เฉลี่ยแต่ละปี มีหุ้นที่ชนะตลาดกี่ตัว
- kin
- Verified User
- โพสต์: 668
- ผู้ติดตาม: 0
เฉลี่ยแต่ละปี มีหุ้นที่ชนะตลาดกี่ตัว
โพสต์ที่ 1
ผมสงสัยว่าถ้าเราสุ่มเลือกหุ้นมา 1 ตัว แล้วถือไว้เป็นระยะเวลาหนึ่งปี ความน่าจะเป็นที่จะชนะตลาดจะเป็นเท่าไหร่ เพราะไม่คิดว่าจะเป็น 50:50 แน่ๆ คงมีหุ้นเพียงแค่กลุ่มเดียว ที่ทำผลงานได้ดีกว่าตลาดในแต่ละปีน่ะครับ
อยากตั้งข้อสังเกตขึ้นมา ว่าคนที่ถือหุ้นแบบสุ่ม โอกาสชนะตลาดมีกี่ % และถ้าเพิ่มความสามารถตัวเองอีกเล็กน้อย กรองหุ้นเน่าที่คิดว่าแพ้ตลาดชัวร์ๆ ออกไป จาก 500 ตัว อาจตัดได้ส่วนนึง ความน่าจะเป็นจะเพิ่มเป็นเท่าไหร่
คิดเล่นๆ ไว้ให้รู้ว่า จริงๆ แล้ว มันไม่ง่าย ที่จะชนะตลาด แม้จะถือระยะยาวก็ตาม :lol:
อยากตั้งข้อสังเกตขึ้นมา ว่าคนที่ถือหุ้นแบบสุ่ม โอกาสชนะตลาดมีกี่ % และถ้าเพิ่มความสามารถตัวเองอีกเล็กน้อย กรองหุ้นเน่าที่คิดว่าแพ้ตลาดชัวร์ๆ ออกไป จาก 500 ตัว อาจตัดได้ส่วนนึง ความน่าจะเป็นจะเพิ่มเป็นเท่าไหร่
คิดเล่นๆ ไว้ให้รู้ว่า จริงๆ แล้ว มันไม่ง่าย ที่จะชนะตลาด แม้จะถือระยะยาวก็ตาม :lol:
- leaderinshadow
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 1765
- ผู้ติดตาม: 0
เฉลี่ยแต่ละปี มีหุ้นที่ชนะตลาดกี่ตัว
โพสต์ที่ 2
น่าจะเป็นร้อยตัว
แต่...
ในตลาดมีหุ้น 500 กว่าตัว :lol:
แต่...
ในตลาดมีหุ้น 500 กว่าตัว :lol:
- peacedev
- Verified User
- โพสต์: 668
- ผู้ติดตาม: 0
เฉลี่ยแต่ละปี มีหุ้นที่ชนะตลาดกี่ตัว
โพสต์ที่ 4
ถ้าสุ่มเอา Expect return ก็ควรจะเท่ากับตลาดครับ
เพราะ หุ้นที่คุณสุ่ม มีโอกาสที่จะเป็นหุ้นกลาง ๆ ที่ให้ผลตอบแทนพอ ๆ กับตลาด
หรือ เป็นหุ้นส่วนน้อยที่ชนะตลาดได้มาก ๆ
หรือ เป็นหุ้นส่วนหนึ่งที่แพ้ตลาดได้เหมือนกัน
เพราะ หุ้นที่คุณสุ่ม มีโอกาสที่จะเป็นหุ้นกลาง ๆ ที่ให้ผลตอบแทนพอ ๆ กับตลาด
หรือ เป็นหุ้นส่วนน้อยที่ชนะตลาดได้มาก ๆ
หรือ เป็นหุ้นส่วนหนึ่งที่แพ้ตลาดได้เหมือนกัน
http://peacedev.wordpress.com
"The Quant"
"The Quant"
- peacedev
- Verified User
- โพสต์: 668
- ผู้ติดตาม: 0
เฉลี่ยแต่ละปี มีหุ้นที่ชนะตลาดกี่ตัว
โพสต์ที่ 5
ดังนั้น ถ้าเราทำ DCA กับ SET50
ผลตอบแทนคาดหวัง จะเยอะกว่าตลาด เพราะ เป็นหุ้นที่ถูกคัดกรองมาแล้วขั้นหนึ่ง
ผลตอบแทนคาดหวัง จะเยอะกว่าตลาด เพราะ เป็นหุ้นที่ถูกคัดกรองมาแล้วขั้นหนึ่ง
http://peacedev.wordpress.com
"The Quant"
"The Quant"
- peacedev
- Verified User
- โพสต์: 668
- ผู้ติดตาม: 0
เฉลี่ยแต่ละปี มีหุ้นที่ชนะตลาดกี่ตัว
โพสต์ที่ 7
ถ้าคุณถือหุ้นทุกตัวในตลาดในหน่วยที่เท่ากัน ผลตอบแทนก็จะเท่ากับตลาดพอดี(ไม่รวมค่าคอมมิชชั่น)
ถ้าคุณถือมันน้อยตัวลงแบบสุ่ม(ปราศจากการคัดกรอง ปราศจาก bias) Expect Return มันจะต่ำกว่าเดิมไม่ได้ สิ่งที่ได้มาคือ Error rate หรือความไม่แน่นอนที่สูงขึ้น
ในทางกลับกันถ้าคุณเลือกมันแบบสุ่มโดยปราศจากการคัดกรอง ปราศจาก bias Expect Return ก็เท่าเดิมอยู่ดีครับ เพียงแต่ถือน้อยมี Error rate พ่วงมาสูง อาจฟรุ๊กดีกว่าตลาดได้ อาจบังเอิญแย่กว่าตลาดได้ แต่ถ้าเท่าตลาดก็ไม่แปลกอยู่ดี
ถ้าคุณถือมันน้อยตัวลงแบบสุ่ม(ปราศจากการคัดกรอง ปราศจาก bias) Expect Return มันจะต่ำกว่าเดิมไม่ได้ สิ่งที่ได้มาคือ Error rate หรือความไม่แน่นอนที่สูงขึ้น
ในทางกลับกันถ้าคุณเลือกมันแบบสุ่มโดยปราศจากการคัดกรอง ปราศจาก bias Expect Return ก็เท่าเดิมอยู่ดีครับ เพียงแต่ถือน้อยมี Error rate พ่วงมาสูง อาจฟรุ๊กดีกว่าตลาดได้ อาจบังเอิญแย่กว่าตลาดได้ แต่ถ้าเท่าตลาดก็ไม่แปลกอยู่ดี
http://peacedev.wordpress.com
"The Quant"
"The Quant"
- kin
- Verified User
- โพสต์: 668
- ผู้ติดตาม: 0
เฉลี่ยแต่ละปี มีหุ้นที่ชนะตลาดกี่ตัว
โพสต์ที่ 8
ผมงงๆ คุณ peacedev อะครับ
คือผมตั้งกระทู้สมมติฐานไว้ว่าถ้าซื้อหุ้น 1 ตัวแล้วถือเป็นเวลา 1 ปี แบบสุ่มเอา จะมีโอกาสชนะตลาดแค่ไหน
ถ้าสมมติว่ามี 200 ตัวที่ชนะตลาด แล้วเราหยิบมั่วๆ มา 1 ตัว ความน่าจะเป็นที่เราจะชนะตลาดคือ 200/500 = 0.4 ประมาณเนี้ยอ่ะคับ เพียงแต่ผมไม่ทราบว่าเฉลี่ยแต่ละปี มีหุ้นกี่ตัวที่ชนะตลาด เข้าใจว่าไม่ใช่ 250 จาก 500 ตัวน่ะครับ
ผมเข้าใจผิดถูกอย่างไร ชี้แนะด้วยครับ :)
คือผมตั้งกระทู้สมมติฐานไว้ว่าถ้าซื้อหุ้น 1 ตัวแล้วถือเป็นเวลา 1 ปี แบบสุ่มเอา จะมีโอกาสชนะตลาดแค่ไหน
ถ้าสมมติว่ามี 200 ตัวที่ชนะตลาด แล้วเราหยิบมั่วๆ มา 1 ตัว ความน่าจะเป็นที่เราจะชนะตลาดคือ 200/500 = 0.4 ประมาณเนี้ยอ่ะคับ เพียงแต่ผมไม่ทราบว่าเฉลี่ยแต่ละปี มีหุ้นกี่ตัวที่ชนะตลาด เข้าใจว่าไม่ใช่ 250 จาก 500 ตัวน่ะครับ
