คำวันปัจจัยพื้นฐานมันคืออะไรกันแน่
-
- Verified User
- โพสต์: 26
- ผู้ติดตาม: 0
คำวันปัจจัยพื้นฐานมันคืออะไรกันแน่
โพสต์ที่ 1
คือ ผมได้ศึกษาเรื่องหุ้นมาพอสมควร
แต่ผมก็ไม่เข้าใจว่าแท้ท่จริงแล้ว
ปัจจัยพื้นฐานมันคืออะไกันแน่
คือเราต้องรู็้อะไรบ้างในคำนี้
แล้วที่เวลาผมฟังนักวิเคราะห์
บอกว่าปัจจัยพื้นฐานมันเปลี่ยนแล้ว
แล้วมันเปลี่ยนอะไรกันแน่
ขอบคุณครับ
แต่ผมก็ไม่เข้าใจว่าแท้ท่จริงแล้ว
ปัจจัยพื้นฐานมันคืออะไกันแน่
คือเราต้องรู็้อะไรบ้างในคำนี้
แล้วที่เวลาผมฟังนักวิเคราะห์
บอกว่าปัจจัยพื้นฐานมันเปลี่ยนแล้ว
แล้วมันเปลี่ยนอะไรกันแน่
ขอบคุณครับ
- picklife
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 2567
- ผู้ติดตาม: 0
Re: คำวันปัจจัยพื้นฐานมันคืออะไรกันแน่
โพสต์ที่ 2
ผมว่ามันคือทุกอย่างที่เกี่ยวข้องและมีผลกระทบกับกำไรของบริษัท ยกเว้นราคาซื้อขายครับtanamonji เขียน:คือ ผมได้ศึกษาเรื่องหุ้นมาพอสมควร
แต่ผมก็ไม่เข้าใจว่าแท้ท่จริงแล้ว
ปัจจัยพื้นฐานมันคืออะไกันแน่
คือเราต้องรู็้อะไรบ้างในคำนี้
แล้วที่เวลาผมฟังนักวิเคราะห์
บอกว่าปัจจัยพื้นฐานมันเปลี่ยนแล้ว
แล้วมันเปลี่ยนอะไรกันแน่
ขอบคุณครับ
เม่าน้อยคลำทางหาแสงไฟ
-
- Verified User
- โพสต์: 807
- ผู้ติดตาม: 0
คำวันปัจจัยพื้นฐานมันคืออะไรกันแน่
โพสต์ที่ 3
มันคือข้อมูลทางธุรกิจของบริษัทน่ะที่เราจะลงทุนน่ะครับ ตัวอย่างเช่น
บริษัททำธุรกิจอะไร
ขายสินค้าหรือบริการให้ใคร
ซื้อสินค้ามาจากไหน
คู่แข่งคือใคร
มีข้อได้เปรียบ เสียเปรียบอย่างไร
มีความเสี่ยงทางธุรกิจอย่างไร
ใครเป็นผู้บริหาร
เคยมีข้อพิพาทหรือคดีความไหม
จะเจ๊งหรือไม่
จะเติบโตหรือไม่
ข้อมูลปัจจัยพื้นฐานทั่วไปของแต่ละบริษัท มีอยู่ในเอกสาร 56-1 ครับ สามารถหาอ่านข้อมูลของแต่ละบริษัทได้ที่นี่ครับ
http://capital.sec.or.th/webapp/corp_fi ... ntent_id=1
นอกจากนี้เรายังสามารถหาข้อมูลเหล่านี้เพิ่มเติมได้ จากการสำรวจและลองใช้สินค้าและบริการด้วยตัวเอง หรือพูดคุยกับพนักงาน และผู้บริหาร
โดยทั่วไปนิยมนำข้อมูลปัจจัยพื้นฐาน ที่รวบรวมมาทำการวิเคราะห์ dca 5 force เพื่อวิเคราะห์ข้อได้เปรียบเสียเปรียบทางธุรกิจเทียบกับคู่แข่ง
1. อำนาจต่อรองของผู้ผลิตวัตถุดิบที่ธุรกิจนั้นต้องใช้ (supplier) – จำนวนของผู้ผลิต, ความยากง่ายในการเปลี่ยนผู้ผลิตและหันไปซื้อจากผู้ผลิตอื่น, ชนิดของวัตถุดิบที่ใช้ทดแทนได้
2. อำนาจต่อรองของลูกค้า (customer) – จำนวนของลูกค้ารายใหญ่, ความยากง่ายของลูกค้าที่จะเปลี่ยนใจ, ความอ่อนไหวของลูกค้าต่อราคาสินค้า
