กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
-
- Verified User
- โพสต์: 231
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 241
[quote="TissueThiti"]เรียนถามอาจารย์ทุกท่านนะครับ
1) จำนวนหุ้นที่มีผลต่อส่วนแบ่งผลประโยชน์ เช่น ปันผล หรือกำไรสุทธิ โดยปกติเราสามารถดูได้จากส่วนไหนของงบครับ อย่างเช่นของ SKR ผมดูในส่วนของงบดุล ทุนที่ออกและชำระแล้ว หุ้นสามัญ 100,000,000 หุ้น แต่พอไปดูในงบกำไรขาดทุน กำไรสุทธิต่อหุ้น1.28บาท ทั้งๆที่กำไรสุทธิ 120,507,993 จึงเหมือนมีจำนวนหุ้นน้อยกว่า 100,000,000 หุ้น
2) กำไรต่อหุ้นปรับลด หมายถึงกำไรต่อหุ้นเมื่อคำนวณจำนวนหุ้นที่อาจเกิดขึ้นทั้งหมดจากการแปลงสภาพหุ้นกู้และหุ้นบุริมสิทธิมาเป็นหุ้นสามัญใช่ไหมครับ
3) นโยบายการจ่ายปันผลของบริษัท
"ถ้าปีใดผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิได้รับแจกเงินปันผลถึงร้อยละ 15 ของทุนของบริษัทที่เป็นหุ้นบุริมสิทธิแล้ว กำไรส่วนที่เหลือจะแจกให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญเป็นจำนวนเท่าใดก็ได้ตามมติที่ประชุมใหญ่
ถ้าปีใดบริษัทสามารถแจกเงินปันผลได้เกินกว่าร้อยละ 15 ของทุนของบริษัท ให้ผู้ถือหุ้นทั้งสองชนิดได้รับแจกเงินปันผลเท่ากัน"
ในทีนี้ คำว่าทุนของบริษัทคือส่วนของเจ้าของหรือทุนเรือนหุ้นส่วนของหุ้นสามัญครับ
4) กรณีการจ่ายปันผลหรือดอกเบี้ยตามเงื่อนไขของหุ้นบุริมสิทธิและหุ้นกู้ จะถือเป็นค่าใช้จ่ายของบริษัทก่อนคิดอัตราภาษีหรือไม่ครับ และถ้าใช่อยู่ในส่วนใดของรายจ่ายครับ
5) ผมได้อ่านของอาจารย์ sun_cisa2 ในกระทู้นี้ตอนหนึ่งว่า
เช่น ABC มีกำไร 1,000 บาท โดย A ถือหุ้นมาตั้งแต่ต้นปี 800 หุ้น ส่วน B เข้ามาถือหุ้นเพิ่มทุนีหลังระหว่างปีนั้น 400 หุ้นเมื่อตอนกลางปี
เงินจาก A ทำมาหากินมา 1 ปีเต็ม ส่วนเงิน B เอามาใช้หากินแค่ครึ่งปี ถ้าถือว่าตลอดปีทำมาหากินสม่ำเสมอ 500 บาทแรก A ควรได้เต็มๆ ส่วน 500 บาทหลังถึงจะเอามาแบ่งระหว่า A กับ B ตามสัดส่วนที่ลงทุน 2:1 A ได้ไป 500x2/3 = 333.33 ส่วน B ได้ไป 500/3 = 166.67
รวมทั้งปี A ได้ส่วนแบ่งกำไรไป =500+333.33 = 833.33 A ถ้าเทียบแล้วลงทุน 1ปี ได้ผลตอบแทนต่อหุ้น = 0.3125+0.2083 =0.5208
รวมทั้งปี B ได้ส่วนแบ่งกำไรไป = 166.67 0.2083
. แต่ในทางบัญชีจะแสดง EPS ขั้นพื้นฐานที่ 1000/(800x12/12 + 400x6/12) = 1.00 ดูแล้วเหมือนกับว่าได้คนละ 1 บาท ความจริงไม่ใช่เลย แค่บอกว่าถ้ามาคิดผลตอบแทนตามระยะเวลาลงทุนแล้ว โดยเปรียบเทียบให้หุ้นทั้งหมดเทียบเท่ากันได้บนฐานเวลาที่ปรับสัดส่วนให้เท่ากัน จะเหมือนว่าได้คนละ 1 บาท
. ผมสงสัยครับ ปกติ EPS ไม่ได้เกิดจากกำไรสุทธิทั้งปีหารด้วยจำนวนหุ้นสามัญหรือครับ แล้วข้อความข้างต้นผมอ่านแล้วไม่เข้าใจ อยากรบกวนให้อาจารย์ช่วยอธิบายเพิ่มเติมด้วยครับ
ขอโทษนะครับที่คำถามอาจยาวนิดนึง
ขอบคุณมากครับผม[/quote]
1. ถ้าหุ้นออกครบปี จำนวนหุ้นที่ออกและเรียกชำระแล้วจะเท่ากับจำนวนหุ้นที่นำมาคำนวณ EPS แต่ถ้าหุ้นออกไม่ครบปีหรือเรียกชำระไม่เต็มราคาหุ้น จำนวนหุ้นที่นำมาคำนวณ EPS จะเป็นจำนวนหุ้นถัวเฉลี่ย ถ้าบริษัทมีหุ้นบุริมสืธิ์ กำไรสุทธิที่นำมาคำนวณต้องหักปันผลหุ้นบุริมสิทธิ์ก่อน
2. โดยหลักการเป็นเช่นนั้น แต่ต้องรวมรายการทุกรายการที่สามารถแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญทั้งหมด เช่น วอร์แรนด์ ไม่ใช่เฉพาะหุ้นกู้หรือหุ้นบุริมสิทธิเท่านั้น
3. ไม่ทราบค่ะ ต้องถามคนอื่นที่ทราบ
4. ถ้าเข้าข่ายเป็นปันผล ต้องหักออกจากกำไรสะสม ไม่เข้างบกำไรขาดทุน แต่ถ้าถือเป็นดอกเบี้ยต้องหักรวมกับดอกเบี้ยจ่าย แสดงก่อนภาษีเงินได้
5. อาจารย์ sun_cisa2 ไม่สามารถ login เข้าใน web ของ thaivi นานมาแล้วค่ะ เลยมาตอบให้คุณไม่ได้ แต่ EPS มีสูตรการคำนวณคือ
