ทำไม BOT ไม่ลดดอกเบี้ยนโยบาย
-
- Verified User
- โพสต์: 18364
- ผู้ติดตาม: 1
Re: ทำไม BOT ไม่ลดดอกเบี้ยนโยบาย
โพสต์ที่ 183
ธปท มีวีดิทัศน์อธิบายบทบาทและหน้าที่ของธนาคารแห่งประเทศไทย
แสดงอยู่หน้าแรกของ www.bot.or.th
ให้ประชาชนทั่วไปได้รับรู้ว่า ธปท มีบทบาทหน้าที่อะไรบ้าง
จะได้เลิกสงสัยว่า คลังจี้ธปท ให้ลดดอกเบี้ย แล้วธปท ทำได้หรือไม่
http://www2.bot.or.th/download/VDO_BOTRote2013.wmv
ไฟล์ .wmv 385 MB
ประเทศไทยเป็นประเทศที่ พูดอะไรก็พูดไม่หมด พูดครึ่งๆๆกลางๆๆ ทำให้บางครั้งเกิดความเข้าใจผิดได้ละ
แสดงอยู่หน้าแรกของ www.bot.or.th
ให้ประชาชนทั่วไปได้รับรู้ว่า ธปท มีบทบาทหน้าที่อะไรบ้าง
จะได้เลิกสงสัยว่า คลังจี้ธปท ให้ลดดอกเบี้ย แล้วธปท ทำได้หรือไม่
http://www2.bot.or.th/download/VDO_BOTRote2013.wmv
ไฟล์ .wmv 385 MB
ประเทศไทยเป็นประเทศที่ พูดอะไรก็พูดไม่หมด พูดครึ่งๆๆกลางๆๆ ทำให้บางครั้งเกิดความเข้าใจผิดได้ละ
-
- Verified User
- โพสต์: 4395
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไม BOT ไม่ลดดอกเบี้ยนโยบาย
โพสต์ที่ 184
วิวาทะ "บาทร้อน" ย้อนอดีต 2540 ศปร.จี้จุดสลบ "แบงก์ชาติ"
Prev
1 of 1
Next
updated: 14 ก.พ. 2556 เวลา 12:11:41 น.
ประชาชาติออนไลน์
วิวาทะว่าด้วยความกังวลใจทางเศรษฐกิจ อันเนื่องมาจากการไหลบ่าเข้ามาของ "เงินร้อน" จากต่างประเทศ ที่ผลักดันให้เงินบาทแข็งค่าขึ้นอย่างชัดเจน และดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์พุ่งทะยานขึ้นอย่างรวดเร็ว ตามกำลังเงินและกระแสของการเก็งกำไร
จนนายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกฯและ รมว.คลัง และนายวีรพงษ์ รามางกูร ประธานแบงก์ชาติ วิตกว่าอาจจะนำไปสู่ภาวะ "เศรษฐกิจฟองสบู่" เหมือนปี 2540 ยังถูก "ตอบโต้" อย่างหนักหน่วงดุดันไม่แพ้กัน จากกลุ่มผู้นิยมความเป็น "อิสระ" ของแบงก์ชาติที่ยืนกรานว่านโยบายบาทแข็งและดอกเบี้ยสูงในปัจจุบันนั้นถูกต้องแล้ว
แม้นโยบายนี้จะทำให้แบงก์ชาติขาดทุนสะสมรวมกันถึง700,000 ล้านบาทก็ตามที
นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล อดีต รมว.คลังและอดีตรองผู้ว่าการแบงก์ชาติ โพสต์ในเฟซบุ๊กส่วนตัวเมื่อสุดสัปดาห์ที่ผ่านมา ในหัวข้อว่า "ไม่ควรกังวลขาดทุนแบงก์ชาติจนเกินเหตุ" ว่า
นายกิตติรัตน์ออกมาเตือนแบงก์ชาติว่าขาดทุนสี่แสนหรือห้าแสนล้านบาท ชาวบ้านฟังแล้วก็ย่อมตกใจเป็นธรรมดา เพราะตัวเลขสี่แสนหรือห้าแสนล้านบาทเป็นตัวเลขที่สูงมาก
แต่สำหรับคนที่มีความรู้เศรษฐศาสตร์แล้ว ขาดทุนแบงก์ชาติเป็นเรื่องที่ไม่ต้องไปตื่นเต้นตกใจเกินไป