3. คู่แข่งของกิจการในตลาด (rivalry) - จำนวนของคู่แข่งในตลาด, ขนาดของคู่แข่งเมื่อเทียบกับกิจการของเรา, อัตราการเติบโตของตลาดโดยรวม
4. คู่แข่งใหม่ที่จะเข้ามาดำเนินกิจการเหมือน ๆ กัน (new entrant) – ความยากง่ายของการเข้ามาแข่งขัน, สัมปทาน
5. ผลิตภัณฑ์ทดแทน (substitute) - ลักษณะของผลิตภัณฑ์, ความยากง่ายในการเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ทดแทน
ที่มา http://mprandy.siriraj100.com/?paged=5
ถ้าบริษัทที่เราศึกษามีความแข็งแกร่ง น่าสนใจ เราก็ดูผลประกอบการที่งบการเงิน ว่าทำได้จริงอย่างที่พูดหรือเปล่า ถ้าบริษัทแข็งแกร่งจริง ก็ต้องมียอดขายเพิ่มขึ้น กำไรโตขึ้น อย่างต่อเนื่อง งบการเงินจะยืนยันได้ในระดับหนึ่งว่าบริษัทไม่ได้ขี้โม้ เอาแต่พูดสวยหรูแล้วทำไม่ได้
ทั้งหมดคือภาพรวมของสิ่งที่เรียกว่าปัจจัยพื้นฐานครับ
สุดท้ายเราก็เช็คราคาว่าเหมาะสมหรือไม่ เพื่อหาข้อสรุปสุดท้ายว่า น่าลงทุนไหม
รายละเอียดแต่ละหัวข้อไปศึกษาเพิ่มเติมเองล่ะกันนะครับ การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานไม่สูตรสำเร็จหรอก
บริษัททำธุรกิจอะไร
ขายสินค้าหรือบริการให้ใคร
ซื้อสินค้ามาจากไหน
คู่แข่งคือใคร
มีข้อได้เปรียบ เสียเปรียบอย่างไร
มีความเสี่ยงทางธุรกิจอย่างไร
ใครเป็นผู้บริหาร
เคยมีข้อพิพาทหรือคดีความไหม
จะเจ๊งหรือไม่
จะเติบโตหรือไม่
ข้อมูลปัจจัยพื้นฐานทั่วไปของแต่ละบริษัท มีอยู่ในเอกสาร 56-1 ครับ สามารถหาอ่านข้อมูลของแต่ละบริษัทได้ที่นี่ครับ
http://capital.sec.or.th/webapp/corp_fi ... ntent_id=1
นอกจากนี้เรายังสามารถหาข้อมูลเหล่านี้เพิ่มเติมได้ จากการสำรวจและลองใช้สินค้าและบริการด้วยตัวเอง หรือพูดคุยกับพนักงาน และผู้บริหาร
โดยทั่วไปนิยมนำข้อมูลปัจจัยพื้นฐาน ที่รวบรวมมาทำการวิเคราะห์ dca 5 force เพื่อวิเคราะห์ข้อได้เปรียบเสียเปรียบทางธุรกิจเทียบกับคู่แข่ง
1. อำนาจต่อรองของผู้ผลิตวัตถุดิบที่ธุรกิจนั้นต้องใช้ (supplier) – จำนวนของผู้ผลิต, ความยากง่ายในการเปลี่ยนผู้ผลิตและหันไปซื้อจากผู้ผลิตอื่น, ชนิดของวัตถุดิบที่ใช้ทดแทนได้
2. อำนาจต่อรองของลูกค้า (customer) – จำนวนของลูกค้ารายใหญ่, ความยากง่ายของลูกค้าที่จะเปลี่ยนใจ, ความอ่อนไหวของลูกค้าต่อราคาสินค้า
3. คู่แข่งของกิจการในตลาด (rivalry) - จำนวนของคู่แข่งในตลาด, ขนาดของคู่แข่งเมื่อเทียบกับกิจการของเรา, อัตราการเติบโตของตลาดโดยรวม
4. คู่แข่งใหม่ที่จะเข้ามาดำเนินกิจการเหมือน ๆ กัน (new entrant) – ความยากง่ายของการเข้ามาแข่งขัน, สัมปทาน
5. ผลิตภัณฑ์ทดแทน (substitute) - ลักษณะของผลิตภัณฑ์, ความยากง่ายในการเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ทดแทน
