9 next year, due in part to a sharp recovery in corporate earnings. The discount from the regional average valuation is expected to widen to 27%.
''We earlier forecast the SET index to top 1,000 points in the next year, but it could possibly do so this year. The market can even go further in 2008 as the gap in valuations is so large. There is a correction risk, but the market will remain accommodative,'' Mr Gisbourne said.
He said the effect of the baht's appreciation on equities would be slight and would be offset by an increase in investment in 2008.
Supavud Saicheua, Phatra's head of research, said bullish portfolio inflows and the increasing current account surplus caused by slowing imports were likely to cause the baht to appreciate in the second half of the year.
Phatra last month raised its forecast of the country's current account surplus to $10 billion from $5-6 billion this year.
''We expect the baht to have upside gains as long as there are portfolio inflows and a healthy current account surplus,'' Dr Supavud said.
He Supavud said exports would decline if the baht rose to between 30 and 32 to the dollar. The calculation was based on a 5-10% decline in margins when the baht was at 38 to the dollar.
''We can expect the baht to correct itself following export declines. We should not expect the central bank to intervene to keep the baht weak all the time, as that would prohibit exporters from adjusting themselves,'' he said.
Private investment would not recover until 2008 after the new government is established. ''The total value of applications lodged with the Board of Investment has risen by 50% in the first half of the year,'' he said.
Dr Supavud said the Bank of Thailand was expected to adopt a conservative approach to interest rates, due to inflation fears.
A trade war between the US and China, which could cause a sharp depreciation of the dollar, and weakness in sub-prime lending in the US represent risks for Asian currencies, he said.
In addition, he said, the SET could suffer a correction after the election, given expectations for a coalition government and continued political friction.
Rabbit VS. Turtle
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 11444
- ผู้ติดตาม: 1
ค่าเงินบาทจะไปไหนในทิศทางไหน ตามความเห็นชาว Thaivi
โพสต์ที่ 22
เงินบาทที่แข็งขึ้นช่วงนี้ เห็นใครๆก็บอกว่าแข็งเร็ว ผู้ส่งออกกังวลเรื่องขาดทุนจากการขายสินค้า
แต่ลองย้อนกลับไปดูตอนปี 2540 หลังลอยตัวค่าเงินบาทซิครับ จาก 25 บาท ไหลไปถึง 56 บาท เร็วขนาดไหน
และลองนึกถึงใจของผู้ที่กู้ยืมเงินต่างประเทศในช่วงนั้นดูครับ ค่าเงินอ่อนลงแต่ละบาท พวกเขาขาดทุนกันเท่าไร
ขณะที่พวกผู้ส่งออกยิ้มแก้มบาน อยู่ๆก็บุญหล่นทับ รวยไม่รู้เนื้อรู้ตัว
แต่ลองย้อนกลับไปดูตอนปี 2540 หลังลอยตัวค่าเงินบาทซิครับ จาก 25 บาท ไหลไปถึง 56 บาท เร็วขนาดไหน
และลองนึกถึงใจของผู้ที่กู้ยืมเงินต่างประเทศในช่วงนั้นดูครับ ค่าเงินอ่อนลงแต่ละบาท พวกเขาขาดทุนกันเท่าไร
ขณะที่พวกผู้ส่งออกยิ้มแก้มบาน อยู่ๆก็บุญหล่นทับ รวยไม่รู้เนื้อรู้ตัว
จงอยู่เหนือความดี อย่าหลงความดี
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 1841
- ผู้ติดตาม: 0
ค่าเงินบาทจะไปไหนในทิศทางไหน ตามความเห็นชาว Thaivi
โพสต์ที่ 24
คาดค่าบาท-หุ้นไทยสัปดาห์หน้าสร้างสถิติสูงสุดอีก
โดย ผู้จัดการออนไลน์ 14 กรกฎาคม 2550 19:28 น.