EPE หุ้นสามัญ = กำไรที่เป็นของหุ้นสามัญ (หักกำไรที่เป็นส่วนของหุ้นบุริมสิทธิออก หรือบวกกำไรของหุ้นเทียบเท่าถ้าสมมุติว่ามีการแปลงหุ้นเกิดขึ้น) /จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (ตามเวลาในการออกหุ้น รวมไปถึงหุ้นสามัญที่เกิดจากการแปลงถ้าคำนวณ EPS ปรับลด)
ดังนั้น การหยิบตัวเลขที่เห็นมาหารกัน อาจไม่ได้เท่ากับจำนวน EPS ที่บริษัทคำนวณได้ โดยเฉพาะเมื่อมีเงื่อนไขเพิ่มเติมที่ทำให้การคำนวณตัวเลขเบี่ยงเบนจากที่แสดงในงบการเงินค่ะ
1) จำนวนหุ้นที่มีผลต่อส่วนแบ่งผลประโยชน์ เช่น ปันผล หรือกำไรสุทธิ โดยปกติเราสามารถดูได้จากส่วนไหนของงบครับ อย่างเช่นของ SKR ผมดูในส่วนของงบดุล ทุนที่ออกและชำระแล้ว หุ้นสามัญ 100,000,000 หุ้น แต่พอไปดูในงบกำไรขาดทุน กำไรสุทธิต่อหุ้น1.28บาท ทั้งๆที่กำไรสุทธิ 120,507,993 จึงเหมือนมีจำนวนหุ้นน้อยกว่า 100,000,000 หุ้น
2) กำไรต่อหุ้นปรับลด หมายถึงกำไรต่อหุ้นเมื่อคำนวณจำนวนหุ้นที่อาจเกิดขึ้นทั้งหมดจากการแปลงสภาพหุ้นกู้และหุ้นบุริมสิทธิมาเป็นหุ้นสามัญใช่ไหมครับ
3) นโยบายการจ่ายปันผลของบริษัท
"ถ้าปีใดผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิได้รับแจกเงินปันผลถึงร้อยละ 15 ของทุนของบริษัทที่เป็นหุ้นบุริมสิทธิแล้ว กำไรส่วนที่เหลือจะแจกให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญเป็นจำนวนเท่าใดก็ได้ตามมติที่ประชุมใหญ่
ถ้าปีใดบริษัทสามารถแจกเงินปันผลได้เกินกว่าร้อยละ 15 ของทุนของบริษัท ให้ผู้ถือหุ้นทั้งสองชนิดได้รับแจกเงินปันผลเท่ากัน"
ในทีนี้ คำว่าทุนของบริษัทคือส่วนของเจ้าของหรือทุนเรือนหุ้นส่วนของหุ้นสามัญครับ
4) กรณีการจ่ายปันผลหรือดอกเบี้ยตามเงื่อนไขของหุ้นบุริมสิทธิและหุ้นกู้ จะถือเป็นค่าใช้จ่ายของบริษัทก่อนคิดอัตราภาษีหรือไม่ครับ และถ้าใช่อยู่ในส่วนใดของรายจ่ายครับ
5) ผมได้อ่านของอาจารย์ sun_cisa2 ในกระทู้นี้ตอนหนึ่งว่า
เช่น ABC มีกำไร 1,000 บาท โดย A ถือหุ้นมาตั้งแต่ต้นปี 800 หุ้น ส่วน B เข้ามาถือหุ้นเพิ่มทุนีหลังระหว่างปีนั้น 400 หุ้นเมื่อตอนกลางปี
เงินจาก A ทำมาหากินมา 1 ปีเต็ม ส่วนเงิน B เอามาใช้หากินแค่ครึ่งปี ถ้าถือว่าตลอดปีทำมาหากินสม่ำเสมอ 500 บาทแรก A ควรได้เต็มๆ ส่วน 500 บาทหลังถึงจะเอามาแบ่งระหว่า A กับ B ตามสัดส่วนที่ลงทุน 2:1 A ได้ไป 500x2/3 = 333.33 ส่วน B ได้ไป 500/3 = 166.67
รวมทั้งปี A ได้ส่วนแบ่งกำไรไป =500+333.33 = 833.33 A ถ้าเทียบแล้วลงทุน 1ปี ได้ผลตอบแทนต่อหุ้น = 0.3125+0.2083 =0.5208
รวมทั้งปี B ได้ส่วนแบ่งกำไรไป = 166.67 0.2083
. แต่ในทางบัญชีจะแสดง EPS ขั้นพื้นฐานที่ 1000/(800x12/12 + 400x6/12) = 1.00 ดูแล้วเหมือนกับว่าได้คนละ 1 บาท ความจริงไม่ใช่เลย แค่บอกว่าถ้ามาคิดผลตอบแทนตามระยะเวลาลงทุนแล้ว โดยเปรียบเทียบให้หุ้นทั้งหมดเทียบเท่ากันได้บนฐานเวลาที่ปรับสัดส่วนให้เท่ากัน จะเหมือนว่าได้คนละ 1 บาท
. ผมสงสัยครับ ปกติ EPS ไม่ได้เกิดจากกำไรสุทธิทั้งปีหารด้วยจำนวนหุ้นสามัญหรือครับ แล้วข้อความข้างต้นผมอ่านแล้วไม่เข้าใจ อยากรบกวนให้อาจารย์ช่วยอธิบายเพิ่มเติมด้วยครับ
ขอโทษนะครับที่คำถามอาจยาวนิดนึง
ขอบคุณมากครับผม[/quote]
1. ถ้าหุ้นออกครบปี จำนวนหุ้นที่ออกและเรียกชำระแล้วจะเท่ากับจำนวนหุ้นที่นำมาคำนวณ EPS แต่ถ้าหุ้นออกไม่ครบปีหรือเรียกชำระไม่เต็มราคาหุ้น จำนวนหุ้นที่นำมาคำนวณ EPS จะเป็นจำนวนหุ้นถัวเฉลี่ย ถ้าบริษัทมีหุ้นบุริมสืธิ์ กำไรสุทธิที่นำมาคำนวณต้องหักปันผลหุ้นบุริมสิทธิ์ก่อน
2. โดยหลักการเป็นเช่นนั้น แต่ต้องรวมรายการทุกรายการที่สามารถแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญทั้งหมด เช่น วอร์แรนด์ ไม่ใช่เฉพาะหุ้นกู้หรือหุ้นบุริมสิทธิเท่านั้น
3. ไม่ทราบค่ะ ต้องถามคนอื่นที่ทราบ
4. ถ้าเข้าข่ายเป็นปันผล ต้องหักออกจากกำไรสะสม ไม่เข้างบกำไรขาดทุน แต่ถ้าถือเป็นดอกเบี้ยต้องหักรวมกับดอกเบี้ยจ่าย แสดงก่อนภาษีเงินได้
5. อาจารย์ sun_cisa2 ไม่สามารถ login เข้าใน web ของ thaivi นานมาแล้วค่ะ เลยมาตอบให้คุณไม่ได้ แต่ EPS มีสูตรการคำนวณคือ