ที่มา http://mprandy.siriraj100.com/?paged=5
ถ้าบริษัทที่เราศึกษามีความแข็งแกร่ง น่าสนใจ เราก็ดูผลประกอบการที่งบการเงิน ว่าทำได้จริงอย่างที่พูดหรือเปล่า ถ้าบริษัทแข็งแกร่งจริง ก็ต้องมียอดขายเพิ่มขึ้น กำไรโตขึ้น อย่างต่อเนื่อง งบการเงินจะยืนยันได้ในระดับหนึ่งว่าบริษัทไม่ได้ขี้โม้ เอาแต่พูดสวยหรูแล้วทำไม่ได้
ทั้งหมดคือภาพรวมของสิ่งที่เรียกว่าปัจจัยพื้นฐานครับ
สุดท้ายเราก็เช็คราคาว่าเหมาะสมหรือไม่ เพื่อหาข้อสรุปสุดท้ายว่า น่าลงทุนไหม
รายละเอียดแต่ละหัวข้อไปศึกษาเพิ่มเติมเองล่ะกันนะครับ การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานไม่สูตรสำเร็จหรอก
อย่ายอมแพ้
- Lu Xun
- Verified User
- โพสต์: 242
- ผู้ติดตาม: 0
คำวันปัจจัยพื้นฐานมันคืออะไรกันแน่
โพสต์ที่ 4
[quote="Anti-Aircraft"]มันคือข้อมูลทางธุรกิจของบริษัทน่ะที่เราจะลงทุนน่ะครับ ตัวอย่างเช่น
บริษัททำธุรกิจอะไร
ขายสินค้าหรือบริการให้ใคร
ซื้อสินค้ามาจากไหน
คู่แข่งคือใคร
มีข้อได้เปรียบ เสียเปรียบอย่างไร
มีความเสี่ยงทางธุรกิจอย่างไร
ใครเป็นผู้บริหาร
เคยมีข้อพิพาทหรือคดีความไหม
จะเจ๊งหรือไม่
จะเติบโตหรือไม่
ข้อมูลปัจจัยพื้นฐานทั่วไปของแต่ละบริษัท มีอยู่ในเอกสาร 56-1 ครับ สามารถหาอ่านข้อมูลของแต่ละบริษัทได้ที่นี่ครับ
http://capital.sec.or.th/webapp/corp_fi ... ntent_id=1
นอกจากนี้เรายังสามารถหาข้อมูลเหล่านี้เพิ่มเติมได้ จากการสำรวจและลองใช้สินค้าและบริการด้วยตัวเอง หรือพูดคุยกับพนักงาน และผู้บริหาร
โดยทั่วไปนิยมนำข้อมูลปัจจัยพื้นฐาน ที่รวบรวมมาทำการวิเคราะห์ dca 5 force เพื่อวิเคราะห์ข้อได้เปรียบเสียเปรียบทางธุรกิจเทียบกับคู่แข่ง
1. อำนาจต่อรองของผู้ผลิตวัตถุดิบที่ธุรกิจนั้นต้องใช้ (supplier)
บริษัททำธุรกิจอะไร
ขายสินค้าหรือบริการให้ใคร
ซื้อสินค้ามาจากไหน
คู่แข่งคือใคร
มีข้อได้เปรียบ เสียเปรียบอย่างไร
มีความเสี่ยงทางธุรกิจอย่างไร
ใครเป็นผู้บริหาร
เคยมีข้อพิพาทหรือคดีความไหม
จะเจ๊งหรือไม่
จะเติบโตหรือไม่
ข้อมูลปัจจัยพื้นฐานทั่วไปของแต่ละบริษัท มีอยู่ในเอกสาร 56-1 ครับ สามารถหาอ่านข้อมูลของแต่ละบริษัทได้ที่นี่ครับ
http://capital.sec.or.th/webapp/corp_fi ... ntent_id=1
นอกจากนี้เรายังสามารถหาข้อมูลเหล่านี้เพิ่มเติมได้ จากการสำรวจและลองใช้สินค้าและบริการด้วยตัวเอง หรือพูดคุยกับพนักงาน และผู้บริหาร
โดยทั่วไปนิยมนำข้อมูลปัจจัยพื้นฐาน ที่รวบรวมมาทำการวิเคราะห์ dca 5 force เพื่อวิเคราะห์ข้อได้เปรียบเสียเปรียบทางธุรกิจเทียบกับคู่แข่ง
1. อำนาจต่อรองของผู้ผลิตวัตถุดิบที่ธุรกิจนั้นต้องใช้ (supplier)