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยระบุค่าเงินบาทและหุ้นยังคงแตะระดับสูงสุดในรอบ 10 ปี หลังจากเงินทุนไหลเข้า และทั่วโลกกังวลเศรษฐกิจสหรัฐ ทำให้ดอลลาร์สหรัฐอ่อนตัวลง พร้อมคาดสัปดาห์หน้าทั้งเงินบาทและหุ้นไทยอาจจะสร้างสถิติสูงสุดอีก
บริษัท ศูนย์วิจัยกสิกรไทย จำกัด รายงานว่า ในสัปดาห์นี้ (9-13 ก.ค.) เงินบาทในประเทศ (Onshore) แข็งค่าผ่านแนวต้านสำคัญหลายระดับขึ้นแตะระดับสูงสุดในรอบ 10 ปี โดยยังคงได้รับแรงหนุนจากแรงขายเงินดอลลาร์สหรัฐของผู้ส่งออก การเข้าซื้อสุทธิหุ้นไทยของนักลงทุนต่างชาติ และความอ่อนแอของเงินดอลลาร์สหรัฐ แม้ว่านางธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้ออกมาระบุว่า พร้อมจะดูแลค่าเงินบาทไม่ให้ผันผวนมากเกินไป เพื่อซื้อเวลาให้ผู้ส่งออกมีเวลาปรับตัว พร้อมกับระบุเตือนผู้ส่งออกอย่าเร่งเทขายเงินดอลลาร์สหรัฐออกมา เนื่องจากความตื่นตระหนกหลังเงินบาทแข็งค่าขึ้น สำหรับในวันศุกร์ เงินบาทปรับตัวอยู่ที่ระดับ 33.315 เทียบกับระดับปิดในวันศุกร์ก่อนหน้า (6 กรกฎาคม) ที่ 33.99 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่แรงขายเงินดอลลาร์สหรัฐของผู้ส่งออกได้ชะลอลงในช่วงปลายสัปดาห์
นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม ที่ผ่านมา ธปท.อนุญาตให้ผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศ (Non Resident) ที่มีการค้าและการลงทุน ซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามาก่อนวันที่ 19 ธันวาคม 2549 สามารถกู้ยืมเงินบาทกับสถาบันการเงินในประเทศเป็นกรณีพิเศษ เฉพาะช่วงวันที่ 16 ก.ค.-17 ส.ค.50 โดยได้รับยกเว้นการดำรงเงินสำรอง 30% ตามมาตรการควบคุมการเคลื่อนย้ายเงินทุนระยะสั้น เพื่อลดภาระในการป้องกันความเสี่ยงสำหรับ Non Resident ที่เคยทำไว้ในตลาดต่างประเทศ นอกจากนี้ ธปท.ยังได้กำชับให้ธนาคารพาณิชย์ดูแลการทำธุรกรรมการซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าของผู้ส่งออกให้เข้มงวดมากขึ้น เพื่อปิดช่องทางการเก็งกำไรเงินบาทอีกด้วย
ในสัปดาห์หหน้า (16-20 กรกฎาคม 2550) คาดเงินบาทในประเทศอาจมีกรอบการเคลื่อนไหวที่ 33.10-33.50 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ โดยมีปัจจัยที่ควรจับตาคือ การประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงินในวันที่ 18 กรกฎาคม สัญญาณของการไหลเข้าของเงินทุนต่างชาติ แรงเทขายเงินดอลลาร์สหรัฐของผู้ส่งออก การเข้าแทรกแซงตลาด และการออกมาตรการอื่น ๆ ของ ธปท. เพื่อชะลอการแข็งค่าของเงินบาท ตลอดจนผลการหารือประเด็นการแข็งค่าของเงินบาทระหว่างรัฐบาลและภาคเอกชนอีกด้วย นอกจากนี้ ตลาดยังควรจับตาทิศทางเงินดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งขึ้นอยู่กับตัวเลขเศรษฐกิจของสหรัฐที่สำคัญหลายตัว อาทิ ดัชนีราคาผู้บริโภคเดือนมิถุนายน ข้อมูลเงินทุนไหลเข้าสุทธิในเดือนพฤษภาคม และบันทึกการประชุมธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) เมื่อวันที่ 27-28 มิถุนายน ขณะที่ความกังวลต่อปัญหาตลาดจำนองสำหรับผู้กู้ยืมที่มีความน่าเชื่อถือต่ำอาจยังคงเป็นปัจจัยลบต่อค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ
ทั้งนี้ ทั่วโลกเป็นกังวลเรื่องเงินดอลลาร์สหรัฐที่อ่อนตัวลง เนื่องมีปัญหาตลาดจำนองสำหรับผู้กู้ยืมที่มีความน่าเชื่อถือต่ำ หรือซับไพร์ม ของสหรัฐ หลังบริษัทสแตนดาร์ด แอนด์ พัวร์ส (S&P) อาจปรับลดอันดับความน่าเชื่อถือตราสารหนี้ที่เกี่ยวข้องกับตลาดซับไพร์มมูลค่า 12,100 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเงินเยนปรับตัวในทิศทางที่แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐ ในช่วงต้นสัปดาห์ เงินเยนทะยานขึ้นอย่างแข็งแกร่ง อย่างไรก็ตาม เงินเยนได้ลดช่วงบวกลงในช่วงต่อมา เนื่องจากยังคงมีแรงเทขายเงินเยนเนื่องจากความเสียเปรียบด้านอัตราดอกเบี้ยอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เงินเยนทรงตัวที่ระดับประมาณ 122.36 เยน/ดอลลาร์สหรัฐ ในขณะที่เงินยูโร ทะยานขึ้นทำสถิติสูงสุดเป็นประวัติการณ์ครั้งใหม่เทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐ โดยแข็งค่า 1.3799 ดอลลาร์สหรรัฐ/ยูโร ในระหว่างสัปดาห์