แบงก์ชาติขาดทุนเพราะเงินบาทแข็ง ดูตัวเลขง่ายๆ ถ้าประเทศมีทุนสำรองสองแสนล้านดอลลาร์ แล้วเงินบาทแข็งขึ้นหนึ่งบาทต่อดอลลาร์ เมื่อตีราคาปิดบัญชีปลายปี แบงก์ชาติก็จะขาดทุนสองแสนล้านบาทแต่ในทางกลับกัน หากเงินบาทอ่อน ถ้าอ่อนลงหนึ่งบาทต่อดอลลาร์จะกลับเป็นกำไรสองแสนล้านบาท
ในโพสต์แบบถามเอง-ตอบเอง นายธีระชัยตั้งประเด็นต่อว่า
@ แบงก์ชาติจะเจ๊งเพราะขาดทุนหรือไม่
ธุรกิจทั่วไปหากขาดทุนติดต่อกันไประยะหนึ่ง ก็จะขาดเงินสดหมุนเวียน สภาพคล่องจะติดขัด และต้องปิดกิจการ
แต่ธนาคารกลางของทุกประเทศ เขาสามารถสร้างปริมาณเงินขึ้นมาเพื่อหล่อเลี้ยงตัวเองได้
จึงขอให้สบายใจนะครับ แบงก์ชาติไม่มีวันเจ๊ง
@ การขาดทุนของแบงก์ชาติจะกระทบการทำงานของแบงก์ชาติได้อย่างไร
มีกรณีเดียวครับ หากแบงก์ชาติประสาทเสียและพยายามแก้ปัญหาการขาดทุนด้วยการพิมพ์เงินออกมาเกินความจำเป็น
ก็จะทำให้เงินเฟ้ออุตลุด
อ่านแล้วชวนให้สบายใจขึ้นเป็นอย่างยิ่งถ้าไม่ทันระลึกถึงความจริงอย่างน้อยสองประการที่ผ่านมา ได้แก่
1.หลังวิกฤตเศรษฐกิจ 2540 แบงก์ชาติในนามของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ขาดทุนเป็นจำนวนทั้งสิ้น 1.4 ล้านล้านบาท
และโอนภาระการจ่ายดอกเบี้ยดังกล่าวมาให้กระทรวงการคลัง-หรือที่จริงก็คือประชาชนจ่ายดอกเบี้ยแทนติดต่อกันมานับ10 ปีคิดแล้วเป็นเงินหลายแสนล้านบาท
2.แบงก์ชาติเองคือหนึ่งในองค์กรที่ต้องรับผิดชอบกับหายนะทางเศรษฐกิจเมื่อปี2540
ตามรายงานของศูนย์ปฏิบัติการคณะกรรมการศึกษาเพื่อปฏิรูปสถาบันการเงิน (ศปร.) ซึ่งรัฐบาลหลังปี 2540 ตั้งขึ้นมาเพื่อตรวจสอบไต่สวนปัญหา เพื่อจะเป็นบทเรียนมิให้เกิดความผิดพลาดในอนาคต ระบุไว้ว่า
- ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) อาจเลือกที่จะไม่ให้เปิดตลาดเงินทุนเสรีตั้งแต่ พ.ศ.2533 แต่ ธปท.ก็เลือกที่จะให้เปิดการตัดสินใจให้เปิดครั้งนั้น
- เลือกที่จะเปิดตลาดเงินทุนให้เสรีแล้วก็ควรเลือกที่จะให้อัตราแลกเปลี่ยนยืดหยุ่นมากกว่านี้ แต่ ธปท.ก็เลือกที่จะรักษาช่วง (band) อัตราแลกเปลี่ยนที่แคบมากไว้ จะมาเริ่มพิจารณาก็ในเดือนเมษายน 2539 ซึ่งสายไปเสียแล้ว
- เมื่อเลือกที่จะรักษาช่วงอัตราแลกเปลี่ยนที่แคบไว้เช่นนั้น นโยบายทางด้านอุปสงค์รวมจะต้องมีความระมัดระวังเป็นพิเศษ แต่ ธปท.ก็มิได้ผลักดันอย่างจริงจัง
- เมื่อ ธปท.ไม่สามารถใช้นโยบายการคลังหรือการเงินได้ ก็ควรจะใช้มาตรการไม่ให้เงินกู้ไหลเข้าประเทศอย่างมากมายเสียตั้งแต่ต้น แต่มาตรการที่ประกาศเป็นมาตรการที่อ่อนและนำมาใช้เมื่อสายไปแล้ว
ตรงไหนที่ชี้ว่าแบงก์ชาติพลาดไม่ได้และเมื่อขาดทุนแล้วไม่เป็นภาระของใคร?
ที่มา นสพ.มติชนรายวัน
Prev
1 of 1
Next
updated: 14 ก.พ. 2556 เวลา 12:11:41 น.