EPE หุ้นสามัญ = กำไรที่เป็นของหุ้นสามัญ (หักกำไรที่เป็นส่วนของหุ้นบุริมสิทธิออก หรือบวกกำไรของหุ้นเทียบเท่าถ้าสมมุติว่ามีการแปลงหุ้นเกิดขึ้น) /จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (ตามเวลาในการออกหุ้น รวมไปถึงหุ้นสามัญที่เกิดจากการแปลงถ้าคำนวณ EPS ปรับลด)
ดังนั้น การหยิบตัวเลขที่เห็นมาหารกัน อาจไม่ได้เท่ากับจำนวน EPS ที่บริษัทคำนวณได้ โดยเฉพาะเมื่อมีเงื่อนไขเพิ่มเติมที่ทำให้การคำนวณตัวเลขเบี่ยงเบนจากที่แสดงในงบการเงินค่ะ
-
- Verified User
- โพสต์: 79
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 242
ขอบคุณมากครับ
ผมก็พึ่งเห็นว่าที่อาจารย์ตอบขึ้นหน้าใหม่แล้ว -O- เซพหน้า 8ไว้เข้ามาดูก็เลยคิดว่ายังไม่ตอบ555
ขอบคุณอีกครั้งครับ
ผมก็พึ่งเห็นว่าที่อาจารย์ตอบขึ้นหน้าใหม่แล้ว -O- เซพหน้า 8ไว้เข้ามาดูก็เลยคิดว่ายังไม่ตอบ555
ขอบคุณอีกครั้งครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 175
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 243
เรียนถาม อาจารย์ parporn ครับ
downward revaluation method กับ impairment ของพวก long-lived asset มีความแตกต่างในการใช้ยังไงเหรอครับ เพราะผมเห็นมันคล้ายๆ กันมากเลยครับ
ขอบคุณล่วงหน้าครับ ^^
downward revaluation method กับ impairment ของพวก long-lived asset มีความแตกต่างในการใช้ยังไงเหรอครับ เพราะผมเห็นมันคล้ายๆ กันมากเลยครับ
ขอบคุณล่วงหน้าครับ ^^
-
- Verified User
- โพสต์: 175
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 244
ขอถามอีกข้อนะครับ ผมไปอ่านเรื่อง income tax มา เขาบอกว่า
"Deferred tax liabilities that are not expected to reverse, typically because of expected
continued growth in capital expenditures, should be treated for analytical purposes
as equity. If deferred tax liabilities are expected to reverse, they should be treated for
analytical purposes as liabilities"
ทำไม DTL ที่คาดว่าจะไม่ reverse ถึงเป็นเพราะ expected continued growth ใน CAPEX เหรอครับ
ขอบคุณล่วงหน้าครับ :)
"Deferred tax liabilities that are not expected to reverse, typically because of expected
continued growth in capital expenditures, should be treated for analytical purposes
as equity. If deferred tax liabilities are expected to reverse, they should be treated for
analytical purposes as liabilities"
ทำไม DTL ที่คาดว่าจะไม่ reverse ถึงเป็นเพราะ expected continued growth ใน CAPEX เหรอครับ
ขอบคุณล่วงหน้าครับ :)
-
- Verified User
- โพสต์: 9
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 245
รบกวนหน่อยค่ะ สงสัยเรื่อง บ.ซื้อหุ้นคืน
1.บ.เอาเงินส่วนไหนซื้อ
2. ซื้อแล้วหุ้นที่ซื้อได้ จะเป็นของใคร
3. และจัดสรรอย่างไร
4. เราเป็นรายย่อยเราจะได้ไหม
5. ข้อดีและข้อเสียของการซื้อคืนคืออะไร
ขอบพระคุณมากคะ
1.บ.เอาเงินส่วนไหนซื้อ
2. ซื้อแล้วหุ้นที่ซื้อได้ จะเป็นของใคร
3. และจัดสรรอย่างไร
4. เราเป็นรายย่อยเราจะได้ไหม
5. ข้อดีและข้อเสียของการซื้อคืนคืออะไร
ขอบพระคุณมากคะ
-
- Verified User
- โพสต์: 5
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 246
อยากสอบถามว่าในกรณีที่บริษัทเพิ่มทุนเพื่อนำเงินไปซื้อสินทรัพย์ เช่น คอนโดมิเนี่ยม มาขายต่อ
การทำแบบนี้สามารถบันทึกเงินที่ได้ได้การโอนมาเป็นรายได้ ได้เลยหรือไม่ แล้วจะต้องบันทึกค่าใช้จ่ายอย่างไรครับ
ขอบคุณครับ
การทำแบบนี้สามารถบันทึกเงินที่ได้ได้การโอนมาเป็นรายได้ ได้เลยหรือไม่ แล้วจะต้องบันทึกค่าใช้จ่ายอย่างไรครับ
ขอบคุณครับ
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 532
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 247
งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ต่อ)
สำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2556
(หน่วย: บาท)
หมายเหตุ 2556 2555
กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น:
ผลขาดทุนจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย (119,301,927) (36,592,835)
ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบของกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 23,876,880 7,632,873
กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสำหรับงวด - สุทธิจากภาษี (ขาดทุน) (95,425,047) (28,959,962)
กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับงวด 62,539,080 26,809,309
- ขอสอบถามอาจารย์ เรื่องผลขาดทุนจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย 2556 ขาดทุน 119,301927 บาท แต่ในหมายเหตุงบการเงินหัวข้อเงินลงทุนในหลักทรัพย์ทำไมแสดงกำไรจากเงินลงทุนเผื่อขาย ขอบคุณครับ
5. เงินลงทุนในหลักทรัพย์
5.1 จำแนกตามประเภทของเงินลงทุน
(หน่วย: บาท)
30 มิถุนายน 2556 31 ธันวาคม 2555
ราคาทุน/ ราคาทุน/
ราคาทุนตัดจำหน่าย มูลค่ายุติธรรม ราคาทุนตัดจำหน่าย มูลค่ายุติธรรม
เงินลงทุนเผื่อขาย
หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ 505,692,068 507,857,393 413,930,183 416,200,265
ตราสารหนี้ภาคเอกชน 1,230,201,636 1,232,583,443 738,288,036 741,506,662
ตราสารทุน 950,396,975 1,024,136,655 545,800,827 697,646,663
หน่วยลงทุน 898,811,167 926,383,267 695,446,394 745,105,484
รวม 3,585,101,846 3,690,960,758 2,393,465,440 2,600,459,074
บวก: กำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง 105,858,912 - 206,993,634 -
รวมเงินลงทุนเผื่อขาย 3,690,960,758 3,690,960,758 2,600,459,074 2,600,459,074
สำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2556
(หน่วย: บาท)
หมายเหตุ 2556 2555
กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น:
ผลขาดทุนจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย (119,301,927) (36,592,835)
ภาษีเงินได้เกี่ยวกับองค์ประกอบของกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 23,876,880 7,632,873
กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสำหรับงวด - สุทธิจากภาษี (ขาดทุน) (95,425,047) (28,959,962)
กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับงวด 62,539,080 26,809,309
- ขอสอบถามอาจารย์ เรื่องผลขาดทุนจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขาย 2556 ขาดทุน 119,301927 บาท แต่ในหมายเหตุงบการเงินหัวข้อเงินลงทุนในหลักทรัพย์ทำไมแสดงกำไรจากเงินลงทุนเผื่อขาย ขอบคุณครับ
5. เงินลงทุนในหลักทรัพย์
5.1 จำแนกตามประเภทของเงินลงทุน
(หน่วย: บาท)
30 มิถุนายน 2556 31 ธันวาคม 2555
ราคาทุน/ ราคาทุน/
ราคาทุนตัดจำหน่าย มูลค่ายุติธรรม ราคาทุนตัดจำหน่าย มูลค่ายุติธรรม
เงินลงทุนเผื่อขาย
หลักทรัพย์รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ 505,692,068 507,857,393 413,930,183 416,200,265
ตราสารหนี้ภาคเอกชน 1,230,201,636 1,232,583,443 738,288,036 741,506,662
ตราสารทุน 950,396,975 1,024,136,655 545,800,827 697,646,663
หน่วยลงทุน 898,811,167 926,383,267 695,446,394 745,105,484
รวม 3,585,101,846 3,690,960,758 2,393,465,440 2,600,459,074
บวก: กำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง 105,858,912 - 206,993,634 -
รวมเงินลงทุนเผื่อขาย 3,690,960,758 3,690,960,758 2,600,459,074 2,600,459,074
-
- Verified User
- โพสต์: 0
- ผู้ติดตาม: 0
Re: มัข้อสงสัยมาถามครับ เรื่อง สินทรัพย์
โพสต์ที่ 248