ส่วนตลาดหุ้นในสัปดาห์ที่ผ่านมา ดัชนีหุ้นไทยปิดที่ 859.14 จุด เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.2 จากระดับปิดที่ 832.38 จุด ในสัปดาห์ก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 26.4 จากสิ้นปีก่อน ขณะที่มูลค่าการซื้อขายรวมทั้งสัปดาห์เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.07 จาก 175,586.13 ล้านบาท ในสัปดาห์ก่อนหน้า มาอยู่ที่ 179,222.40 ล้านบาท คิดเป็นมูลค่าการซื้อขายเฉลี่ยต่อวันที่เพิ่มจาก 35,117.23 ล้านบาท ในสัปดาห์ก่อน มาอยู่ที่ 35,844.48 ล้านบาท ส่วนตลาดหลักทรัพย์ mai ปิดที่ 237.46 จุด ปรับตัวสูงขึ้นร้อยละ 0.7 จาก 235.73 จุด ในสัปดาห์ก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 22.8 จากสิ้นปีก่อน
ดัชนีตลาดหุ้นไทยยังคงพุ่งขึ้นปิดที่ระดับสูงสุดครั้งใหม่ในรอบกว่า 10 ปี โดยนักลงทุนต่างชาติซื้อสุทธิที่ 10,800 ล้านบาท ขณะที่นักลงทุนรายย่อยและนักลงทุนสถาบันขายสุทธิที่ 9,310 ล้านบาท และ 621 ล้านบาท ตามลำดับ ตลาดหุ้นไทยทะยานขึ้นต่อเนื่องเมื่อวันจันทร์และวันอังคารที่ผ่านมา โดยปิดเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.42 ในวันจันทร์ และร้อยละ 1.63 ในวันอังคาร จากกระแสเงินทุนไหลเข้าที่เข้ามาซื้อหุ้นขนาดใหญ่ในกลุ่มต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ด้วยมูลค่าการซื้อขายที่หนาแน่น ก่อนที่ดัชนีจะปรับฐานในวันพุธ หลังจากที่บวกขึ้นแรง 3 วัน ก่อนหน้า จากแรงขายทำกำไรหุ้นขนาดใหญ่ทั้งในกลุ่มพลังงาน ธนาคาร และอสังหาริมทรัพย์ ส่งผลให้ดัชนีร่วงลงร้อยละ 1.42 ในวันพุธ และยังเป็นการปรับตัวลงในทิศทางเดียวกันกับตลาดหุ้นในภูมิภาค โดยนักลงทุนต่างชาติขายสุทธิเป็นครั้งแรกในรอบ 10 วัน ขณะที่ในวันพฤหัสบดีนั้น ดัชนียังคงขยับลงต่อเนื่องอีกเล็กน้อย ท่ามกลางความกังวลเกี่ยวกับผลกระทบของการแข็งค่าของเงินบาทต่อภาคธุรกิจและการขยายตัวของเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม นักลงทุนต่างชาติได้กลับมาซื้อสุทธิอีกครั้ง ส่วนในวันศุกร์นั้น ดัชนีพุ่งขึ้นนับจากเปิดตลาดและแกว่งตัวในช่วงแคบตลอดวัน แต่สามารถปิดบวกขึ้น ร้อยละ1.81 สู่ระดับสูงสุดครั้งใหม่ในรอบกว่า 10 ปี นับจากวันที่ 17 ธันวาคม 2539 ที่ 859.14 จุด โดยได้รับปัจจัยบวกจากเงินทุนที่ไหลเข้ามาในภูมิภาค และการพุ่งขึ้นทำสถิติสูงสุดเป็นประวัติการณ์ครั้งใหม่ของตลาดหุ้นสหรัฐ
สำหรับแนวโน้มในสัปดาห์หน้า (16-20 กรกฎาคม 2550) บริษัทหลักทรัพย์กสิกรไทย และศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า เงินทุนไหลน่าจะยังคงเป็นปัจจัยที่ช่วยหนุนการปรับตัวของดัชนีได้อย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม คาดว่าดัชนีอาจเริ่มจะเผชิญกับความเสี่ยงจากการปรับฐานและการสลับกลุ่มซื้อขายเป็นระยะ ๆ หลังจากที่ปรับตัวขึ้นมากในช่วงที่ผ่านมา ขณะที่นักลงทุนคงจะให้ความสนใจการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงินในวันพุธ ทิศทางของค่าเงินบาทและการดำเนินการเพิ่มเติมในการดูแลค่าเงินจากทางการ การปรับตัวของราคาน้ำมันในตลาดโลก และอาจเริ่มมีการซื้อขายเพื่อเก็งกำไรตามการรายงานผลประกอบการไตรมาส 2/2550 ของกลุ่มธนาคารพาณิชย์ ทั้งนี้ ทางบริษัทหลักทรัพย์กสิกรไทย คาดว่า ดัชนีจะมีแนวรับที่ 837 และ 857 จุด และแนวต้านคาดว่าจะอยู่ที่ 861 และ 897 จุด ตามลำดับ
โดย ผู้จัดการออนไลน์ 14 กรกฎาคม 2550 19:28 น.