ผมเข้าใจผิดถูกอย่างไร ชี้แนะด้วยครับ :)
- peacedev
- Verified User
- โพสต์: 668
- ผู้ติดตาม: 0
เฉลี่ยแต่ละปี มีหุ้นที่ชนะตลาดกี่ตัว
โพสต์ที่ 9
อย่าเรียกว่าชี้แนะเลยครับ เรียกว่าแลกเปลี่ยนกันดีกว่า
ตรงนี้ผมคิดว่าโมเดลของคุณ kin ผิดพลาดที่ไม่ได้ชั่งน้ำหนักของ 200 ตัวที่ over perform ตลาดน่ะครับ
อีก 300 ตัวมันอาจจะแพ้ตลาด แต่แพ้ไม่มากก็ได้ ส่วนตัวที่ชนะ อาจจะชนะมาก ๆ ก็ได้
ถ้าให้ถูกต้องประเมิน upside/downside เทียบกับตลาดด้วยน่ะครับ
เหมือนที่มีคนบอกว่า Gorge Soros ทายผิดบ่อยกว่าทายถูก
แต่ถูกทีนี่เขาได้เยอะมาก ผิดแต่ละครั้งก็เสียไม่มาก
มีคนงงผม จนผมชินละครับ
ตรงนี้ผมคิดว่าโมเดลของคุณ kin ผิดพลาดที่ไม่ได้ชั่งน้ำหนักของ 200 ตัวที่ over perform ตลาดน่ะครับ
อีก 300 ตัวมันอาจจะแพ้ตลาด แต่แพ้ไม่มากก็ได้ ส่วนตัวที่ชนะ อาจจะชนะมาก ๆ ก็ได้
ถ้าให้ถูกต้องประเมิน upside/downside เทียบกับตลาดด้วยน่ะครับ
เหมือนที่มีคนบอกว่า Gorge Soros ทายผิดบ่อยกว่าทายถูก
แต่ถูกทีนี่เขาได้เยอะมาก ผิดแต่ละครั้งก็เสียไม่มาก
มีคนงงผม จนผมชินละครับ
http://peacedev.wordpress.com
"The Quant"
"The Quant"
- picklife
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 2567
- ผู้ติดตาม: 0
เฉลี่ยแต่ละปี มีหุ้นที่ชนะตลาดกี่ตัว
โพสต์ที่ 10
SET 923.89kin เขียน:ผมว่าถ้าสุ่มเอา expect return ไม่น่าเท่ากับตลาดนะครับ กลุ่มที่ไปตามดัชนีจะว่าไปเป็นหุ้นแค่กลุ่มเดียว (พวก SET50) ถ้าสุ่มเอาจิงๆ น่าจะแพ้ตลาด เพราะน่าจะมีหุ้นไม่ถึงครึ่งที่เหนือกว่าตลาด
SET50 635.47
SET100 1,395.00
ดัชนีชุดนี้บอกอะไรเรา
1.SET50 โตต่ำกว่าดัชนีรวม
2.SETในช่วง50-100 โตมากกว่าดัชนีรวม
3.SET>100 โตต่ำกว่าดัชนีรวม
ดังนั้นถ้ามองให้ดีขนาดของบริษัทจะเป็นไปตามS-Curve
ช่วงตั้งฐาน SET>100
ช่วงเติบโต SET 50-100
ช่วงอิ่มตัว SET 50
เม่าน้อยคลำทางหาแสงไฟ
- picklife
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 2567
- ผู้ติดตาม: 0
เฉลี่ยแต่ละปี มีหุ้นที่ชนะตลาดกี่ตัว
โพสต์ที่ 11
ลองตอบคำถามที่ถามว่ามีหุ้นกี่ตัวที่ชนะSET
SET50 แพ้SET ให้เป็นชนะSETประมาณ0ตัว
SET50-100 ชนะSET ให้เป็นชนะSETประมาณ50ตัว
SET100-500 พอๆกับSET ให้ชนะSET50% ประมาณ400*.50=200ตัว
รวมเป็น 250ตัว ครึ่งหนึ่งของหุ้นในตลาดพอดี
แสดงว่าค่าที่ใกล้เคียงที่สุดก็คือประมาณครึ่งหนึ่งหรือ250ตัวครับ
SET50 แพ้SET ให้เป็นชนะSETประมาณ0ตัว
SET50-100 ชนะSET ให้เป็นชนะSETประมาณ50ตัว
SET100-500 พอๆกับSET ให้ชนะSET50% ประมาณ400*.50=200ตัว
รวมเป็น 250ตัว ครึ่งหนึ่งของหุ้นในตลาดพอดี
แสดงว่าค่าที่ใกล้เคียงที่สุดก็คือประมาณครึ่งหนึ่งหรือ250ตัวครับ
เม่าน้อยคลำทางหาแสงไฟ
- VI Wannabe
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 1014
- ผู้ติดตาม: 0
เฉลี่ยแต่ละปี มีหุ้นที่ชนะตลาดกี่ตัว
โพสต์ที่ 12
เอ่อ Indexes ทั้งสามตัวนี่ launch คนละปีกันเลยนะครับ ต่างกันเป็น 10 ปีได้
"Attempt to be fearful when others are greedy and to be greedy only when others are fearful"
"It's far better to buy a wonderful company at a fair price than a fair company at a wonderful price"
"It's far better to buy a wonderful company at a fair price than a fair company at a wonderful price"
- Murphy.Bkk
- Verified User
- โพสต์: 37
- ผู้ติดตาม: 0
เฉลี่ยแต่ละปี มีหุ้นที่ชนะตลาดกี่ตัว
โพสต์ที่ 13
ถ้าคิดแบบตรงไปตรงมา (ซึ่งไม่ถูก) ก็จะได้ว่า ครึ่งหนึ่ง มากกว่าค่าเฉลี่ย (set index)
แต่ที่จริงแล้วไม่ใช่ เพราะว่า set index เป็นการคำนวณที่มีน้ำหนักมูลค่าตลาดของหุ้นถ่วงด้วย เช่น PTT ขึ้นลงแต่ละจุดมีผลต่อ set index มากกว่าหุ้นตัวเล็กๆขึ้น 1 จุด
ดังนั้น ก็ขึ้นอยู่ว่าในปีนั้นๆ หุ้นที่ขึ้นส่วนใหญ่เป็นหุ้นตัวใหญ่หรือเปล่า ถ้าหุ้นตัวใหญ่เช่นใน set50 ขึ้นเป็นส่วนใหญ่ ปีนั้น ก็มีหุ้นที่ชนะตลาด จำนวนน้อย เช่น 100, 200 ตัว
แต่ถ้าปีไหน หุ้นส่วนใหญ่ที่ขึ้นเป็นหุ้นเล็ก ปีนั้นก็มีหุ้นชนะตลาด จำนวนมาก
นี่คิดคร่าวๆนะครับ ถ้าจะหาจริงๆ คงต้องไปดูข้อมูลจริงเป็นปีๆไป
แต่ที่จริงแล้วไม่ใช่ เพราะว่า set index เป็นการคำนวณที่มีน้ำหนักมูลค่าตลาดของหุ้นถ่วงด้วย เช่น PTT ขึ้นลงแต่ละจุดมีผลต่อ set index มากกว่าหุ้นตัวเล็กๆขึ้น 1 จุด
ดังนั้น ก็ขึ้นอยู่ว่าในปีนั้นๆ หุ้นที่ขึ้นส่วนใหญ่เป็นหุ้นตัวใหญ่หรือเปล่า ถ้าหุ้นตัวใหญ่เช่นใน set50 ขึ้นเป็นส่วนใหญ่ ปีนั้น ก็มีหุ้นที่ชนะตลาด จำนวนน้อย เช่น 100, 200 ตัว