ประชาชาติออนไลน์
วิวาทะว่าด้วยความกังวลใจทางเศรษฐกิจ อันเนื่องมาจากการไหลบ่าเข้ามาของ "เงินร้อน" จากต่างประเทศ ที่ผลักดันให้เงินบาทแข็งค่าขึ้นอย่างชัดเจน และดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์พุ่งทะยานขึ้นอย่างรวดเร็ว ตามกำลังเงินและกระแสของการเก็งกำไร
จนนายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกฯและ รมว.คลัง และนายวีรพงษ์ รามางกูร ประธานแบงก์ชาติ วิตกว่าอาจจะนำไปสู่ภาวะ "เศรษฐกิจฟองสบู่" เหมือนปี 2540 ยังถูก "ตอบโต้" อย่างหนักหน่วงดุดันไม่แพ้กัน จากกลุ่มผู้นิยมความเป็น "อิสระ" ของแบงก์ชาติที่ยืนกรานว่านโยบายบาทแข็งและดอกเบี้ยสูงในปัจจุบันนั้นถูกต้องแล้ว
แม้นโยบายนี้จะทำให้แบงก์ชาติขาดทุนสะสมรวมกันถึง700,000 ล้านบาทก็ตามที
นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล อดีต รมว.คลังและอดีตรองผู้ว่าการแบงก์ชาติ โพสต์ในเฟซบุ๊กส่วนตัวเมื่อสุดสัปดาห์ที่ผ่านมา ในหัวข้อว่า "ไม่ควรกังวลขาดทุนแบงก์ชาติจนเกินเหตุ" ว่า
นายกิตติรัตน์ออกมาเตือนแบงก์ชาติว่าขาดทุนสี่แสนหรือห้าแสนล้านบาท ชาวบ้านฟังแล้วก็ย่อมตกใจเป็นธรรมดา เพราะตัวเลขสี่แสนหรือห้าแสนล้านบาทเป็นตัวเลขที่สูงมาก
แต่สำหรับคนที่มีความรู้เศรษฐศาสตร์แล้ว ขาดทุนแบงก์ชาติเป็นเรื่องที่ไม่ต้องไปตื่นเต้นตกใจเกินไป
แบงก์ชาติขาดทุนเพราะเงินบาทแข็ง ดูตัวเลขง่ายๆ ถ้าประเทศมีทุนสำรองสองแสนล้านดอลลาร์ แล้วเงินบาทแข็งขึ้นหนึ่งบาทต่อดอลลาร์ เมื่อตีราคาปิดบัญชีปลายปี แบงก์ชาติก็จะขาดทุนสองแสนล้านบาทแต่ในทางกลับกัน หากเงินบาทอ่อน ถ้าอ่อนลงหนึ่งบาทต่อดอลลาร์จะกลับเป็นกำไรสองแสนล้านบาท
ในโพสต์แบบถามเอง-ตอบเอง นายธีระชัยตั้งประเด็นต่อว่า
@ แบงก์ชาติจะเจ๊งเพราะขาดทุนหรือไม่
ธุรกิจทั่วไปหากขาดทุนติดต่อกันไประยะหนึ่ง ก็จะขาดเงินสดหมุนเวียน สภาพคล่องจะติดขัด และต้องปิดกิจการ
แต่ธนาคารกลางของทุกประเทศ เขาสามารถสร้างปริมาณเงินขึ้นมาเพื่อหล่อเลี้ยงตัวเองได้
จึงขอให้สบายใจนะครับ แบงก์ชาติไม่มีวันเจ๊ง
@ การขาดทุนของแบงก์ชาติจะกระทบการทำงานของแบงก์ชาติได้อย่างไร
มีกรณีเดียวครับ หากแบงก์ชาติประสาทเสียและพยายามแก้ปัญหาการขาดทุนด้วยการพิมพ์เงินออกมาเกินความจำเป็น
ก็จะทำให้เงินเฟ้ออุตลุด
อ่านแล้วชวนให้สบายใจขึ้นเป็นอย่างยิ่งถ้าไม่ทันระลึกถึงความจริงอย่างน้อยสองประการที่ผ่านมา ได้แก่
1.หลังวิกฤตเศรษฐกิจ 2540 แบงก์ชาติในนามของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ขาดทุนเป็นจำนวนทั้งสิ้น 1.4 ล้านล้านบาท
และโอนภาระการจ่ายดอกเบี้ยดังกล่าวมาให้กระทรวงการคลัง-หรือที่จริงก็คือประชาชนจ่ายดอกเบี้ยแทนติดต่อกันมานับ10 ปีคิดแล้วเป็นเงินหลายแสนล้านบาท
2.แบงก์ชาติเองคือหนึ่งในองค์กรที่ต้องรับผิดชอบกับหายนะทางเศรษฐกิจเมื่อปี2540
ตามรายงานของศูนย์ปฏิบัติการคณะกรรมการศึกษาเพื่อปฏิรูปสถาบันการเงิน (ศปร.) ซึ่งรัฐบาลหลังปี 2540 ตั้งขึ้นมาเพื่อตรวจสอบไต่สวนปัญหา เพื่อจะเป็นบทเรียนมิให้เกิดความผิดพลาดในอนาคต ระบุไว้ว่า
- ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) อาจเลือกที่จะไม่ให้เปิดตลาดเงินทุนเสรีตั้งแต่ พ.ศ.2533 แต่ ธปท.ก็เลือกที่จะให้เปิดการตัดสินใจให้เปิดครั้งนั้น