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยระบุค่าเงินบาทและหุ้นยังคงแตะระดับสูงสุดในรอบ 10 ปี หลังจากเงินทุนไหลเข้า และทั่วโลกกังวลเศรษฐกิจสหรัฐ ทำให้ดอลลาร์สหรัฐอ่อนตัวลง พร้อมคาดสัปดาห์หน้าทั้งเงินบาทและหุ้นไทยอาจจะสร้างสถิติสูงสุดอีก
บริษัท ศูนย์วิจัยกสิกรไทย จำกัด รายงานว่า ในสัปดาห์นี้ (9-13 ก.ค.) เงินบาทในประเทศ (Onshore) แข็งค่าผ่านแนวต้านสำคัญหลายระดับขึ้นแตะระดับสูงสุดในรอบ 10 ปี โดยยังคงได้รับแรงหนุนจากแรงขายเงินดอลลาร์สหรัฐของผู้ส่งออก การเข้าซื้อสุทธิหุ้นไทยของนักลงทุนต่างชาติ และความอ่อนแอของเงินดอลลาร์สหรัฐ แม้ว่านางธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้ออกมาระบุว่า พร้อมจะดูแลค่าเงินบาทไม่ให้ผันผวนมากเกินไป เพื่อซื้อเวลาให้ผู้ส่งออกมีเวลาปรับตัว พร้อมกับระบุเตือนผู้ส่งออกอย่าเร่งเทขายเงินดอลลาร์สหรัฐออกมา เนื่องจากความตื่นตระหนกหลังเงินบาทแข็งค่าขึ้น สำหรับในวันศุกร์ เงินบาทปรับตัวอยู่ที่ระดับ 33.315 เทียบกับระดับปิดในวันศุกร์ก่อนหน้า (6 กรกฎาคม) ที่ 33.99 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่แรงขายเงินดอลลาร์สหรัฐของผู้ส่งออกได้ชะลอลงในช่วงปลายสัปดาห์
นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม ที่ผ่านมา ธปท.อนุญาตให้ผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศ (Non Resident) ที่มีการค้าและการลงทุน ซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามาก่อนวันที่ 19 ธันวาคม 2549 สามารถกู้ยืมเงินบาทกับสถาบันการเงินในประเทศเป็นกรณีพิเศษ เฉพาะช่วงวันที่ 16 ก.ค.-17 ส.ค.50 โดยได้รับยกเว้นการดำรงเงินสำรอง 30% ตามมาตรการควบคุมการเคลื่อนย้ายเงินทุนระยะสั้น เพื่อลดภาระในการป้องกันความเสี่ยงสำหรับ Non Resident ที่เคยทำไว้ในตลาดต่างประเทศ นอกจากนี้ ธปท.ยังได้กำชับให้ธนาคารพาณิชย์ดูแลการทำธุรกรรมการซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าของผู้ส่งออกให้เข้มงวดมากขึ้น เพื่อปิดช่องทางการเก็งกำไรเงินบาทอีกด้วย
ในสัปดาห์หหน้า (16-20 กรกฎาคม 2550) คาดเงินบาทในประเทศอาจมีกรอบการเคลื่อนไหวที่ 33.10-33.50 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ โดยมีปัจจัยที่ควรจับตาคือ การประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงินในวันที่ 18 กรกฎาคม สัญญาณของการไหลเข้าของเงินทุนต่างชาติ แรงเทขายเงินดอลลาร์สหรัฐของผู้ส่งออก การเข้าแทรกแซงตลาด และการออกมาตรการอื่น ๆ ของ ธปท. เพื่อชะลอการแข็งค่าของเงินบาท ตลอดจนผลการหารือประเด็นการแข็งค่าของเงินบาทระหว่างรัฐบาลและภาคเอกชนอีกด้วย นอกจากนี้ ตลาดยังควรจับตาทิศทางเงินดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งขึ้นอยู่กับตัวเลขเศรษฐกิจของสหรัฐที่สำคัญหลายตัว อาทิ ดัชนีราคาผู้บริโภคเดือนมิถุนายน ข้อมูลเงินทุนไหลเข้าสุทธิในเดือนพฤษภาคม และบันทึกการประชุมธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) เมื่อวันที่ 27-28 มิถุนายน ขณะที่ความกังวลต่อปัญหาตลาดจำนองสำหรับผู้กู้ยืมที่มีความน่าเชื่อถือต่ำอาจยังคงเป็นปัจจัยลบต่อค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ
ทั้งนี้ ทั่วโลกเป็นกังวลเรื่องเงินดอลลาร์สหรัฐที่อ่อนตัวลง เนื่องมีปัญหาตลาดจำนองสำหรับผู้กู้ยืมที่มีความน่าเชื่อถือต่ำ หรือซับไพร์ม ของสหรัฐ หลังบริษัทสแตนดาร์ด แอนด์ พัวร์ส (S&P) อาจปรับลดอันดับความน่าเชื่อถือตราสารหนี้ที่เกี่ยวข้องกับตลาดซับไพร์มมูลค่า 12,100 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเงินเยนปรับตัวในทิศทางที่แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐ ในช่วงต้นสัปดาห์ เงินเยนทะยานขึ้นอย่างแข็งแกร่ง อย่างไรก็ตาม เงินเยนได้ลดช่วงบวกลงในช่วงต่อมา เนื่องจากยังคงมีแรงเทขายเงินเยนเนื่องจากความเสียเปรียบด้านอัตราดอกเบี้ยอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เงินเยนทรงตัวที่ระดับประมาณ 122.36 เยน/ดอลลาร์สหรัฐ ในขณะที่เงินยูโร ทะยานขึ้นทำสถิติสูงสุดเป็นประวัติการณ์ครั้งใหม่เทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐ โดยแข็งค่า 1.3799 ดอลลาร์สหรรัฐ/ยูโร ในระหว่างสัปดาห์
ส่วนตลาดหุ้นในสัปดาห์ที่ผ่านมา ดัชนีหุ้นไทยปิดที่ 859.14 จุด เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.2 จากระดับปิดที่ 832.38 จุด ในสัปดาห์ก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 26.4 จากสิ้นปีก่อน ขณะที่มูลค่าการซื้อขายรวมทั้งสัปดาห์เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.07 จาก 175,586.13 ล้านบาท ในสัปดาห์ก่อนหน้า มาอยู่ที่ 179,222.40 ล้านบาท คิดเป็นมูลค่าการซื้อขายเฉลี่ยต่อวันที่เพิ่มจาก 35,117.23 ล้านบาท ในสัปดาห์ก่อน มาอยู่ที่ 35,844.48 ล้านบาท ส่วนตลาดหลักทรัพย์ mai ปิดที่ 237.46 จุด ปรับตัวสูงขึ้นร้อยละ 0.7 จาก 235.73 จุด ในสัปดาห์ก่อน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 22.8 จากสิ้นปีก่อน
ดัชนีตลาดหุ้นไทยยังคงพุ่งขึ้นปิดที่ระดับสูงสุดครั้งใหม่ในรอบกว่า 10 ปี โดยนักลงทุนต่างชาติซื้อสุทธิที่ 10,800 ล้านบาท ขณะที่นักลงทุนรายย่อยและนักลงทุนสถาบันขายสุทธิที่ 9,310 ล้านบาท และ 621 ล้านบาท ตามลำดับ ตลาดหุ้นไทยทะยานขึ้นต่อเนื่องเมื่อวันจันทร์และวันอังคารที่ผ่านมา โดยปิดเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.42 ในวันจันทร์ และร้อยละ 1.63 ในวันอังคาร จากกระแสเงินทุนไหลเข้าที่เข้ามาซื้อหุ้นขนาดใหญ่ในกลุ่มต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ด้วยมูลค่าการซื้อขายที่หนาแน่น ก่อนที่ดัชนีจะปรับฐานในวันพุธ หลังจากที่บวกขึ้นแรง 3 วัน ก่อนหน้า จากแรงขายทำกำไรหุ้นขนาดใหญ่ทั้งในกลุ่มพลังงาน ธนาคาร และอสังหาริมทรัพย์ ส่งผลให้ดัชนีร่วงลงร้อยละ 1.42 ในวันพุธ และยังเป็นการปรับตัวลงในทิศทางเดียวกันกับตลาดหุ้นในภูมิภาค โดยนักลงทุนต่างชาติขายสุทธิเป็นครั้งแรกในรอบ 10 วัน ขณะที่ในวันพฤหัสบดีนั้น ดัชนียังคงขยับลงต่อเนื่องอีกเล็กน้อย ท่ามกลางความกังวลเกี่ยวกับผลกระทบของการแข็งค่าของเงินบาทต่อภาคธุรกิจและการขยายตัวของเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม นักลงทุนต่างชาติได้กลับมาซื้อสุทธิอีกครั้ง ส่วนในวันศุกร์นั้น ดัชนีพุ่งขึ้นนับจากเปิดตลาดและแกว่งตัวในช่วงแคบตลอดวัน แต่สามารถปิดบวกขึ้น ร้อยละ1.81 สู่ระดับสูงสุดครั้งใหม่ในรอบกว่า 10 ปี นับจากวันที่ 17 ธันวาคม 2539 ที่ 859.14 จุด โดยได้รับปัจจัยบวกจากเงินทุนที่ไหลเข้ามาในภูมิภาค และการพุ่งขึ้นทำสถิติสูงสุดเป็นประวัติการณ์ครั้งใหม่ของตลาดหุ้นสหรัฐ