คือว่า ทุกๆบริษัทจะมีสินทรัพย์นะครับแล้วสินทรัพย์นั้นก็จะแบ่งได้ 2 อย่างคือ สินทรัพย์หมุนเวียน กับสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
ผมอยากถามว่า ถ้าหากสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน คิดเป็น % มากกว่า สินทรัพย์หมุนเวียน จะมีผลอะไรกับบริษัท ไหมครับขอบคุณครับ
ผมอยากถามว่า ถ้าหากสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน คิดเป็น % มากกว่า สินทรัพย์หมุนเวียน จะมีผลอะไรกับบริษัท ไหมครับขอบคุณครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 125
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 249
ไม่รู้จะถามที่ไหนรบกวนถามกระทู้นี้ละกันครับ
อยากทราบสูตรคำนวน
1.กำไรและขาดทุนเป็นเปอร์เซ็น โจทย์คือ สมมติซื้อหุ้น 1 บาท หุ้นขึ้น 1.4บาท
กำไร +40 เปอร์เซ็น แต่จะใช้สูตรอะไรคำนวนครับ
หุ้น 1 บาท หุ้นลงเหลือ 0.95 ขาดทุนกี่เปอร์เซ็น จะใช้สูตรอะไรคำนวนครับ
รบกวนด้วย แหะๆ
2.mcap/กำไรสุทธิ กับ P/E ต่างกันไหมครับ พอใช้แทนกันได้ไหม เอาไว้หาหุ้นที่จำนวนหุ้นยังไม่อัพเดทอ่าครับ
3.โจทย์ ถือหุ้นไป3ปี หุ้นขึ้นรวม 38 เปอร์เซ็น
แปลว่าได้ผลตอบแทนแบบทบต้นเท่าไหร่ครับ ใช้สูตรอะไรคำนวณครับ
ขอบคุณล่วงหน้าครับ ^_^
อยากทราบสูตรคำนวน
1.กำไรและขาดทุนเป็นเปอร์เซ็น โจทย์คือ สมมติซื้อหุ้น 1 บาท หุ้นขึ้น 1.4บาท
กำไร +40 เปอร์เซ็น แต่จะใช้สูตรอะไรคำนวนครับ
หุ้น 1 บาท หุ้นลงเหลือ 0.95 ขาดทุนกี่เปอร์เซ็น จะใช้สูตรอะไรคำนวนครับ
รบกวนด้วย แหะๆ
2.mcap/กำไรสุทธิ กับ P/E ต่างกันไหมครับ พอใช้แทนกันได้ไหม เอาไว้หาหุ้นที่จำนวนหุ้นยังไม่อัพเดทอ่าครับ
3.โจทย์ ถือหุ้นไป3ปี หุ้นขึ้นรวม 38 เปอร์เซ็น
แปลว่าได้ผลตอบแทนแบบทบต้นเท่าไหร่ครับ ใช้สูตรอะไรคำนวณครับ
ขอบคุณล่วงหน้าครับ ^_^
- anubist
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 1373
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 250
[quote="haung12"]รบกวนหน่อยค่ะ สงสัยเรื่อง บ.ซื้อหุ้นคืน
1.บ.เอาเงินส่วนไหนซื้อ
2. ซื้อแล้วหุ้นที่ซื้อได้ จะเป็นของใคร
3. และจัดสรรอย่างไร
4. เราเป็นรายย่อยเราจะได้ไหม
5. ข้อดีและข้อเสียของการซื้อคืนคืออะไร
ขอบพระคุณมากคะ[/quote]
1.เงินสด(เงินกู้)ในบ.ซื้อครับ ลงบช.ตามนี้
เดบิต หุ้นซื้อคืน
เครดิต เงินสด/เจ้าหนี้
2,3,4. หุ้นไม่เป็นของใคร เป็นของบ. หุ้นซื้อคืนจะโดนหักออกจากหุ้นที่จดทะเบียนแล้ว
เช่น เดินจดทะเบียนไว้100หุ้น ซื้อคืน10 เหลือ90
ผลกระทบคือEPSสูงขึ้นจากจำนวนหุ้นที่หารน้อยลง
5.การซื้อหุ้นคืนมักเกิดเมื่อเงินสดในบ.สูงมาก ซึ่งบ.มีทางเลือกหลัก2อย่างคือ
จ่ายปันผล(พิเศษ) หรือลงทุนในโครงการใหม่
การจ่ายปันผลพิเศษก็ดีต่อผถห.ครั้งเดียว
ส่วนการลงทุนในโครงการใหม่ ก็ดีในระยะยาว
แต่หากผบห.ไม่เห็นโครงการใหม่ๆที่คุ้มค่า การซื้อหุ้นคืนก็เป็นทางเลือกหนึ่งในการลงทุน
เพราะอย่างน้อย ผบห.ก็รู้ว่าผลตอบแทนในอนาคตของบ.จะเป็นอย่างไร(สำหรับบ.ที่มีผลประกอบการมั่นคง)
ส่วนผลกระทบกับนลท./ราคาตลาดไปคิดเองนะครับ
[quote="artrider888"]ไม่รู้จะถามที่ไหนรบกวนถามกระทู้นี้ละกันครับ
อยากทราบสูตรคำนวน
1.กำไรและขาดทุนเป็นเปอร์เซ็น โจทย์คือ สมมติซื้อหุ้น 1 บาท หุ้นขึ้น 1.4บาท
กำไร +40 เปอร์เซ็น แต่จะใช้สูตรอะไรคำนวนครับ
หุ้น 1 บาท หุ้นลงเหลือ 0.95 ขาดทุนกี่เปอร์เซ็น จะใช้สูตรอะไรคำนวนครับ
รบกวนด้วย แหะๆ
2.mcap/กำไรสุทธิ กับ P/E ต่างกันไหมครับ พอใช้แทนกันได้ไหม เอาไว้หาหุ้นที่จำนวนหุ้นยังไม่อัพเดทอ่าครับ
3.โจทย์ ถือหุ้นไป3ปี หุ้นขึ้นรวม 38 เปอร์เซ็น
แปลว่าได้ผลตอบแทนแบบทบต้นเท่าไหร่ครับ ใช้สูตรอะไรคำนวณครับ
ขอบคุณล่วงหน้าครับ ^_^[/quote]
1. %=(P1-P0)/100
P1=ราคาปลายงวด/ราคาขาย
P0=ราคาต้นงวด/ราคาซื้อ
2.ไม่ต่าง ถ้าหุ้นที่หารเท่ากัน
3. P1/P0=(1+r)^n
P1=ราคาปลายงวด/ราคาขาย
P0=ราคาต้นงวด/ราคาซื้อ
r=ผลตอบแทนทบต้นต่อปี
n=จำนวนปีที่ถือ
1.บ.เอาเงินส่วนไหนซื้อ