แต่ถ้าปีไหน หุ้นส่วนใหญ่ที่ขึ้นเป็นหุ้นเล็ก ปีนั้นก็มีหุ้นชนะตลาด จำนวนมาก
นี่คิดคร่าวๆนะครับ ถ้าจะหาจริงๆ คงต้องไปดูข้อมูลจริงเป็นปีๆไป
เราซื้อหุ้นดีทุกตัวไม่ได้ แต่หุ้นที่เราซื้อต้องดีเท่านั้น
เราซื้อหุ้นทุกตัวที่ขึ้นไม่ได้ แต่หุ้นที่เราซื้อต้องขึ้นเท่านั้น
เราซื้อหุ้นทุกตัวที่ขึ้นไม่ได้ แต่หุ้นที่เราซื้อต้องขึ้นเท่านั้น
-
- Verified User
- โพสต์: 52
- ผู้ติดตาม: 0
Re: เฉลี่ยแต่ละปี มีหุ้นที่ชนะตลาดกี่ตัว
โพสต์ที่ 15
[quote="kin"]ผมสงสัยว่าถ้าเราสุ่มเลือกหุ้นมา 1 ตัว แล้วถือไว้เป็นระยะเวลาหนึ่งปี ความน่าจะเป็นที่จะชนะตลาดจะเป็นเท่าไหร่ เพราะไม่คิดว่าจะเป็น 50:50 แน่ๆ คงมีหุ้นเพียงแค่กลุ่มเดียว ที่ทำผลงานได้ดีกว่าตลาดในแต่ละปีน่ะครับ
อยากตั้งข้อสังเกตขึ้นมา ว่าคนที่ถือหุ้นแบบสุ่ม โอกาสชนะตลาดมีกี่ % และถ้าเพิ่มความสามารถตัวเองอีกเล็กน้อย กรองหุ้นเน่าที่คิดว่าแพ้ตลาดชัวร์ๆ ออกไป จาก 500 ตัว อาจตัดได้ส่วนนึง ความน่าจะเป็นจะเพิ่มเป็นเท่าไหร่
คิดเล่นๆ ไว้ให้รู้ว่า จริงๆ แล้ว มันไม่ง่าย ที่จะชนะตลาด แม้จะถือระยะยาวก็ตาม
อยากตั้งข้อสังเกตขึ้นมา ว่าคนที่ถือหุ้นแบบสุ่ม โอกาสชนะตลาดมีกี่ % และถ้าเพิ่มความสามารถตัวเองอีกเล็กน้อย กรองหุ้นเน่าที่คิดว่าแพ้ตลาดชัวร์ๆ ออกไป จาก 500 ตัว อาจตัดได้ส่วนนึง ความน่าจะเป็นจะเพิ่มเป็นเท่าไหร่
คิดเล่นๆ ไว้ให้รู้ว่า จริงๆ แล้ว มันไม่ง่าย ที่จะชนะตลาด แม้จะถือระยะยาวก็ตาม
-
- Verified User
- โพสต์: 52
- ผู้ติดตาม: 0
Re: เฉลี่ยแต่ละปี มีหุ้นที่ชนะตลาดกี่ตัว
โพสต์ที่ 16
วันนี้ผมเอาการบ้านตอนที่ 1 มาส่งครับ ผิดพลาดประการใด เรียนผู้รู้แนะข้อผิดพลาดเพื่อทำความเข้าใจเสียใหม่และแก้ไขให้ถุกต้องครับleechong เขียน:ขอเวลาผมทำการบ้านก่อนนะครับ เพราะฐานข้อมูลผมมีแค่3-5ปีย้อนหลัง ผมจะไปดูข้อมูลมากก่อนค่อยสรุป (ผิด/ถูก บอกผมด้วย ไม่ยากลำบากจะรีบแก้ไข)
คำเตือน! 1. ฐานข้อมูลที่ผมมีอยู่อาจจะไม่ครบถ้วนทุกทุกหลักทรัพย์
2. ผลได้ตัดข้อมูลในส่วนที่เป็นกองทุนอสังหาริมทรัพย์ออกไป
3. วิชาความรู้ประกอบการพิจารณาเป็นวิชาที่มีอยู่จริง ได้แก่ วิชาความน่าจะเป็น คณิตศาสตร์ ม.ปลาย, วิชาการจัดหมู่ คณิตศาสตร์ ม.ปลาย, วิชาสถิติพื้นฐาน มหาวิทยาลัย กรุงเทพ เป็นต้น ประกอบการพิจารณา
4. ปีที่ผมใช้ในการทดสอบคือ ปี 2550-2551และ ปี 2551-2552
5. สิ่งที่ได้เป็นข้อเท็จจริงในแง่มุมหนึ่ง ใช้ตอบสมมุติฐานเท่านั้น
ข้อมูลปี 2550 โดยสรุป
กำหนดให้ T แทนข้อความที่เป็นจริง
กำหนดให้ F แทนข้อความที่เป็นเท็จ
กำหนดให้ N แทนจำนวนหลักทรัพย์ทั้งตลาดมี
กำหนดให้ r แทนจำนวนหลักทรัพย์ที่ถูกสุ่มเลือก
กำหนกให้ EPS แทนกำไรต่อหุ้น
กำหนดให้ PE แทนตัวชีวัดราคาต่อกำไร (ของหลักทรัพย์ชนะของตลาด)
กำหนดให้ P แทนการเป็นแปลงของราคาปลายปีหารด้วยราคาต้นปี ของหลักทรัพย์ชนะของตลาด)
จากหลักทรัพย์ทั้งหมด N= 426 หลักทรัพย์,
เป็นหลักทรัพย์ P(T) = 249 หลักทรัพย์,
เป็นหลักทรัพย์ P(F) = 177 หลักทรัพย,
เพราะฉะนั้น ในการเลือกสุ่มหลักทรัพย์ใดๆ จำนวน r หลักทรัพย์ จากหลักทรัพย์ทั้งหมดของตลาด โอกาสที่หลักทรัพย์ที่ถูกสุ่มเลือกทั้งหมดจะสามารถชนะตลาดโดยรวมได้เป็นดังนี้
N P(T) P(F) r Pr(P(T))
426 249 177 1 58.5%
426 249 177 2 34.1%
426 249 177 3 19.9%
426 249 177 4 11.6%
426 249 177 5 6.7%
426 249 177 6 3.9%
426 249 177 7 2.2%
426 249 177 8 1.3%
426 249 177 9 0.7%
426 249 177 10 0.4%
เช่น หรือ สุ่มหลักทรัพย์ 4 หลักทรัพย์ตอนต้นปี พอสิ้นปีมีโอกาสชนะตลาดทุกหลักทรัพย์ 11.6% เป็นต้น
(เป็นสมมุติฐานที่1) ถ้าเราเลือกลงทุนแบบสุ่มเฉพาะในหลักทรัพย์ที่มีกำไร EPS โอกาสที่จะชนะตลาดได้น่าจะเพิ่มขึ้น ดังนี้
EPS(T) P(T) P(F) r Pr(P(T))
339 202 137 1 59.6%
339 202 137 2 35.4%
339 202 137 3 21.0%
339 202 137 4 12.5%
339 202 137 5 7.4%
339 202 137 6 4.3%
339 202 137 7 2.6%
339 202 137 8 1.5%
339 202 137 9 0.9%
339 202 137 10 0.5%
เช่น เดิมเรา สุ่มหลักทรัพย์ 1 ทรัพย์ตอนต้นปี พอสิ้นปีมีโอกาสชนะตลาด 58.5% แต่ตอนนี้เราเลือกเฉพาะหลักทรัพย์ที่มีกำไรโอกาศจึงเพิ่มขึ้นมากกว่า เป็น 59.6% ดังนั้นสมมุติฐานที่1เป็นจริง
(เป็นสมมุติฐานที่2) ถ้าเราเลือกลงทุนแบบสุ่มเฉพาะในหลักทรัพย์ที่มีราคาต่อกำไร (ของหลักทรัพย์ชนะของตลาด) โอกาสที่จะชนะตลาดได้น่าจะเพิ่มขึ้นไปอีก ดังนี้
PE(T) P(T) P(F) r Pr(P(T))
339 115 62 1 65.0%
339 115 62 2 42.1%
339 115 62 3 27.2%
339 115 62 4 17.5%
339 115 62 5 11.2%
339 115 62 6 7.2%
339 115 62 7 4.6%
339 115 62 8 2.9%
339 115 62 9 1.8%
339 202 137 10 1.2%
