ยอมรับว่า การเขียนเชียร์กับการเขียนแช่ง
สำหรับ นักวิเคราะห์ ตอนนี้ การเขียนแช่งคงง่ายกว่าเขียนเชียร์เยอะ
ลองมาดูเหตุผล หนับหนุนความคิดของแต่ละอันครับ
แล้วลองมาดูว่า
อะไรจะเกิดขึ้นในภายภาคหน้าจริงๆกันแน่
ผมขออนุญาต ไม่ระบุ โบรกนะครับ
ผมว่า น่าจะเข้าใจผิดนะครับการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ 4 พ.ย.51 คาดว่าได้ประธานาธิบดีคนใหม่
ในพรรคการเมืองฝั่งตรงข้าม: เชื่อว่าอาจจะเป็นความหวังใหม่ ชุบชีวิตชีวาให้กับ
คนอเมริกัน ทำให้เกิดความหวังว่าจะพลิกฟื้นสถานการณ์เลวร้ายทางเศรษฐกิจได้
จะพลิกฟื้นได้จริงหรือไม่ เป็นอีกเรื่อง แต่เชื่อว่าระยะสั้น ชนชาติเขาก็คงมีกำลังใจ
ต่อสู้กับวิกฤติมากขึ้น
จริงๆ ต้องเอาจตุคามไปให้มากกว่า
What’s click?
การจะเรียกความเชื่อมั่น ในการบริโภคและการลงทุนให้พื้น อย่างแรกคือ ต้อง
ใช้เวลาเยียวยา แต่สิ่งที่อาจจะดูเหมือนไม่สำคัญ แต่เชื่อว่าช่วยได้ คือ การคลิ๊ก
ความเชื่อมั่นโดยใช้สื่อ โฆษณา ประชาสัมพันธ์เข้าช่วย ยกตัวอย่าง เวลามีวิกฤติ
และความเชื่อมั่นมักจะกลับมาโดยไม่รู้ตัว ถึงเวลานั้น จะมีโฆษณาดี ๆ อย่างเช่น
โฆษณาที่ธนาคารกรุงไทยออกมา “เงินกำลังจะหมุนไป กำลังจะหมุนไป ให้
ชุมชน” นั่นคือ กระแสหนึ่งจึงเรียกความเชื่อมั่นกลับมา แต่การใช้สื่อโฆษณาก็
ต้องมาให้ถูกที่ ถูกเวลาด้วยเหมือนกัน ในระยะสั้นควรกระตุ้นจากจุดเล็กไปหา
จุดใหญ่ เช่นกระตุ้นธุรกิจที่ได้รับความเสียหายมากจากเหตุการณ์ไม่ปกติ เช่น
ธุรกิจการท่องเที่ยว และธุรกิจการเกษตร ขึ้นไปก่อน และจึงมุ่งไปสู่ธุรกิจที่
เกี่ยวกับการออมและการลงทุนในภายหลัง
ไอ้การรีบาว แค่ 1-3 % (แต่เวลาลง พี่แกลงสัก 7 % )ตลาดหุ้นสหรัฐดีดกลับ ด้วยแรงหนุนหุ้นพลังงาน ดัชนีดาวโจนส์ปิดบวก 172.04 จุด ปิดที่ 8,691.25 จุด
(ชดเชยวันก่อนหน้าที่ปรับตัวลงแรงถึง 514.45 จุด) ด้วยแรงซื้อหุ้นในกลุ่มพลังงาน หลังราคาน้ำมันดีดตัว
จากระดับต่ำสุดในรอบ 16 เดือน จากคาดการณ์โอเปคจะลดกำลังการผลิต และกลุ่มสุขภาพ ซึ่งคาดว่าผล
ประกอบการยังคงแข็งแกร่ง ภาพรวมคาดว่าตลาดกำลังเผชิญกับแรงขายของกองทุน เพื่อรองรับการไถ่ถอน
หน่วยของผู้ลงทุน
แบบนี้ ใช้คำว่าดีดกลับ จะดีเหรอครับ น่าจะใช้คำว่า เด้งกลับไปเลยดีไหม