2. ซื้อแล้วหุ้นที่ซื้อได้ จะเป็นของใคร
3. และจัดสรรอย่างไร
4. เราเป็นรายย่อยเราจะได้ไหม
5. ข้อดีและข้อเสียของการซื้อคืนคืออะไร
ขอบพระคุณมากคะ[/quote]
1.เงินสด(เงินกู้)ในบ.ซื้อครับ ลงบช.ตามนี้
เดบิต หุ้นซื้อคืน
เครดิต เงินสด/เจ้าหนี้
2,3,4. หุ้นไม่เป็นของใคร เป็นของบ. หุ้นซื้อคืนจะโดนหักออกจากหุ้นที่จดทะเบียนแล้ว
เช่น เดินจดทะเบียนไว้100หุ้น ซื้อคืน10 เหลือ90
ผลกระทบคือEPSสูงขึ้นจากจำนวนหุ้นที่หารน้อยลง
5.การซื้อหุ้นคืนมักเกิดเมื่อเงินสดในบ.สูงมาก ซึ่งบ.มีทางเลือกหลัก2อย่างคือ
จ่ายปันผล(พิเศษ) หรือลงทุนในโครงการใหม่
การจ่ายปันผลพิเศษก็ดีต่อผถห.ครั้งเดียว
ส่วนการลงทุนในโครงการใหม่ ก็ดีในระยะยาว
แต่หากผบห.ไม่เห็นโครงการใหม่ๆที่คุ้มค่า การซื้อหุ้นคืนก็เป็นทางเลือกหนึ่งในการลงทุน
เพราะอย่างน้อย ผบห.ก็รู้ว่าผลตอบแทนในอนาคตของบ.จะเป็นอย่างไร(สำหรับบ.ที่มีผลประกอบการมั่นคง)
ส่วนผลกระทบกับนลท./ราคาตลาดไปคิดเองนะครับ
[quote="artrider888"]ไม่รู้จะถามที่ไหนรบกวนถามกระทู้นี้ละกันครับ
อยากทราบสูตรคำนวน
1.กำไรและขาดทุนเป็นเปอร์เซ็น โจทย์คือ สมมติซื้อหุ้น 1 บาท หุ้นขึ้น 1.4บาท
กำไร +40 เปอร์เซ็น แต่จะใช้สูตรอะไรคำนวนครับ
หุ้น 1 บาท หุ้นลงเหลือ 0.95 ขาดทุนกี่เปอร์เซ็น จะใช้สูตรอะไรคำนวนครับ
รบกวนด้วย แหะๆ
2.mcap/กำไรสุทธิ กับ P/E ต่างกันไหมครับ พอใช้แทนกันได้ไหม เอาไว้หาหุ้นที่จำนวนหุ้นยังไม่อัพเดทอ่าครับ
3.โจทย์ ถือหุ้นไป3ปี หุ้นขึ้นรวม 38 เปอร์เซ็น
แปลว่าได้ผลตอบแทนแบบทบต้นเท่าไหร่ครับ ใช้สูตรอะไรคำนวณครับ
ขอบคุณล่วงหน้าครับ ^_^[/quote]
1. %=(P1-P0)/100
P1=ราคาปลายงวด/ราคาขาย
P0=ราคาต้นงวด/ราคาซื้อ
2.ไม่ต่าง ถ้าหุ้นที่หารเท่ากัน
3. P1/P0=(1+r)^n
P1=ราคาปลายงวด/ราคาขาย
P0=ราคาต้นงวด/ราคาซื้อ
r=ผลตอบแทนทบต้นต่อปี
n=จำนวนปีที่ถือ
- Gearhun
- Verified User
- โพสต์: 13
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 255
สวัสดีครับพอดีผมผ่านงบการเงินของบริษัทหนึ่งมาแล้วผมเกิดความสงสัยครับว่า ;
- ทำไมบริษัทมีเงินกู้ยืมระยะยาวครบกำหนดชำระภายใน 1 ปี มีดอกที่ 2.96% แต่ เงินกู้ยืมระยะยาวที่กำหนดชำระนานกว่า 1 ปี มีดอกเบี้ย 2% ;
- ผมอยากทราบว่าทำไมดอกเบี้ยของเงินกู้ระยะยาวที่กำหนดชำระภายใน 1 ปี ถึงสูงกว่าครับ ? ทั้ง ๆ ที่มันเป็นก้อนเดียวกัน
ขอบคุณครับ
- ทำไมบริษัทมีเงินกู้ยืมระยะยาวครบกำหนดชำระภายใน 1 ปี มีดอกที่ 2.96% แต่ เงินกู้ยืมระยะยาวที่กำหนดชำระนานกว่า 1 ปี มีดอกเบี้ย 2% ;
- ผมอยากทราบว่าทำไมดอกเบี้ยของเงินกู้ระยะยาวที่กำหนดชำระภายใน 1 ปี ถึงสูงกว่าครับ ? ทั้ง ๆ ที่มันเป็นก้อนเดียวกัน
ขอบคุณครับ
แนบไฟล์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 2576
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 256
เงินกู้ระยะยาวที่กำหนดชำระภายใน1ปี หมายถึงGearhun เขียน: ↑อังคาร เม.ย. 13, 2021 9:39 pmสวัสดีครับพอดีผมผ่านงบการเงินของบริษัทหนึ่งมาแล้วผมเกิดความสงสัยครับว่า ;
- ทำไมบริษัทมีเงินกู้ยืมระยะยาวครบกำหนดชำระภายใน 1 ปี มีดอกที่ 2.96% แต่ เงินกู้ยืมระยะยาวที่กำหนดชำระนานกว่า 1 ปี มีดอกเบี้ย 2% ;
- ผมอยากทราบว่าทำไมดอกเบี้ยของเงินกู้ระยะยาวที่กำหนดชำระภายใน 1 ปี ถึงสูงกว่าครับ ? ทั้ง ๆ ที่มันเป็นก้อนเดียวกัน
ขอบคุณครับ
เงินกู้ที่มีอายุมากกว่า1ปีและจะครบกำหนดในปีนี้ที่ต้องคืน
ผู้ถือหุ้นกู้ และน่าจะมีอายุมากกว่าหุ้นกู้ที่ต้องจ่ายดอก2%ครับ
ทำให้ต้องจ่ายดอก2.96%
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 257
สอบถามพี่พี่หน่อยครับ
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี คืออะไรหรอครับ แล้วเกิดขึ้นได้ยังไง
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี คืออะไรหรอครับ แล้วเกิดขึ้นได้ยังไง
-
- Verified User
- โพสต์: 12