เช่น เดิมเรา สุ่มหลักทรัพย์ 1 ทรัพย์ตอนต้นปี พอสิ้นปีมีโอกาสชนะตลาด 58.5% และต่อมาเราเลือกเฉพาะหลักทรัพย์ที่มีกำไร ทำให้โอกาศชนะตลาดจึงเพิ่มขึ้นมากกว่า เป็น 59.6% แต่พอเราเลือกลงทุนแบบสุ่มเฉพาะในหลักทรัพย์ที่มีราคาต่อกำไร (ของหลักทรัพย์ชนะของตลาด) เพิ่มเงื่อนไขอีก ผลทำให้โอกาสชนะตลาดเพิ่มขึ้นอีกเป็น 65.0% ปรากฎว่าดังนั้นสมมุติฐานที่2เป็นจริง
ส่งการบ้านตอนที่ 1
-
- Verified User
- โพสต์: 52
- ผู้ติดตาม: 0
Re: เฉลี่ยแต่ละปี มีหุ้นที่ชนะตลาดกี่ตัว
โพสต์ที่ 17
กระทู้บน การบ้านมีข้อผิดพลาด ช่วยลบด้วยครับ
กระทู้นี้ การบ้านแก้ไขจุดผิดพลาดแล้วครับ ขออภัยอย่างแรง (คอทองแดง)
คำเตือน! 1. ฐานข้อมูลที่ผมมีอยู่อาจจะไม่ครบถ้วนทุกทุกหลักทรัพย์
2. ผลได้ตัดข้อมูลในส่วนที่เป็นกองทุนอสังหาริมทรัพย์ออกไป
3. วิชาความรู้ประกอบการพิจารณาเป็นวิชาที่มีอยู่จริง ได้แก่ วิชาความน่าจะเป็น คณิตศาสตร์ ม.ปลาย, วิชาการจัดหมู่ คณิตศาสตร์ ม.ปลาย, วิชาสถิติพื้นฐาน มหาวิทยาลัย กรุงเทพ เป็นต้น ประกอบการพิจารณา
4. ปีที่ผมใช้ในการทดสอบคือ ปี 2550-2551และ ปี 2551-2552
5. สิ่งที่ได้เป็นข้อเท็จจริงในแง่มุมหนึ่ง ใช้ตอบสมมุติฐานเท่านั้น
ข้อมูลปี 2550 โดยสรุป
กำหนดให้ T แทนข้อความที่เป็นจริง
กำหนดให้ F แทนข้อความที่เป็นเท็จ
กำหนดให้ N แทนจำนวนหลักทรัพย์ทั้งตลาดมี
กำหนดให้ r แทนจำนวนหลักทรัพย์ที่ถูกสุ่มเลือก
กำหนกให้ EPS แทนกำไรต่อหุ้น
กำหนดให้ PE แทนตัวชีวัดราคาต่อกำไร (ของหลักทรัพย์ชนะของตลาด)
กำหนดให้ P แทนการเป็นแปลงของราคาปลายปีหารด้วยราคาต้นปี ของหลักทรัพย์ชนะของตลาด)
จากหลักทรัพย์ทั้งหมด N= 426 หลักทรัพย์,
เป็นหลักทรัพย์ P(T) = 249 หลักทรัพย์,
เป็นหลักทรัพย์ P(F) = 177 หลักทรัพย,
เพราะฉะนั้น ในการเลือกสุ่มหลักทรัพย์ใดๆ จำนวน r หลักทรัพย์ จากหลักทรัพย์ทั้งหมดของตลาด โอกาสที่หลักทรัพย์ที่ถูกสุ่มเลือกทั้งหมดจะสามารถชนะตลาดโดยรวมได้เป็นดังนี้
N P(T) P(F) r Pr(P(T))
426 249 177 1 58.5%
426 249 177 2 34.1%
426 249 177 3 19.9%
426 249 177 4 11.6%
426 249 177 5 6.7%
426 249 177 6 3.9%
426 249 177 7 2.2%
426 249 177 8 1.3%
426 249 177 9 0.7%
426 249 177 10 0.4%
เช่น ถ้าเราสุ่มหลักทรัพย์ 1 ทรัพย์ตอนต้นปี พอสิ้นปีมีโอกาสชนะตลาด 58.5%หรือ สุ่มหลักทรัพย์ 4 หลักทรัพย์ตอนต้นปี พอสิ้นปีมีโอกาสชนะตลาดทุกหลักทรัพย์ 11.6% เป็นต้น
(เป็นสมมุติฐานที่1) ถ้าเราเลือกลงทุนแบบสุ่มเฉพาะในหลักทรัพย์ที่มีกำไร EPS โอกาสที่จะชนะตลาดได้น่าจะเพิ่มขึ้น ดังนี้
EPS(T) P(T) P(F) r Pr(P(T))
339 202 137 1 59.6%
339 202 137 2 35.4%
339 202 137 3 21.0%
339 202 137 4 12.5%
339 202 137 5 7.4%
339 202 137 6 4.3%
339 202 137 7 2.6%
339 202 137 8 1.5%
339 202 137 9 0.9%
339 202 137 10 0.5%
เช่น เดิมเรา สุ่มหลักทรัพย์ 1 ทรัพย์ตอนต้นปี พอสิ้นปีมีโอกาสชนะตลาด 58.5% แต่ตอนนี้เราเลือกเฉพาะหลักทรัพย์ที่มีกำไรโอกาศจึงเพิ่มขึ้นมากกว่า เป็น 59.6% ดังนั้นสมมุติฐานที่1เป็นจริง
(เป็นสมมุติฐานที่2) ถ้าเราเลือกลงทุนแบบสุ่มเฉพาะในหลักทรัพย์ที่มีราคาต่อกำไร (ของหลักทรัพย์ชนะของตลาด) โอกาสที่จะชนะตลาดได้น่าจะเพิ่มขึ้นไปอีก ดังนี้
PE(T) P(T) P(F) r Pr(P(T))
339 115 62 1 65.0%
339 115 62 2 42.1%
339 115 62 3 27.2%
339 115 62 4 17.5%
339 115 62 5 11.2%
339 115 62 6 7.2%
339 115 62 7 4.6%
339 115 62 8 2.9%
339 115 62 9 1.8%
339 115 62 10 1.2%
เช่น เดิมเรา สุ่มหลักทรัพย์ 1 ทรัพย์ตอนต้นปี พอสิ้นปีมีโอกาสชนะตลาด 58.5% และต่อมาเราเลือกเฉพาะหลักทรัพย์ที่มีกำไร ทำให้โอกาศชนะตลาดจึงเพิ่มขึ้นมากกว่า เป็น 59.6% แต่พอเราเลือกลงทุนแบบสุ่มเฉพาะในหลักทรัพย์ที่มีราคาต่อกำไร (ของหลักทรัพย์ชนะของตลาด) เพิ่มเงื่อนไขอีก ผลทำให้โอกาสชนะตลาดเพิ่มขึ้นอีกเป็น 65.0% ปรากฎว่าดังนั้นสมมุติฐานที่2เป็นจริง
ส่งการบ้านตอนที่ 1
กระทู้นี้ การบ้านแก้ไขจุดผิดพลาดแล้วครับ ขออภัยอย่างแรง (คอทองแดง)
วันนี้ผมเอาการบ้านตอนที่ 1 มาส่งครับ ผิดพลาดประการใด เรียนผู้รู้แนะข้อผิดพลาดเพื่อทำความเข้าใจเสียใหม่และแก้ไขให้ถุกต้องครับleechong เขียน:ขอเวลาผมทำการบ้านก่อนนะครับ เพราะฐานข้อมูลผมมีแค่3-5ปีย้อนหลัง ผมจะไปดูข้อมูลมากก่อนค่อยสรุป (ผิด/ถูก บอกผมด้วย ไม่ยากลำบากจะรีบแก้ไข)
คำเตือน! 1. ฐานข้อมูลที่ผมมีอยู่อาจจะไม่ครบถ้วนทุกทุกหลักทรัพย์
2. ผลได้ตัดข้อมูลในส่วนที่เป็นกองทุนอสังหาริมทรัพย์ออกไป