- เลือกที่จะเปิดตลาดเงินทุนให้เสรีแล้วก็ควรเลือกที่จะให้อัตราแลกเปลี่ยนยืดหยุ่นมากกว่านี้ แต่ ธปท.ก็เลือกที่จะรักษาช่วง (band) อัตราแลกเปลี่ยนที่แคบมากไว้ จะมาเริ่มพิจารณาก็ในเดือนเมษายน 2539 ซึ่งสายไปเสียแล้ว
- เมื่อเลือกที่จะรักษาช่วงอัตราแลกเปลี่ยนที่แคบไว้เช่นนั้น นโยบายทางด้านอุปสงค์รวมจะต้องมีความระมัดระวังเป็นพิเศษ แต่ ธปท.ก็มิได้ผลักดันอย่างจริงจัง
- เมื่อ ธปท.ไม่สามารถใช้นโยบายการคลังหรือการเงินได้ ก็ควรจะใช้มาตรการไม่ให้เงินกู้ไหลเข้าประเทศอย่างมากมายเสียตั้งแต่ต้น แต่มาตรการที่ประกาศเป็นมาตรการที่อ่อนและนำมาใช้เมื่อสายไปแล้ว
ตรงไหนที่ชี้ว่าแบงก์ชาติพลาดไม่ได้และเมื่อขาดทุนแล้วไม่เป็นภาระของใคร?
ที่มา นสพ.มติชนรายวัน
- ayethebing
- Verified User
- โพสต์: 2125
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไม BOT ไม่ลดดอกเบี้ยนโยบาย
โพสต์ที่ 185
กนง. ประกาศคงดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ 2.75 % ตามคาด
ส่วนข่าวที่ post มาของมติชน นะครับ ผมเห็นแล้ว ผมไม่เคยสนใจจะอ่านเลยครับ
ส่วนข่าวที่ post มาของมติชน นะครับ ผมเห็นแล้ว ผมไม่เคยสนใจจะอ่านเลยครับ
ขอนไม้อันนิ่งสงบ
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4254
- ผู้ติดตาม: 1
Re: ทำไม BOT ไม่ลดดอกเบี้ยนโยบาย
โพสต์ที่ 187
"มาร์ค ฟาเบอร์" ประเมินเศรษฐกิจและอัตราเงินเฟ้อของไทย ขณะนี้ควรขึ้นดอกเบี้ย ด้วยซ้ำ เนื่องจากเชื่อว่าดัชนีราคาผู้บริโภค น่าจะสูง
หลังจากที่วานนี้คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติ 6:1 ให้คงดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ 2.75% เนื่องจาก 4 เหตุผลหลักว่า1.เศรษฐกิจโลกดีขึ้น 2.เศรษฐกิจไทยไตรมาส4 ดีเกินคาด 3.อัตราเงินเฟ้อแนวโน้มสูงและ4.สินทรัพย์เสี่ยงที่จะเกิดฟองสบู่
นายมาร์ค ฟาเบอร์ ผู้เชี่ยวชาญการลงทุนชั้นนำระดับโลกให้สัมภาษณ์"กรุงเทพธุรกิจทีวี"ว่า ไทยควรปรับอัตราดอกเบี้ยให้เพิ่มสูงขึ้นด้วยซ้ำ ไม่ใช่คงอัตราดอกเบี้ยไว้เท่าเดิม เพราะเศรษฐกิจไทยขึ้นมาแรงและเร็วมากในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมา แต่ไม่ใช่เฉพาะไทยอย่างเดียว เป็นสถานการณ์ที่เกิดขึ้นทั่วโลก แต่ในไทยมีสัญญาณการเก็งกำไรอยู่มาก รวมทั้งเริ่มมีฟองสบู่ในภาคอสังหาริมทรัพย์
ขณะเดียวกัน อัตราเงินเฟ้อในไทยและที่แถลงออกมาจากรัฐบาลทั่วโลก ดูเหมือนว่าจะสวนทางกับความเป็นจริง ที่ราคาสินค้าจริงปรับตัวขึ้นมา 5-10%
นายเบญจรงค์ สุวรรณคีรี ผู้อำนวยการ ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า มติ กนง. ที่ออกมาถือว่าเป็นไปตามที่ทางศูนย์วิเคราะห์ฯ ได้คาดเอาไว้ โดยตัวเลขเศรษฐกิจไทยล่าสุดที่ทาง สศช. ประกาศออกมา ถือว่าดีกว่าที่คาด อีกทั้งยังมีแนวโน้มว่าการเติบโตจะเป็นไปอย่างต่อเนื่อง
นอกจากนี้ ถ้าดูถ้อยแถลงของ กนง. ในครั้งนี้ ถือว่ามีประเด็นใหม่ที่น่าสนใจ คือ เรื่องเงินเฟ้อ โดยในแถลงการณ์ระบุชัดเจนว่า เงินเฟ้อเพิ่มขึ้นจากการประชุมในครั้งก่อน ซึ่งเป็นผลจากราคาน้ำมันที่ปรับขึ้น ทำให้ต้องติดตามว่า แนวโน้มเงินเฟ้อจากนี้ไปจะเป็นอย่างไร ซึ่งถ้าดูการฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐและจีนแล้ว อาจเป็นประเด็นที่กลับมากดดันในเรื่องการเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมันก็เป็นได้