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 258
สอบถามหน่อยนะครับ สมมุติว่า มีบริษัทย่อยตัวนึงทำรายได้ได้ 1000.- บริษัทเเม่ที่ถือบริษัทย่อยนี้อยู่ 32% จะถือว่าได้รายได้ 320.- ในงบรายได้รวมใหมครับ เพราะผมเจอกรณีของหุ้นอยู่ตัวนึงเเบบนี้(ไม่เเน่ใจว่าจะสามารถระบุชื่อหุ้นนี้ได้รึเปล่า) เเต่บริษัทเเม่กลับไม่ได้บันทึกเท่ากับ 320 ดันบันทึกเป็นเลขอื่นเเทน ผมเลยสับสนว่า ตกลงดูยังไงกันเเน่เหรอครับ กรณีที่บริษัทลูกทำรายได้ได้ เเม่จะบันทึกเท่าไหร่ ถ้าถือ32% เเล้วถ้าถือ100% บริษัทเเม่จะได้รายได้ของลูกเต็มๆในงบเลยใหมครับ
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 29
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 259
รบกวนสอบถามเกี่ยวกับ ROIC กับ ROCE หน่อยครับ พอดี ถามไปในห้อง value investing แล้วไม่มีคนตอบ ขอถามในห้องนี้อีกทีนะครับ
คือสงสัยเรื่องการคำนวณ ROIC , ROCE ครับ
ROIC = NOPAT/(Operating assets - AP + PPE ) = EBIT(1-tax)/(Operating assets - AP + PPE )
หรือ ROIC = NOPAT/(Equity + long term debt)
ROCE = EBIT / (Assets - Current liabilities)
ทีนี้ถ้าดูตัวหารระหว่าง ROIC กับ ROCE แล้วมันเท่ากันทางทฤษฎีเลย ต่างกันแค่ ตัวบนที่ คิดภาษี หรือไม่คือเท่านั้นเอง ดังนั้นค่าที่ได้มันก็ควรจะใกล้เคียงกันต่างกันก็แค่ผลจากภาษีเท่านั้น แต่พอไปดูค่าจากเวบ jitta มันดันห่างกันคนละเรื่องเลย
ยกตัวอย่างตัว COM7 ทีนี้ผมลองมานั่งคำนวณดูเอง โดยผมใช้ operating income และใช้ tax rate จาก jitta มาใช้ในการคำนวณ ก็ได้ผลตามรูปล่าง
โดยในส่วนของ IC ผมใช้ current assets - cash - AP + PPE ค่าที่ได้ระหว่าง ROIC กับ ROCE มันก็ไม่ได้ห่างกันมาก แบบในเวบ jitta ก็เลยสงสัยครับว่าทำไมในเวบ jitta เค้าถึงได้ค่าอย่างนั้นครับ
รบกวนพี่ๆช่วยชี้แนะด้วยครับ
ขอบคุณครับ
คือสงสัยเรื่องการคำนวณ ROIC , ROCE ครับ
ROIC = NOPAT/(Operating assets - AP + PPE ) = EBIT(1-tax)/(Operating assets - AP + PPE )
หรือ ROIC = NOPAT/(Equity + long term debt)
ROCE = EBIT / (Assets - Current liabilities)
ทีนี้ถ้าดูตัวหารระหว่าง ROIC กับ ROCE แล้วมันเท่ากันทางทฤษฎีเลย ต่างกันแค่ ตัวบนที่ คิดภาษี หรือไม่คือเท่านั้นเอง ดังนั้นค่าที่ได้มันก็ควรจะใกล้เคียงกันต่างกันก็แค่ผลจากภาษีเท่านั้น แต่พอไปดูค่าจากเวบ jitta มันดันห่างกันคนละเรื่องเลย
ยกตัวอย่างตัว COM7 ทีนี้ผมลองมานั่งคำนวณดูเอง โดยผมใช้ operating income และใช้ tax rate จาก jitta มาใช้ในการคำนวณ ก็ได้ผลตามรูปล่าง
โดยในส่วนของ IC ผมใช้ current assets - cash - AP + PPE ค่าที่ได้ระหว่าง ROIC กับ ROCE มันก็ไม่ได้ห่างกันมาก แบบในเวบ jitta ก็เลยสงสัยครับว่าทำไมในเวบ jitta เค้าถึงได้ค่าอย่างนั้นครับ
รบกวนพี่ๆช่วยชี้แนะด้วยครับ
ขอบคุณครับ
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 1392
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 260
ผมคิดว่า อาจจะต้องกลับไปถามว่า ที่มาของสูตรของ Jitta เวลาคำนวณ ROIC มายังไงครับ แต่ถ้าโดยนิยามทั่วไป สองค่านี้ไม่ควรจะต่างกันมากแบบมีนัยยะสำคัญMicroE เขียน: ↑พฤหัสฯ. ธ.ค. 08, 2022 11:42 amรบกวนสอบถามเกี่ยวกับ ROIC กับ ROCE หน่อยครับ พอดี ถามไปในห้อง value investing แล้วไม่มีคนตอบ ขอถามในห้องนี้อีกทีนะครับ
คือสงสัยเรื่องการคำนวณ ROIC , ROCE ครับ
ROIC = NOPAT/(Operating assets - AP + PPE ) = EBIT(1-tax)/(Operating assets - AP + PPE )
หรือ ROIC = NOPAT/(Equity + long term debt)
ROCE = EBIT / (Assets - Current liabilities)
ทีนี้ถ้าดูตัวหารระหว่าง ROIC กับ ROCE แล้วมันเท่ากันทางทฤษฎีเลย ต่างกันแค่ ตัวบนที่ คิดภาษี หรือไม่คือเท่านั้นเอง ดังนั้นค่าที่ได้มันก็ควรจะใกล้เคียงกันต่างกันก็แค่ผลจากภาษีเท่านั้น แต่พอไปดูค่าจากเวบ jitta มันดันห่างกันคนละเรื่องเลย