สำหรับแนวโน้มในสัปดาห์หน้า (16-20 กรกฎาคม 2550) บริษัทหลักทรัพย์กสิกรไทย และศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า เงินทุนไหลน่าจะยังคงเป็นปัจจัยที่ช่วยหนุนการปรับตัวของดัชนีได้อย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม คาดว่าดัชนีอาจเริ่มจะเผชิญกับความเสี่ยงจากการปรับฐานและการสลับกลุ่มซื้อขายเป็นระยะ ๆ หลังจากที่ปรับตัวขึ้นมากในช่วงที่ผ่านมา ขณะที่นักลงทุนคงจะให้ความสนใจการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงินในวันพุธ ทิศทางของค่าเงินบาทและการดำเนินการเพิ่มเติมในการดูแลค่าเงินจากทางการ การปรับตัวของราคาน้ำมันในตลาดโลก และอาจเริ่มมีการซื้อขายเพื่อเก็งกำไรตามการรายงานผลประกอบการไตรมาส 2/2550 ของกลุ่มธนาคารพาณิชย์ ทั้งนี้ ทางบริษัทหลักทรัพย์กสิกรไทย คาดว่า ดัชนีจะมีแนวรับที่ 837 และ 857 จุด และแนวต้านคาดว่าจะอยู่ที่ 861 และ 897 จุด ตามลำดับ
Rabbit VS. Turtle
- odacroniandevil
- Verified User
- โพสต์: 101
- ผู้ติดตาม: 0
ค่าเงินบาทจะไปไหนในทิศทางไหน ตามความเห็นชาว Thaivi
โพสต์ที่ 25
ผมโชคดีจริงๆครับที่ได้เข้ามาลงทุนในหุ้นในช่วงที่ ค่าเงินแข็งตัว
ได้ความรู้เยอะจริงๆครับ ทั้งทางตรงทางอ้อมเลย
ขอบคุณพี่ๆในบอร์ดทุกคนมากครับ
8) 8)
ได้ความรู้เยอะจริงๆครับ ทั้งทางตรงทางอ้อมเลย
ขอบคุณพี่ๆในบอร์ดทุกคนมากครับ
8) 8)
-
- Verified User
- โพสต์: 129
- ผู้ติดตาม: 0
ค่าเงินบาทจะไปไหนในทิศทางไหน ตามความเห็นชาว Thaivi
โพสต์ที่ 26
ผมคิดว่าถึงยุคเงินเฟ้อสูงแล้วละครับ ชาวโลกใช้ของถูกมาเป็นเวลานานเนื่องจากประเทศจีนกดค่าเงินมานาน ถึงเวลาที่ชาวจีนต้องเริ่มบริโภคมากขึ้น คนจีนและคนเอเชียมีจำนวนมาก การบริโภคมากน่าจะกระตุ้นดีมานด์ทำให้เงินเฟ้อสูงขึ้น โดยเฉพาะในอเมริกา อัตราดอกเบี้ยไม่น่าจะลดลงได้ ราคาน้ำมันคงไม่ลดลงโดยเฉพาะเมื่อเทียบกับเงินดอลล่าร์สหรัฐ แต่เมื่อเทียบกับค่าเงินเอเชียจะขึ้นกับการบริโภคและการลงทุนของจีนและชาวเอเชีย ถ้าลงทุนและบริโภคมากน้ำมันก็จะแพงขึ้นอีก
ผมว่าปัจจุบันโลกเรามันเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกันไปหมด ในอนาคตอาจจะมีเงินตราสกุลเดียวไว้ใช้ก็ได้นะครับ
ผมว่าปัจจุบันโลกเรามันเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกันไปหมด ในอนาคตอาจจะมีเงินตราสกุลเดียวไว้ใช้ก็ได้นะครับ
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 11444
- ผู้ติดตาม: 1
ค่าเงินบาทจะไปไหนในทิศทางไหน ตามความเห็นชาว Thaivi
โพสต์ที่ 27
[quote="odacroniandevil"]ผมโชคดีจริงๆครับที่ได้เข้ามาลงทุนในหุ้นในช่วงที่ ค่าเงินแข็งตัว