3. วิชาความรู้ประกอบการพิจารณาเป็นวิชาที่มีอยู่จริง ได้แก่ วิชาความน่าจะเป็น คณิตศาสตร์ ม.ปลาย, วิชาการจัดหมู่ คณิตศาสตร์ ม.ปลาย, วิชาสถิติพื้นฐาน มหาวิทยาลัย กรุงเทพ เป็นต้น ประกอบการพิจารณา
4. ปีที่ผมใช้ในการทดสอบคือ ปี 2550-2551และ ปี 2551-2552
5. สิ่งที่ได้เป็นข้อเท็จจริงในแง่มุมหนึ่ง ใช้ตอบสมมุติฐานเท่านั้น
ข้อมูลปี 2550 โดยสรุป
กำหนดให้ T แทนข้อความที่เป็นจริง
กำหนดให้ F แทนข้อความที่เป็นเท็จ
กำหนดให้ N แทนจำนวนหลักทรัพย์ทั้งตลาดมี
กำหนดให้ r แทนจำนวนหลักทรัพย์ที่ถูกสุ่มเลือก
กำหนกให้ EPS แทนกำไรต่อหุ้น
กำหนดให้ PE แทนตัวชีวัดราคาต่อกำไร (ของหลักทรัพย์ชนะของตลาด)
กำหนดให้ P แทนการเป็นแปลงของราคาปลายปีหารด้วยราคาต้นปี ของหลักทรัพย์ชนะของตลาด)
จากหลักทรัพย์ทั้งหมด N= 426 หลักทรัพย์,
เป็นหลักทรัพย์ P(T) = 249 หลักทรัพย์,
เป็นหลักทรัพย์ P(F) = 177 หลักทรัพย,
เพราะฉะนั้น ในการเลือกสุ่มหลักทรัพย์ใดๆ จำนวน r หลักทรัพย์ จากหลักทรัพย์ทั้งหมดของตลาด โอกาสที่หลักทรัพย์ที่ถูกสุ่มเลือกทั้งหมดจะสามารถชนะตลาดโดยรวมได้เป็นดังนี้
N P(T) P(F) r Pr(P(T))
426 249 177 1 58.5%
426 249 177 2 34.1%
426 249 177 3 19.9%
426 249 177 4 11.6%
426 249 177 5 6.7%
426 249 177 6 3.9%
426 249 177 7 2.2%
426 249 177 8 1.3%
426 249 177 9 0.7%
426 249 177 10 0.4%
เช่น ถ้าเราสุ่มหลักทรัพย์ 1 ทรัพย์ตอนต้นปี พอสิ้นปีมีโอกาสชนะตลาด 58.5%หรือ สุ่มหลักทรัพย์ 4 หลักทรัพย์ตอนต้นปี พอสิ้นปีมีโอกาสชนะตลาดทุกหลักทรัพย์ 11.6% เป็นต้น
(เป็นสมมุติฐานที่1) ถ้าเราเลือกลงทุนแบบสุ่มเฉพาะในหลักทรัพย์ที่มีกำไร EPS โอกาสที่จะชนะตลาดได้น่าจะเพิ่มขึ้น ดังนี้
EPS(T) P(T) P(F) r Pr(P(T))
339 202 137 1 59.6%
339 202 137 2 35.4%
339 202 137 3 21.0%
339 202 137 4 12.5%
339 202 137 5 7.4%
339 202 137 6 4.3%
339 202 137 7 2.6%
339 202 137 8 1.5%
339 202 137 9 0.9%
339 202 137 10 0.5%
เช่น เดิมเรา สุ่มหลักทรัพย์ 1 ทรัพย์ตอนต้นปี พอสิ้นปีมีโอกาสชนะตลาด 58.5% แต่ตอนนี้เราเลือกเฉพาะหลักทรัพย์ที่มีกำไรโอกาศจึงเพิ่มขึ้นมากกว่า เป็น 59.6% ดังนั้นสมมุติฐานที่1เป็นจริง
(เป็นสมมุติฐานที่2) ถ้าเราเลือกลงทุนแบบสุ่มเฉพาะในหลักทรัพย์ที่มีราคาต่อกำไร (ของหลักทรัพย์ชนะของตลาด) โอกาสที่จะชนะตลาดได้น่าจะเพิ่มขึ้นไปอีก ดังนี้
PE(T) P(T) P(F) r Pr(P(T))
339 115 62 1 65.0%
339 115 62 2 42.1%
339 115 62 3 27.2%
339 115 62 4 17.5%
339 115 62 5 11.2%
339 115 62 6 7.2%
339 115 62 7 4.6%
339 115 62 8 2.9%
339 115 62 9 1.8%
339 115 62 10 1.2%
เช่น เดิมเรา สุ่มหลักทรัพย์ 1 ทรัพย์ตอนต้นปี พอสิ้นปีมีโอกาสชนะตลาด 58.5% และต่อมาเราเลือกเฉพาะหลักทรัพย์ที่มีกำไร ทำให้โอกาศชนะตลาดจึงเพิ่มขึ้นมากกว่า เป็น 59.6% แต่พอเราเลือกลงทุนแบบสุ่มเฉพาะในหลักทรัพย์ที่มีราคาต่อกำไร (ของหลักทรัพย์ชนะของตลาด) เพิ่มเงื่อนไขอีก ผลทำให้โอกาสชนะตลาดเพิ่มขึ้นอีกเป็น 65.0% ปรากฎว่าดังนั้นสมมุติฐานที่2เป็นจริง
ส่งการบ้านตอนที่ 1
- peacedev
- Verified User
- โพสต์: 668
- ผู้ติดตาม: 0
เฉลี่ยแต่ละปี มีหุ้นที่ชนะตลาดกี่ตัว
โพสต์ที่ 18
ข้อมูลน่าสนใจมากครับ
แต่อ่านแล้วยัง งง ๆ อยู่บ้าง
หลักทรัพย์ที่มีราคาต่อกำไร นี่หมายถึงอะไรครับ คิดเป็นสัดส่วนเท่าไหร่
ตอนที่ 1 และ ตอนที่ 2 แตกต่างกันอย่างไรครับ
แต่อ่านแล้วยัง งง ๆ อยู่บ้าง
หลักทรัพย์ที่มีราคาต่อกำไร นี่หมายถึงอะไรครับ คิดเป็นสัดส่วนเท่าไหร่
ตอนที่ 1 และ ตอนที่ 2 แตกต่างกันอย่างไรครับ
http://peacedev.wordpress.com
"The Quant"
"The Quant"
-
- Verified User
- โพสต์: 52
- ผู้ติดตาม: 0
เฉลี่ยแต่ละปี มีหุ้นที่ชนะตลาดกี่ตัว
โพสต์ที่ 19
ขอโทษครับที่สื่่อภาษาไม่ชัดเจนครับpeacedev เขียน:ข้อมูลน่าสนใจมากครับ
แต่อ่านแล้วยัง งง ๆ อยู่บ้าง
หลักทรัพย์ที่มีราคาต่อกำไร นี่หมายถึงอะไรครับ คิดเป็นสัดส่วนเท่าไหร่
ตอนที่ 1 และ ตอนที่ 2 แตกต่างกันอย่างไรครับ
หลักทรัพย์ที่มีราคาต่อกำไร นี่หมายถึงอะไรครับ คิดเป็นสัดส่วนเท่าไหร่
ผมหมายถึงค่า PE ครับ
เพราะตอนผมจะเอามากคำนวนในเอ็กเซลล์ ผลติดปัญหาที่ค่า PE เป็นลบครับ ทำให้ไม่สามารถตรวจสอบข้อมูลในส่วนที่เป็นลบได้ (และในวิชาวิชาคณิตศาสตร์ผลที่ได้มีค่าเป็นลบก็ยังนำไปใช้ประกอบการวิเคราะห์ได้) แต่หลักคิดของค่า PE มันหมายถึงผลกำไรจะคืนทุนในกี่ปีในสายตาของผม ดังนั้นค่า PE ยิ่งน้อยกว่าตลาด ยิ่งคืนทุนเร็ว ยิ่งดีครับ
ต่อมาผมได้แก้ไขปัญหานี้ออกโดยการคำนวนเป็น % จากการเอาค่า E คูณ 100 หาร P เพราะฉะนั้นผลกำไรยิ่งมากเมื่อเทียบกับราคา ยิ่งดีครับ ยิ่งชนะตลาดยิ่งแจ๋ว
ส่วนท้ายนี้ผมขอเสนอแผนผังกิ่งไม้ประกอบเพิ่มเติมครับ