ยกตัวอย่างตัว COM7
Screenshot from 2022-11-28 14-24-57.png
ทีนี้ผมลองมานั่งคำนวณดูเอง โดยผมใช้ operating income และใช้ tax rate จาก jitta มาใช้ในการคำนวณ ก็ได้ผลตามรูปล่าง
โดยในส่วนของ IC ผมใช้ current assets - cash - AP + PPE
Screenshot from 2022-11-28 15-23-37.png
ค่าที่ได้ระหว่าง ROIC กับ ROCE มันก็ไม่ได้ห่างกันมาก แบบในเวบ jitta ก็เลยสงสัยครับว่าทำไมในเวบ jitta เค้าถึงได้ค่าอย่างนั้นครับ
รบกวนพี่ๆช่วยชี้แนะด้วยครับ
ขอบคุณครับ
แต่ถ้าตัวเลขแบบนี้ บางปีมีติดลบด้วย ซึ่งไม่ควรเกิดถ้าบริษัทมีกำไร ถ้าให้ผมเดา ผมเคยเจอสูตร ROIC อีกวิธีคือ เอากำไรมาหักเงินปันผลด้วย เรียกว่า จ่ายผลตอบแทนให้ที่มาของ capital แล้วยังเหลืออยู่ไหม (ใช้ net profit เพราะถือว่าจ่ายดอกเบี้ยไปแล้ว)
แบบนี้คือถ้าไม่อยากเอา NOPAT มาเทียบกับ wacc ความหมายคือ ดูไปเลยว่า จ่ายทั้ง debt ทั้ง equity แล้วยังเหลือมั้ย
ลองเอาไปเทียบกับ ROE ส่วนต่างอาจจะคือ payout ratio แบบคร่าวๆ เช่น ถ้าจ่ายปันผล 100% ROIC ที่คำนวณแบบนี้ก็แทบจะไกล้ 0% ถ้า payout ไม่ถึง 100% ก็ทอนไปตามสัดส่วน แต่ส่วนตัวคิดว่า ใช้วิธีแบบปกติน่าจะดีกว่าครับ ของทาง Jitta เค้าอาจจะคิดว่า คำนวณ ROCE มาแล้ว มาคำนวณ ROIC แบบท่าปกติ อาจจะไม่ได้ให้ information เพิ่มขึ้น เลยเลือกที่จะแสดงแบบนี้
แต่ถ้าจะให้ดี ผมคิดว่ากลับไปถาม Jitta โดยตรงเลยจะดีกว่าครับ ว่าเค้าคำนวณมายังไง จะได้ไม่ต้องเดาครับ
"Because nobody wants to get rich slow."-Warren Buffett-
CFA
CFA
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 29
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 261
รบกวนถามคำถามหน่อบครับ
1. เวลาบริษัทเปลี่ยนนโยบายทางบัญชี ตามกฏแล้วต้องแจ้งในหมายเหตุงบการเงินหรือไม่ครับว่าเปลี่ยน หรือเราต้องไปนั่งเทียบย้อนหลังแต่ละปีเอาเองถึงจะรู้
2. การอ่านงบ ดูแค่งบการเงินรวมอย่างเดียว เพียงพอหรือไม่ครับ แล้วกรณีไหนบ้างที่ต้องดูงบเฉพาะกิจการด้วย
3. สงสัยเรื่อง การคำนวณ AR days , AP days ครับ เนื่องจากว่า ข้อมูลในงบการเงิน จะระบุเป็น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น และ เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น ดังนั้น เวลาาคิดอัตราส่วนพวกนี้ เราต้องตัดรายการอื่นๆ ให้เหลือเฉพาะ ลูกหนี้การค้า และเจ้าหนี้การค้า เท่านั้นใช่มั้ยครับ แล้วค่อยคิดเห็นของ SET เค้าใช้ค่าดิบๆเลย ไม่ตัดรายการอื่นๆออก
ขอบคุณครับ
1. เวลาบริษัทเปลี่ยนนโยบายทางบัญชี ตามกฏแล้วต้องแจ้งในหมายเหตุงบการเงินหรือไม่ครับว่าเปลี่ยน หรือเราต้องไปนั่งเทียบย้อนหลังแต่ละปีเอาเองถึงจะรู้
2. การอ่านงบ ดูแค่งบการเงินรวมอย่างเดียว เพียงพอหรือไม่ครับ แล้วกรณีไหนบ้างที่ต้องดูงบเฉพาะกิจการด้วย
3. สงสัยเรื่อง การคำนวณ AR days , AP days ครับ เนื่องจากว่า ข้อมูลในงบการเงิน จะระบุเป็น ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น และ เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น ดังนั้น เวลาาคิดอัตราส่วนพวกนี้ เราต้องตัดรายการอื่นๆ ให้เหลือเฉพาะ ลูกหนี้การค้า และเจ้าหนี้การค้า เท่านั้นใช่มั้ยครับ แล้วค่อยคิดเห็นของ SET เค้าใช้ค่าดิบๆเลย ไม่ตัดรายการอื่นๆออก
ขอบคุณครับ
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 6
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 262
สวัสดีครับพอดีเพิ่งเริ่มศึกษาการลงทุนในหุ้น ผมมีคำถามอยากจะถามพวกพี่ๆครับว่า พอดีอ่านหนังสืองบการเงินแล้วเข้าบอกว่าสินค้าคงเหลือถ้ามีเยอะๆไม่ดีคำว่าเยอะในที่นี้นี่คือประมาณกี่เปอร์เซ็นต์ของสินทรัพย์หมุนเวียน??
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 6
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กระทู้ถามตอบวิเคราะห์เชิงบัญชี ผสมผสานการเงิน การลงทุน
โพสต์ที่ 263
ขอบคุณครับ