http://www.bangkokbiznews.com/home/deta ... เบี้ย.html
หลังจากที่วานนี้คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติ 6:1 ให้คงดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ 2.75% เนื่องจาก 4 เหตุผลหลักว่า1.เศรษฐกิจโลกดีขึ้น 2.เศรษฐกิจไทยไตรมาส4 ดีเกินคาด 3.อัตราเงินเฟ้อแนวโน้มสูงและ4.สินทรัพย์เสี่ยงที่จะเกิดฟองสบู่
นายมาร์ค ฟาเบอร์ ผู้เชี่ยวชาญการลงทุนชั้นนำระดับโลกให้สัมภาษณ์"กรุงเทพธุรกิจทีวี"ว่า ไทยควรปรับอัตราดอกเบี้ยให้เพิ่มสูงขึ้นด้วยซ้ำ ไม่ใช่คงอัตราดอกเบี้ยไว้เท่าเดิม เพราะเศรษฐกิจไทยขึ้นมาแรงและเร็วมากในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมา แต่ไม่ใช่เฉพาะไทยอย่างเดียว เป็นสถานการณ์ที่เกิดขึ้นทั่วโลก แต่ในไทยมีสัญญาณการเก็งกำไรอยู่มาก รวมทั้งเริ่มมีฟองสบู่ในภาคอสังหาริมทรัพย์
ขณะเดียวกัน อัตราเงินเฟ้อในไทยและที่แถลงออกมาจากรัฐบาลทั่วโลก ดูเหมือนว่าจะสวนทางกับความเป็นจริง ที่ราคาสินค้าจริงปรับตัวขึ้นมา 5-10%
นายเบญจรงค์ สุวรรณคีรี ผู้อำนวยการ ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า มติ กนง. ที่ออกมาถือว่าเป็นไปตามที่ทางศูนย์วิเคราะห์ฯ ได้คาดเอาไว้ โดยตัวเลขเศรษฐกิจไทยล่าสุดที่ทาง สศช. ประกาศออกมา ถือว่าดีกว่าที่คาด อีกทั้งยังมีแนวโน้มว่าการเติบโตจะเป็นไปอย่างต่อเนื่อง
นอกจากนี้ ถ้าดูถ้อยแถลงของ กนง. ในครั้งนี้ ถือว่ามีประเด็นใหม่ที่น่าสนใจ คือ เรื่องเงินเฟ้อ โดยในแถลงการณ์ระบุชัดเจนว่า เงินเฟ้อเพิ่มขึ้นจากการประชุมในครั้งก่อน ซึ่งเป็นผลจากราคาน้ำมันที่ปรับขึ้น ทำให้ต้องติดตามว่า แนวโน้มเงินเฟ้อจากนี้ไปจะเป็นอย่างไร ซึ่งถ้าดูการฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐและจีนแล้ว อาจเป็นประเด็นที่กลับมากดดันในเรื่องการเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมันก็เป็นได้
http://www.bangkokbiznews.com/home/deta ... เบี้ย.html
// Stay Hungry, Stay Foolish.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
-
- Verified User
- โพสต์: 18364
- ผู้ติดตาม: 1
Re: ทำไม BOT ไม่ลดดอกเบี้ยนโยบาย
โพสต์ที่ 188
แรงกดดันที่สำคัญในการดันเงินเฟ้อคือน้ำมัน
เนื่องจากเป็นต้นทุนทั้งเรื่องค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า
ดังนั้น ยิ่งน้ำมันขึ้นเร็วแค่ไหน เงินเฟ้อขึ้นตามแน่นอน
การที่กดดันเงินเฟ้อลงได้คือลดดอกเบี้ย
การลดดอกเบี้ยคือ ปลาอยเงินในระบบลดลง ดูดเงินกลับ
เนื่องจากเป็นต้นทุนทั้งเรื่องค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า
ดังนั้น ยิ่งน้ำมันขึ้นเร็วแค่ไหน เงินเฟ้อขึ้นตามแน่นอน
การที่กดดันเงินเฟ้อลงได้คือลดดอกเบี้ย
การลดดอกเบี้ยคือ ปลาอยเงินในระบบลดลง ดูดเงินกลับ
-
- Verified User
- โพสต์: 18364
- ผู้ติดตาม: 1
Re: ทำไม BOT ไม่ลดดอกเบี้ยนโยบาย
โพสต์ที่ 190
http://www.investopedia.com/ask/answers ... z2LvXtWmw2
Are oil prices and interest rates correlated?