ในปี 2550-2551 (จากฐานข้อมุลของผม + ปรับปรุง) เป็นดังนี้
หุ้นที่มีกำไร E/P%ชนะตลาด ราคาเปลี่ยนแปลงชนะตลาด = จำนวนหลักทรัพย์
T T T = 115
T T F = 62
T F T = 87
T F F = 75
F T T = 0
F T F = 0
F F T = 47
F F F = 40
รวม = 426
จริง เท็จ
หุ้นทีมีกำไร 339 87
E/P%ชนะตลาด 177 249
ราคาเปลี่ยนแปลงชนะตลาด 249 177
ในปี 2551-2552 (จากฐานข้อมุลของผม + ปรับปรุง) เป็นดังนี้
หุ้นที่มีกำไร E/P%ชนะตลาด ราคาเปลี่ยนแปลงชนะตลาด = จำนวนหลักทรัพย์
T T T = 142
T T F = 9
T F T = 135
T F F = 40
F T T = 0
F T F = 0
F F T = 87
F F F = 31
รวม = 444
จริง เท็จ
หุ้นทีมีกำไร 339 87
E/P%ชนะตลาด 177 249
ราคาเปลี่ยนแปลงชนะตลาด 249 177
เข้าของกระทู้นี้เป็นเหตุให้ผมขุดวิชาเก่ามาใช้ ผมก็เห็นว่าฐานข้อมูลของผมก็อยู่ในวิสัยที่จะทำได้ จึงลองทำดู คำตอบที่ได้เป็นข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในแต่ละปี ต้องลองทำอย่างนี้กับข้อมูลหลายๆปีดูก่อน จึงจะฟันธงได้ว่าข้อมูลนี้มีความน่าเชื่อถือในมุมลึกและมุมกว้างแค่ไหน และมันเป็นสิ่งที่เราคำนวนได้จริง เมื่อเอามาเทียบกับการคาดการณ์ของแต่ละท่าน มันจะฟ้องได้ชัดเจนว่าสิ่งที่เราคิดวิเคราะห์อย่างกว้างๆมันตรงกับความเป็นจริงมากน้อยแค่ไหน
ส่วนการวิเคราะห์ในแง่ลึกนั้นผมขอไปตกผลึกข้อมูลกับความคิดก่อน เพราะข้อมูลแบบเป็นร้อยนี้คงต้องใช้วิชาสถิติประกอบการแบ่งกลุ่มแจกแจงความถี่ แบ่งเป็นช่วงความถี่สัก 10 ชั้น เพื่อง่ายในการศึกษาและติดตามผล และการคำนวนหาค่าของโอกาสที่เกิดขึ้นคงต้องใช้วิชาการจัดหมวดหมู่มาประกอบการคำนวน (Ncr=N! หาร [(N-r)! คูณ r!] ประมาณนี้)
ขอโทษที่ ถ้าสิ่งที่ผมทำมันน่าเบื่อ และไร้สาระ แต่ผมว่านี้ก็อาจเป็นแนวทางในการสังเกตุตะแกรงกรองหุ้นในเชิงปฎิบัติได้ครับ ถามทุกเส้นทางมันถึงเป้าหมายที่เดียวกัน ขอคุณครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 52
- ผู้ติดตาม: 0
เฉลี่ยแต่ละปี มีหุ้นที่ชนะตลาดกี่ตัว
โพสต์ที่ 20
ขอโทษอีกครั้งครับ กระทูบนมีจุดผิดพลาด ตอนนี้แก้ไขเสร็จแล้ว
หลักทรัพย์ที่มีราคาต่อกำไร นี่หมายถึงอะไรครับ คิดเป็นสัดส่วนเท่าไหร่
ผมหมายถึงค่า PE ครับ
เพราะตอนผมจะเอามากคำนวนในเอ็กเซลล์ ผลติดปัญหาที่ค่า PE เป็นลบครับ ทำให้ไม่สามารถตรวจสอบข้อมูลในส่วนที่เป็นลบได้ (และในวิชาวิชาคณิตศาสตร์ผลที่ได้มีค่าเป็นลบก็ยังนำไปใช้ประกอบการวิเคราะห์ได้) แต่หลักคิดของค่า PE มันหมายถึงผลกำไรจะคืนทุนในกี่ปีในสายตาของผม ดังนั้นค่า PE ยิ่งน้อยกว่าตลาด ยิ่งคืนทุนเร็ว ยิ่งดีครับ
ต่อมาผมได้แก้ไขปัญหานี้ออกโดยการคำนวนเป็น % จากการเอาค่า E คูณ 100 หาร P เพราะฉะนั้นผลกำไรยิ่งมากเมื่อเทียบกับราคา ยิ่งดีครับ ยิ่งชนะตลาดยิ่งแจ๋ว
ส่วนท้ายนี้ผมขอเสนอแผนผังกิ่งไม้ประกอบเพิ่มเติมครับ
ในปี 2550-2551 (จากฐานข้อมุลของผม + ปรับปรุง) เป็นดังนี้
หุ้นที่มีกำไร E/P%ชนะตลาด ราคาเปลี่ยนแปลงชนะตลาด = จำนวนหลักทรัพย์
T T T = 115
T T F = 62
T F T = 87
T F F = 75
F T T = 0
F T F = 0
F F T = 47
F F F = 40
รวม = 426
จริง เท็จ
หุ้นทีมีกำไร 339 87
E/P%ชนะตลาด 177 249
ราคาเปลี่ยนแปลงชนะตลาด 249 177
ในปี 2551-2552 (จากฐานข้อมุลของผม + ปรับปรุง) เป็นดังนี้
หุ้นที่มีกำไร E/P%ชนะตลาด ราคาเปลี่ยนแปลงชนะตลาด = จำนวนหลักทรัพย์
T T T = 142
T T F = 9
T F T = 135
T F F = 40
F T T = 0
F T F = 0
F F T = 87
F F F = 31
รวม = 444
จริง เท็จ
หุ้นทีมีกำไร 326 118
E/P%ชนะตลาด 151 293
ราคาเปลี่ยนแปลงชนะตลาด 365 80
เข้าของกระทู้นี้เป็นเหตุให้ผมขุดวิชาเก่ามาใช้ ผมก็เห็นว่าฐานข้อมูลของผมก็อยู่ในวิสัยที่จะทำได้ จึงลองทำดู คำตอบที่ได้เป็นข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในแต่ละปี ต้องลองทำอย่างนี้กับข้อมูลหลายๆปีดูก่อน จึงจะฟันธงได้ว่าข้อมูลนี้มีความน่าเชื่อถือในมุมลึกและมุมกว้างแค่ไหน และมันเป็นสิ่งที่เราคำนวนได้จริง เมื่อเอามาเทียบกับการคาดการณ์ของแต่ละท่าน มันจะฟ้องได้ชัดเจนว่าสิ่งที่เราคิดวิเคราะห์อย่างกว้างๆมันตรงกับความเป็นจริงมากน้อยแค่ไหน
ส่วนการวิเคราะห์ในแง่ลึกนั้นผมขอไปตกผลึกข้อมูลกับความคิดก่อน เพราะข้อมูลแบบเป็นร้อยนี้คงต้องใช้วิชาสถิติประกอบการแบ่งกลุ่มแจกแจงความถี่ แบ่งเป็นช่วงความถี่สัก 10 ชั้น เพื่อง่ายในการศึกษาและติดตามผล และการคำนวนหาค่าของโอกาสที่เกิดขึ้นคงต้องใช้วิชาการจัดหมวดหมู่มาประกอบการคำนวน (Ncr=N! หาร [(N-r)! คูณ r!] ประมาณนี้)
ขอโทษที่ ถ้าสิ่งที่ผมทำมันน่าเบื่อ และไร้สาระ แต่ผมว่านี้ก็อาจเป็นแนวทางในการสังเกตุตะแกรงกรองหุ้นในเชิงปฎิบัติได้ครับ ถามทุกเส้นทางมันถึงเป้าหมายที่เดียวกัน ขอคุณครับ