ได้ความรู้เยอะจริงๆครับ ทั้งทางตรงทางอ้อมเลย
ขอบคุณพี่ๆในบอร์ดทุกคนมากครับ
8)
ได้ความรู้เยอะจริงๆครับ ทั้งทางตรงทางอ้อมเลย
ขอบคุณพี่ๆในบอร์ดทุกคนมากครับ
8)
จงอยู่เหนือความดี อย่าหลงความดี
-
- Verified User
- โพสต์: 124
- ผู้ติดตาม: 0
ค่าเงินบาทจะไปไหนในทิศทางไหน ตามความเห็นชาว Thaivi
โพสต์ที่ 28
ยิ่งมี action เหมือนยิ่งยุให้มี speculation ครับ
CURRENCY VALUE CHANGE % CHANGE TIME
USD-JPY 121.8050 -0.1250 -0.1025% 13:22
USD-HKD 7.8209 0.0010 0.0134% 13:21
AUD-USD 0.8720 0.0008 0.0976% 13:23
NZD-USD 0.7920 0.0048 0.6097% 13:23
USD-SGD 1.5168 0.0012 0.0825% 13:23
USD-TWD 32.8400 0.0250 0.0762% 11:31
USD-KRW 918.2250 1.3250 0.1445% 11:59
USD-PHP 45.5000 -0.2250 -0.4921% 11:20
USD-IDR 9040.0000 32.5000 0.3608% 12:13
USD-INR 40.3500 -0.0700 -0.1732% 08:01
USD-CNY 7.5678 -0.0052 -0.0687% 11:08
USD-MYR 3.4410 -0.0040 -0.1161% 12:13
USD-THB 29.9500 -0.5850 -1.9158% 13:13
เทียบกับคนอื่นแล้วแข็งที่สุดเลยครับ.....off-shore หลุด 30 ซะแล้ว
CURRENCY VALUE CHANGE % CHANGE TIME
USD-JPY 121.8050 -0.1250 -0.1025% 13:22
USD-HKD 7.8209 0.0010 0.0134% 13:21
AUD-USD 0.8720 0.0008 0.0976% 13:23
NZD-USD 0.7920 0.0048 0.6097% 13:23
USD-SGD 1.5168 0.0012 0.0825% 13:23
USD-TWD 32.8400 0.0250 0.0762% 11:31
USD-KRW 918.2250 1.3250 0.1445% 11:59
USD-PHP 45.5000 -0.2250 -0.4921% 11:20
USD-IDR 9040.0000 32.5000 0.3608% 12:13
USD-INR 40.3500 -0.0700 -0.1732% 08:01
USD-CNY 7.5678 -0.0052 -0.0687% 11:08
USD-MYR 3.4410 -0.0040 -0.1161% 12:13
USD-THB 29.9500 -0.5850 -1.9158% 13:13
เทียบกับคนอื่นแล้วแข็งที่สุดเลยครับ.....off-shore หลุด 30 ซะแล้ว
- ขงเบ้ง
- Verified User
- โพสต์: 399
- ผู้ติดตาม: 0
ค่าเงินบาทจะไปไหนในทิศทางไหน ตามความเห็นชาว Thaivi
โพสต์ที่ 29
วิธีทำให้บาทอ่อนมากกว่า 40
ง่ายง่ายประกาศpostpone.......ไม่มีกำหนดเนื่องจาก........1.,2.,3.,4....
ระวังลมเปลี่ยนทิศนะครับ :!: ผมมั่วนะครับอย่าเชื่อมาก :!: :!:
เผอิญครั้งนี้เขาไม่ได้เชิญให้มาทำพิธีเรียกลม สงสัยกลัวไฟไหม้เรือโจโฉ :lol: :lol: :lol: :lol: :lol: :lol:
ง่ายง่ายประกาศpostpone.......ไม่มีกำหนดเนื่องจาก........1.,2.,3.,4....
ระวังลมเปลี่ยนทิศนะครับ :!: ผมมั่วนะครับอย่าเชื่อมาก :!: :!:
เผอิญครั้งนี้เขาไม่ได้เชิญให้มาทำพิธีเรียกลม สงสัยกลัวไฟไหม้เรือโจโฉ :lol: :lol: :lol: :lol: :lol: :lol:
ไม่มีกลยุทธ์ใดตายตัวขึ้นอยู่กับสภาวะการณ์
เวลารุกคิดให้นานแต่เวลาถอยต้องเร็วไร้เงา
อิสรภาพทางการเงินเป็นแค่การเริ่มต้น
ปลายทาง คือ ความหลุดพ้น
ชีวิต คือ ความว่างเปล่า
ไม่มีใครหนีพ้นความตาย
แม้เป็นมหาเศรษฐีอันดับ 1ของโลก
เวลารุกคิดให้นานแต่เวลาถอยต้องเร็วไร้เงา
อิสรภาพทางการเงินเป็นแค่การเริ่มต้น
ปลายทาง คือ ความหลุดพ้น
ชีวิต คือ ความว่างเปล่า
ไม่มีใครหนีพ้นความตาย
แม้เป็นมหาเศรษฐีอันดับ 1ของโลก
-
- Verified User
- โพสต์: 497
- ผู้ติดตาม: 0