Yes. No. Maybe. Definitely.
There's no easy answer to this question. While many theories abound, the reality is that oil prices and interest rates have some correlation between their movements, but are not correlated exclusively. In truth, many factors affect the direction of both interest rates and oil prices. Sometimes those factors are related, sometimes they affect each other, and sometimes there's no rhyme or reason to what happens.
One of the basic theories stipulates that increasing interest rates raise consumers' and manufacturers' costs, which, in turn, reduces the amount of time and money people spend driving. Less people on the road translates to less demand for oil, which can cause oil prices to drop. Thus, in this instance, there might be what we'd call an "inverse correlation" where one thing rises and the other drops.
By this same theory, when interest rates drop, consumers and companies are able to borrow and spend money more freely, which drives up demand for oil. The greater the usage of oil, which has OPEC-imposed limits on production amounts, the more consumers bid up the price.
Another inversely correlated theory, which can occur simultaneously with the first, proposes that rising or high interest rates help strengthen the dollar against other countries' currencies. When the dollar is strong, this helps American oil companies to buy more oil with every U.S. dollar spent, ultimately passing the savings on to consumers. Likewise, when the value of the dollar is low against foreign currencies, something that can happen with sinking interest rates, U.S. dollars buy less oil than before. This, of course, can contribute to oil becoming costlier to the U.S., which consumes 25% of the world's oil.
With all that said, factors such as hurricanes, wars, increased efficiency of new cars, lowered OPEC output, and changes in domestic oil production all can have uncorrelated effects on oil prices. Just when you thought oil prices should go up or down opposite of interest rates, they do something entirely different. Even the fear of occurrences such as natural disasters and wars can cause oil prices to spike just when they should be dropping, as seen over the last decade.
For more on this topic, read Forces Behind Interest Rates and Why You Can't Influence Gas Prices.
This question was answered by Ken Clark.
Read more:
http://www.investopedia.com/ask/answers ... z2LvY4WKi4
Are oil prices and interest rates correlated?
Yes. No. Maybe. Definitely.
There's no easy answer to this question. While many theories abound, the reality is that oil prices and interest rates have some correlation between their movements, but are not correlated exclusively. In truth, many factors affect the direction of both interest rates and oil prices. Sometimes those factors are related, sometimes they affect each other, and sometimes there's no rhyme or reason to what happens.
One of the basic theories stipulates that increasing interest rates raise consumers' and manufacturers' costs, which, in turn, reduces the amount of time and money people spend driving. Less people on the road translates to less demand for oil, which can cause oil prices to drop. Thus, in this instance, there might be what we'd call an "inverse correlation" where one thing rises and the other drops.
By this same theory, when interest rates drop, consumers and companies are able to borrow and spend money more freely, which drives up demand for oil. The greater the usage of oil, which has OPEC-imposed limits on production amounts, the more consumers bid up the price.
Another inversely correlated theory, which can occur simultaneously with the first, proposes that rising or high interest rates help strengthen the dollar against other countries' currencies. When the dollar is strong, this helps American oil companies to buy more oil with every U.S. dollar spent, ultimately passing the savings on to consumers. Likewise, when the value of the dollar is low against foreign currencies, something that can happen with sinking interest rates, U.S. dollars buy less oil than before. This, of course, can contribute to oil becoming costlier to the U.S., which consumes 25% of the world's oil.
With all that said, factors such as hurricanes, wars, increased efficiency of new cars, lowered OPEC output, and changes in domestic oil production all can have uncorrelated effects on oil prices. Just when you thought oil prices should go up or down opposite of interest rates, they do something entirely different. Even the fear of occurrences such as natural disasters and wars can cause oil prices to spike just when they should be dropping, as seen over the last decade.
For more on this topic, read Forces Behind Interest Rates and Why You Can't Influence Gas Prices.
This question was answered by Ken Clark.