ขอโทษครับที่สื่่อภาษาไม่ชัดเจนครับpeacedev เขียน:ข้อมูลน่าสนใจมากครับ
แต่อ่านแล้วยัง งง ๆ อยู่บ้าง
หลักทรัพย์ที่มีราคาต่อกำไร นี่หมายถึงอะไรครับ คิดเป็นสัดส่วนเท่าไหร่
ตอนที่ 1 และ ตอนที่ 2 แตกต่างกันอย่างไรครับ
หลักทรัพย์ที่มีราคาต่อกำไร นี่หมายถึงอะไรครับ คิดเป็นสัดส่วนเท่าไหร่
ผมหมายถึงค่า PE ครับ
เพราะตอนผมจะเอามากคำนวนในเอ็กเซลล์ ผลติดปัญหาที่ค่า PE เป็นลบครับ ทำให้ไม่สามารถตรวจสอบข้อมูลในส่วนที่เป็นลบได้ (และในวิชาวิชาคณิตศาสตร์ผลที่ได้มีค่าเป็นลบก็ยังนำไปใช้ประกอบการวิเคราะห์ได้) แต่หลักคิดของค่า PE มันหมายถึงผลกำไรจะคืนทุนในกี่ปีในสายตาของผม ดังนั้นค่า PE ยิ่งน้อยกว่าตลาด ยิ่งคืนทุนเร็ว ยิ่งดีครับ
ต่อมาผมได้แก้ไขปัญหานี้ออกโดยการคำนวนเป็น % จากการเอาค่า E คูณ 100 หาร P เพราะฉะนั้นผลกำไรยิ่งมากเมื่อเทียบกับราคา ยิ่งดีครับ ยิ่งชนะตลาดยิ่งแจ๋ว
ส่วนท้ายนี้ผมขอเสนอแผนผังกิ่งไม้ประกอบเพิ่มเติมครับ
ในปี 2550-2551 (จากฐานข้อมุลของผม + ปรับปรุง) เป็นดังนี้
หุ้นที่มีกำไร E/P%ชนะตลาด ราคาเปลี่ยนแปลงชนะตลาด = จำนวนหลักทรัพย์
T T T = 115
T T F = 62
T F T = 87
T F F = 75
F T T = 0
F T F = 0
F F T = 47
F F F = 40
รวม = 426
จริง เท็จ
หุ้นทีมีกำไร 339 87
E/P%ชนะตลาด 177 249
ราคาเปลี่ยนแปลงชนะตลาด 249 177
ในปี 2551-2552 (จากฐานข้อมุลของผม + ปรับปรุง) เป็นดังนี้
หุ้นที่มีกำไร E/P%ชนะตลาด ราคาเปลี่ยนแปลงชนะตลาด = จำนวนหลักทรัพย์
T T T = 142
T T F = 9
T F T = 135
T F F = 40
F T T = 0
F T F = 0
F F T = 87
F F F = 31
รวม = 444
จริง เท็จ
หุ้นทีมีกำไร 326 118
E/P%ชนะตลาด 151 293
ราคาเปลี่ยนแปลงชนะตลาด 365 80
เข้าของกระทู้นี้เป็นเหตุให้ผมขุดวิชาเก่ามาใช้ ผมก็เห็นว่าฐานข้อมูลของผมก็อยู่ในวิสัยที่จะทำได้ จึงลองทำดู คำตอบที่ได้เป็นข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในแต่ละปี ต้องลองทำอย่างนี้กับข้อมูลหลายๆปีดูก่อน จึงจะฟันธงได้ว่าข้อมูลนี้มีความน่าเชื่อถือในมุมลึกและมุมกว้างแค่ไหน และมันเป็นสิ่งที่เราคำนวนได้จริง เมื่อเอามาเทียบกับการคาดการณ์ของแต่ละท่าน มันจะฟ้องได้ชัดเจนว่าสิ่งที่เราคิดวิเคราะห์อย่างกว้างๆมันตรงกับความเป็นจริงมากน้อยแค่ไหน
ส่วนการวิเคราะห์ในแง่ลึกนั้นผมขอไปตกผลึกข้อมูลกับความคิดก่อน เพราะข้อมูลแบบเป็นร้อยนี้คงต้องใช้วิชาสถิติประกอบการแบ่งกลุ่มแจกแจงความถี่ แบ่งเป็นช่วงความถี่สัก 10 ชั้น เพื่อง่ายในการศึกษาและติดตามผล และการคำนวนหาค่าของโอกาสที่เกิดขึ้นคงต้องใช้วิชาการจัดหมวดหมู่มาประกอบการคำนวน (Ncr=N! หาร [(N-r)! คูณ r!] ประมาณนี้)
ขอโทษที่ ถ้าสิ่งที่ผมทำมันน่าเบื่อ และไร้สาระ แต่ผมว่านี้ก็อาจเป็นแนวทางในการสังเกตุตะแกรงกรองหุ้นในเชิงปฎิบัติได้ครับ ถามทุกเส้นทางมันถึงเป้าหมายที่เดียวกัน ขอคุณครับ
- Linzhi
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 1522
- ผู้ติดตาม: 1
เฉลี่ยแต่ละปี มีหุ้นที่ชนะตลาดกี่ตัว
โพสต์ที่ 21
ข้อมูลน่าสนใจครับ
แต่การใช้ค่า E/P โดด ๆ ผมมองไม่ค่อยออก ว่าหาเพื่ออะไร
เพื่อจะหาว่า "การซื้อหุ้น PE ต่ำกว่าตลาดที่มีกำไร จะชนะตลาดได้หรือไม่"
คำถามนี้ไม่ค่อยจะเกี่ยวกับการวิเคราะห์เท่าไหร่ ออกไปทางแนวซื้อหุ้นตามระบบ
หนังสือฝรั่งมีการพูดถึงตัวแปรนี้เหมือนกัน แต่เอามาประกอบกับ ROE ด้วย
หรืออาจจะเพิ่ม EPS Growth โตมากกว่าตลาดอีกช่อง อย่างนี้ดูจะเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์มากกว่าซะอีกครับ
การชนะ หรือแพ้ตลาดก็บอกอะไรไม่ค่อยได้เท่าไหร่ ชนะ 100% หรือชนะ 1% ก็ได้ผลลัพท์ทางสถิติเดียวกัน แต่ผลต่อการลงทุนต่างกันมหาศาล
แค่อยากช่วยให้การทดลองดีขึ้นนะครับ :D
แต่การใช้ค่า E/P โดด ๆ ผมมองไม่ค่อยออก ว่าหาเพื่ออะไร
เพื่อจะหาว่า "การซื้อหุ้น PE ต่ำกว่าตลาดที่มีกำไร จะชนะตลาดได้หรือไม่"
คำถามนี้ไม่ค่อยจะเกี่ยวกับการวิเคราะห์เท่าไหร่ ออกไปทางแนวซื้อหุ้นตามระบบ
หนังสือฝรั่งมีการพูดถึงตัวแปรนี้เหมือนกัน แต่เอามาประกอบกับ ROE ด้วย
หรืออาจจะเพิ่ม EPS Growth โตมากกว่าตลาดอีกช่อง อย่างนี้ดูจะเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์มากกว่าซะอีกครับ
การชนะ หรือแพ้ตลาดก็บอกอะไรไม่ค่อยได้เท่าไหร่ ชนะ 100% หรือชนะ 1% ก็ได้ผลลัพท์ทางสถิติเดียวกัน แต่ผลต่อการลงทุนต่างกันมหาศาล
แค่อยากช่วยให้การทดลองดีขึ้นนะครับ :D
ก้าวช้า ๆ และเชื่อในปาฎิหารย์ของหุ้นเปลี่ยนชีวิต
There is no secret ingredient. It's just you.