ค่าเงินบาทจะไปไหนในทิศทางไหน ตามความเห็นชาว Thaivi
โพสต์ที่ 30
ดร.วีรพงษ์ รามางกูร http://www.thairath.co.th/news.php?sect ... tent=54055
ทีมเศรษฐกิจ รวบรวมความคิดความเห็นจากปากคำกูรูและผู้ช่ำชองในภาคเศรษฐกิจ ไทย เพื่อเป็นกระจกสะท้อนภาพความจริงอย่างครบถ้วน ซึ่งจะช่วยให้การตัดสินใจแก้ปัญหา วิกฤติค่าเงินบาท ครั้งนี้เป็นไปในทิศทางที่สมบูรณ์ และไม่ซ้ำเติมความอ่อนแอของเศรษฐกิจไทยในปัจจุบัน ดร.วีรพงษ์ รามางกูร อดีตรองนายกรัฐมนตรี ผมรู้สึกเศร้าใจเมื่อได้เห็นคำตอบจาก รมว.กระทรวงการคลัง และผู้ว่าการ ธปท.ว่า ไม่มีมาตรการใดอีกแล้วที่จะหยุดการแข็งค่าของเงินบาท นอกจากปล่อยให้สถานการณ์ดำเนินต่อไป ซึ่งผิด เพราะถ้ารัฐบาลยังคงปล่อยให้สถานการณ์เป็นเช่นนี้ เศรษฐกิจประเทศไทยจะต้องเผชิญความยุ่งยากครั้งใหญ่อีกครั้ง
ที่สำคัญ ใครที่บอกว่าเราไม่จำเป็นต้องพึ่งพาการส่งออก ผมอยากให้กลับไปคิดใหม่ เพราะ ทุกวันนี้เศรษฐกิจไทยอยู่ได้ก็ด้วยการส่งออกคิดเป็น 65% ของจีดีพี (ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ) ถ้าไปดูสิงคโปร์ และฮ่องกง การส่งออกของเขาสูงมาก 120% ของจีดีพี เมื่อการส่งออกคือความอยู่รอดของประเทศ รัฐบาลก็จะต้องดูแล ถ้าไม่ดูแลให้ผู้ส่งออกแข่งขันได้ จีดีพีก็ต้องลดลง การว่างงานย่อมต้องเกิดขึ้นแน่นอน วิธีที่น่าจะทำที่สุดก็คือ ต้องให้นายกรัฐมนตรีเรียกประชุมกระทรวงการคลัง ธปท. และ รมต.ทุกกระทรวง เพื่อบอกให้ทุกคนรับรู้ว่า บัดนี้ค่าเงินบาทแข็งกำลังเป็นวิกฤติครั้งใหม่ของประเทศที่ทุกฝ่ายมีหน้าที่ต้องช่วยกัน โดยรัฐบาลกำหนดให้เร่งรัดดำเนินโครงการลงทุนขนาดใหญ่ (เมกะ
ทีมเศรษฐกิจ รวบรวมความคิดความเห็นจากปากคำกูรูและผู้ช่ำชองในภาคเศรษฐกิจ ไทย เพื่อเป็นกระจกสะท้อนภาพความจริงอย่างครบถ้วน ซึ่งจะช่วยให้การตัดสินใจแก้ปัญหา วิกฤติค่าเงินบาท ครั้งนี้เป็นไปในทิศทางที่สมบูรณ์ และไม่ซ้ำเติมความอ่อนแอของเศรษฐกิจไทยในปัจจุบัน ดร.วีรพงษ์ รามางกูร อดีตรองนายกรัฐมนตรี ผมรู้สึกเศร้าใจเมื่อได้เห็นคำตอบจาก รมว.กระทรวงการคลัง และผู้ว่าการ ธปท.ว่า ไม่มีมาตรการใดอีกแล้วที่จะหยุดการแข็งค่าของเงินบาท นอกจากปล่อยให้สถานการณ์ดำเนินต่อไป ซึ่งผิด เพราะถ้ารัฐบาลยังคงปล่อยให้สถานการณ์เป็นเช่นนี้ เศรษฐกิจประเทศไทยจะต้องเผชิญความยุ่งยากครั้งใหญ่อีกครั้ง
ที่สำคัญ ใครที่บอกว่าเราไม่จำเป็นต้องพึ่งพาการส่งออก ผมอยากให้กลับไปคิดใหม่ เพราะ ทุกวันนี้เศรษฐกิจไทยอยู่ได้ก็ด้วยการส่งออกคิดเป็น 65% ของจีดีพี (ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ) ถ้าไปดูสิงคโปร์ และฮ่องกง การส่งออกของเขาสูงมาก 120% ของจีดีพี เมื่อการส่งออกคือความอยู่รอดของประเทศ รัฐบาลก็จะต้องดูแล ถ้าไม่ดูแลให้ผู้ส่งออกแข่งขันได้ จีดีพีก็ต้องลดลง การว่างงานย่อมต้องเกิดขึ้นแน่นอน วิธีที่น่าจะทำที่สุดก็คือ ต้องให้นายกรัฐมนตรีเรียกประชุมกระทรวงการคลัง ธปท. และ รมต.ทุกกระทรวง เพื่อบอกให้ทุกคนรับรู้ว่า บัดนี้ค่าเงินบาทแข็งกำลังเป็นวิกฤติครั้งใหม่ของประเทศที่ทุกฝ่ายมีหน้าที่ต้องช่วยกัน โดยรัฐบาลกำหนดให้เร่งรัดดำเนินโครงการลงทุนขนาดใหญ่ (เมกะ