Read more:
http://www.investopedia.com/ask/answers ... z2LvY4WKi4
-
- Verified User
- โพสต์: 18364
- ผู้ติดตาม: 1
Re: ทำไม BOT ไม่ลดดอกเบี้ยนโยบาย
โพสต์ที่ 193
ลองอ่าน pdf เล่มนี้ดู
http://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPu ... klet20.pdf
เป็น 20 เคื่องน่ารู้เกี่ยวกับ ธปท
แล้วถามกลับว่า ทางด้านกระทรวงการคลัง ทำหนังสือแบบนี้ให้อ่านหรือเปล่า
http://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPu ... klet20.pdf
เป็น 20 เคื่องน่ารู้เกี่ยวกับ ธปท
แล้วถามกลับว่า ทางด้านกระทรวงการคลัง ทำหนังสือแบบนี้ให้อ่านหรือเปล่า
-
- Verified User
- โพสต์: 18364
- ผู้ติดตาม: 1
Re: ทำไม BOT ไม่ลดดอกเบี้ยนโยบาย
โพสต์ที่ 194
บทความ : ดอกเบี้ยไทยสูงเกินไปจริงหรือ?
http://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPu ... _03_13.pdf
ลองอ่านดูว่า คนที่เขียนบทความนี้มีประเด็นอะไรที่ทำให้ไม่ลดอัตราดอกเบี้ย
อันนี้เป็นประเด็นที่ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศได้รับประโยชน์หรือเสียประโยชน์
อ่านแล้วได้ ความรู้ละครับ
เปิดโลก ไม่ใช่มาเบิกเนตร
http://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPu ... _03_13.pdf
ลองอ่านดูว่า คนที่เขียนบทความนี้มีประเด็นอะไรที่ทำให้ไม่ลดอัตราดอกเบี้ย
อันนี้เป็นประเด็นที่ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศได้รับประโยชน์หรือเสียประโยชน์
อ่านแล้วได้ ความรู้ละครับ
เปิดโลก ไม่ใช่มาเบิกเนตร
- ayethebing
- Verified User
- โพสต์: 2125
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไม BOT ไม่ลดดอกเบี้ยนโยบาย
โพสต์ที่ 196
เงินบาทแข็งโป๊กเหมือนทานไวอะกร้าไปทั้งแผงเลยจริงๆ ครับ ไม่ใช่เฉพาะกับดอลลาร์ แม้แต่กับเงินสกุลในเอเซียด้วยกันอย่าง สิงคโปร์ หรือ อินโดนีเซีย ก็ทำ new high เหมือนกัน
ผมว่าถ้าลดดอกเบี้ยจริงก็ยังทำอะไรไม่ได้มาก สงสัยต้องออกมาตรการอื่นๆ ช่วยซะแล้ว (โดยเฉพาะจากกระทรวงการคลัง)
หรือจะช่างมัน ให้ส่งออกเค้าดิ้นรนเองดูบ้างดีครับ ???
ผมว่าถ้าลดดอกเบี้ยจริงก็ยังทำอะไรไม่ได้มาก สงสัยต้องออกมาตรการอื่นๆ ช่วยซะแล้ว (โดยเฉพาะจากกระทรวงการคลัง)
หรือจะช่างมัน ให้ส่งออกเค้าดิ้นรนเองดูบ้างดีครับ ???
ขอนไม้อันนิ่งสงบ
-
- Verified User
- โพสต์: 428
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไม BOT ไม่ลดดอกเบี้ยนโยบาย
โพสต์ที่ 197
ผมอยากให้ BOT ลดดอกเบี้ยนโยบาย
เพื่อลดภาระการจ่ายดอกเบี้ยของ BOT ปีละหลายหมื่นล้านลง
แต่ส่วนมากคนไทยจะหลงประเด็นไปพูดเรื่องการแข็งหรืออ่อนค่าของเงิน เงินเฟ้อ
และอ้างว่าลดดอกเบี้ยแล้ว เงินบาทก็อาจจะแข็งก็ได้ เพราะมีหลายปัจจัย
ลดดอกเบี้ยเพื่อลดค่าจ่ายของประเทศไทย อย่างอื่นเรื่องไร้สาระทั้งนั้น
ถ้าลดแล้วเงินยังแข็งก็ชั่งมัน
ลดแล้วเงินอ่อนก็ชั่งมัน
ลดแล้วเงินเฟ้อ ก็ดูสักพัก แล้วขึ้นดอกเบี้ยก็ได้ ไม่เห็นแปลก
คน BOT สุดยอดแห่งการหลงตัว
เพื่อลดภาระการจ่ายดอกเบี้ยของ BOT ปีละหลายหมื่นล้านลง