There is no secret ingredient. It's just you.
- peacedev
- Verified User
- โพสต์: 668
- ผู้ติดตาม: 0
เฉลี่ยแต่ละปี มีหุ้นที่ชนะตลาดกี่ตัว
โพสต์ที่ 22
ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญแต่ขอเข้ามาแจมอีกทีครับ
ผมคิดว่า Research ของคุณ leechong เป็นการคิด-พิสูจน์อย่างเป็นวิทยาศาสตร์
ความพยายามในเชิงนี้ไม่เสียเวลาเปล่าแน่นอนครับ
เพราะสมมุติฐานเราผิด เราก็จะเห็นจุดผิดพลาดของมันและแก้ไขมันได้
และถ้าหากสมมุติฐานของเราถูก เราก็มั่นใจได้ยิ่งขึ้น
แถมเวลาทดลองเราได้ตกผลึกความคิดอีกหลาย ๆ อย่าง ซึ่งบางทีคนที่อ่าน Research ของเราไม่มีทางที่จะเข้าถึงมันได้
แต่ก็มีจุดที่พึงระรึกในการทดลองว่า ข้อมูลในอดีตไม่สามารถใช้ทำนายอนาคตได้อย่างแม่นยำ ซึ่งถ้าเรามั่นใจใน model ของเรามากเกินไปก็อาจทำให้เราผิดพลาดเสียหายได้เหมือนกัน
มีอีกเรื่องที่คุณ Linzhi เข้ามาพูดไปแล้วคือ ชนะมากหรือชนะน้อย ก็ได้ผลลัพท์ทางสถิติเดียวกัน แต่ผลต่อการลงทุนต่างกันมหาศาล อันนี้ผมเห็นด้วยครับ
แต่ที่จริง ผมเชื่อว่ามันยังเป็น Research ขั้นพื้นฐานสามารถเอาไปประยุกต์อะไรได้มากกว่านี้เยอะ ไม่ว่าจะเป็นน้ำหนักกำไร หรือการใช้ค่าอื่น ๆ นอกจากกำไร หรือใช้หลาย ๆ ค่าร่วมกัน
แต่สำหรับกองทุน หลาย ๆ กองทุน แค่ชนะตลาดให้ได้ตลอดเวลาก็เป็นเรื่องสุดยอดแล้วล่ะครับ
ที่จริงมีกองทุน(ต่างชาติ)หลาย ๆ แห่งใช้ระบบคัดกรองเชิงปริมาณแบบนี้อยู่ไม่น้อย เพราะจำนวนหุ้นมันเยอะมาก
บ้านเรา 500กว่า ๆ ถือว่าน้อยมากครับ
แต่สูตรที่ใช้กันได้ผลดีมาก ๆ ไม่มีใครเอามาเปิดเผยกันหรอกครับ
ส่วนสูตรรอง ๆ ลงมา เขาเอามาทำโปรแกรมสำเร็จรูปขายกันราคาแพง ๆ
สูตรที่เปิดเผยกันส่วนมากจะเป็นสูตรที่"เคยได้ผลมาก่อน" แบบนี้ก็มีครับ
พูดมากไปเดี๋ยวจะถูกว่าเอาว่าพานอกประเด็น Value
สุดท้ายนี้ ผมคิดว่าคนที่คิดอย่างวิทยาศาสตร์ และมีความสามารถทางสถิติ พวกเขาไม่เชื่อกราฟอย่างแน่นอนครับ
ผมคิดว่า Research ของคุณ leechong เป็นการคิด-พิสูจน์อย่างเป็นวิทยาศาสตร์
ความพยายามในเชิงนี้ไม่เสียเวลาเปล่าแน่นอนครับ
เพราะสมมุติฐานเราผิด เราก็จะเห็นจุดผิดพลาดของมันและแก้ไขมันได้
และถ้าหากสมมุติฐานของเราถูก เราก็มั่นใจได้ยิ่งขึ้น
แถมเวลาทดลองเราได้ตกผลึกความคิดอีกหลาย ๆ อย่าง ซึ่งบางทีคนที่อ่าน Research ของเราไม่มีทางที่จะเข้าถึงมันได้
แต่ก็มีจุดที่พึงระรึกในการทดลองว่า ข้อมูลในอดีตไม่สามารถใช้ทำนายอนาคตได้อย่างแม่นยำ ซึ่งถ้าเรามั่นใจใน model ของเรามากเกินไปก็อาจทำให้เราผิดพลาดเสียหายได้เหมือนกัน
มีอีกเรื่องที่คุณ Linzhi เข้ามาพูดไปแล้วคือ ชนะมากหรือชนะน้อย ก็ได้ผลลัพท์ทางสถิติเดียวกัน แต่ผลต่อการลงทุนต่างกันมหาศาล อันนี้ผมเห็นด้วยครับ
แต่ที่จริง ผมเชื่อว่ามันยังเป็น Research ขั้นพื้นฐานสามารถเอาไปประยุกต์อะไรได้มากกว่านี้เยอะ ไม่ว่าจะเป็นน้ำหนักกำไร หรือการใช้ค่าอื่น ๆ นอกจากกำไร หรือใช้หลาย ๆ ค่าร่วมกัน
แต่สำหรับกองทุน หลาย ๆ กองทุน แค่ชนะตลาดให้ได้ตลอดเวลาก็เป็นเรื่องสุดยอดแล้วล่ะครับ
ที่จริงมีกองทุน(ต่างชาติ)หลาย ๆ แห่งใช้ระบบคัดกรองเชิงปริมาณแบบนี้อยู่ไม่น้อย เพราะจำนวนหุ้นมันเยอะมาก
บ้านเรา 500กว่า ๆ ถือว่าน้อยมากครับ
แต่สูตรที่ใช้กันได้ผลดีมาก ๆ ไม่มีใครเอามาเปิดเผยกันหรอกครับ
ส่วนสูตรรอง ๆ ลงมา เขาเอามาทำโปรแกรมสำเร็จรูปขายกันราคาแพง ๆ
สูตรที่เปิดเผยกันส่วนมากจะเป็นสูตรที่"เคยได้ผลมาก่อน" แบบนี้ก็มีครับ
พูดมากไปเดี๋ยวจะถูกว่าเอาว่าพานอกประเด็น Value
สุดท้ายนี้ ผมคิดว่าคนที่คิดอย่างวิทยาศาสตร์ และมีความสามารถทางสถิติ พวกเขาไม่เชื่อกราฟอย่างแน่นอนครับ
http://peacedev.wordpress.com
"The Quant"
"The Quant"