แต่ส่วนมากคนไทยจะหลงประเด็นไปพูดเรื่องการแข็งหรืออ่อนค่าของเงิน เงินเฟ้อ
และอ้างว่าลดดอกเบี้ยแล้ว เงินบาทก็อาจจะแข็งก็ได้ เพราะมีหลายปัจจัย
ลดดอกเบี้ยเพื่อลดค่าจ่ายของประเทศไทย อย่างอื่นเรื่องไร้สาระทั้งนั้น
ถ้าลดแล้วเงินยังแข็งก็ชั่งมัน
ลดแล้วเงินอ่อนก็ชั่งมัน
ลดแล้วเงินเฟ้อ ก็ดูสักพัก แล้วขึ้นดอกเบี้ยก็ได้ ไม่เห็นแปลก
คน BOT สุดยอดแห่งการหลงตัว
- SamuelYeD
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 262
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไม BOT ไม่ลดดอกเบี้ยนโยบาย
โพสต์ที่ 198
[quote="CARPENTER"]ถ้าลดแล้วเงินยังแข็งก็ชั่งมัน
ลดแล้วเงินอ่อนก็ชั่งมัน
ลดแล้วเงินเฟ้อ ก็ดูสักพัก แล้วขึ้นดอกเบี้ยก็ได้ ไม่เห็นแปลก
/quote]
อย่างกะเล่นเกมส์เลยนะครับ ถ้าทำอะไรไปไม่ดีก็ restart ใหม่
ชีวิตจริงนะท่านๆ
เดี๋ยว BOT ก็มาตอบว่า จะให้ลดดอกเบี้ยหรอ หุหุ...ชั่งมัน...โว้ย ตูไม่ลด 5555
ปล. อเมริกา ยุโรป ญี่ปุ่น อยากให้ค่าเงินอ่อน เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศตัวเอง
- คำถามคือ แล้วใครจะแข็ง ??? (เหมือนตอนนี้จะค่อยๆ แข็งละ)
ลดแล้วเงินอ่อนก็ชั่งมัน
ลดแล้วเงินเฟ้อ ก็ดูสักพัก แล้วขึ้นดอกเบี้ยก็ได้ ไม่เห็นแปลก
/quote]
อย่างกะเล่นเกมส์เลยนะครับ ถ้าทำอะไรไปไม่ดีก็ restart ใหม่
ชีวิตจริงนะท่านๆ
เดี๋ยว BOT ก็มาตอบว่า จะให้ลดดอกเบี้ยหรอ หุหุ...ชั่งมัน...โว้ย ตูไม่ลด 5555
ปล. อเมริกา ยุโรป ญี่ปุ่น อยากให้ค่าเงินอ่อน เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศตัวเอง
- คำถามคือ แล้วใครจะแข็ง ??? (เหมือนตอนนี้จะค่อยๆ แข็งละ)
-
- Verified User
- โพสต์: 18364
- ผู้ติดตาม: 1
Re: ทำไม BOT ไม่ลดดอกเบี้ยนโยบาย
โพสต์ที่ 199
ธปท ได้ออก "FAQ 78 : ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยทำให้ทุนนอกไหลเข้าไทยจริงหรือ?"
http://www.bot.or.th/Thai/EconomicCondi ... FAQ_78.pdf
มาให้อ่านกัน
ควรเอามาศึกษาไว้ เพื่อประดับความรู้ ติดอาวุธให้แก่ตัวเองละครับ
ถ้าว่างอ่านต่อ ก็ควรอ่าน"สุนทรพจน์ : บทบาทสถาบันการเงินกับอนาคตประเทศไทย"
http://www.bot.or.th/Thai/PressAndSpeec ... ar2013.pdf
อันนี้บ่งบอกว่า ถึงเวลาหรือยังที่ธนาคารพาณิชย์ของไทยออกสู่โลกกว้างหรือมีผลกระทบต่อโลกกว้างอย่างไงในเวลานี้
สิ่งที่เตือนคือ "ตำราวิชาเดียวกัน เรื่องเดียวกัน แต่นักศึกษาเปิดคนละหน้า คนละทฤษฏีที่อธิบาย แล้วไซร้ ความหมายที่ได้แตกต่างกัน การตีความแตกต่างกัน"
"In the long run ,we are all dead" เป็นคำพูดของ John Maynard Keynes
http://www.bot.or.th/Thai/EconomicCondi ... FAQ_78.pdf
มาให้อ่านกัน
ควรเอามาศึกษาไว้ เพื่อประดับความรู้ ติดอาวุธให้แก่ตัวเองละครับ
ถ้าว่างอ่านต่อ ก็ควรอ่าน"สุนทรพจน์ : บทบาทสถาบันการเงินกับอนาคตประเทศไทย"
http://www.bot.or.th/Thai/PressAndSpeec ... ar2013.pdf
อันนี้บ่งบอกว่า ถึงเวลาหรือยังที่ธนาคารพาณิชย์ของไทยออกสู่โลกกว้างหรือมีผลกระทบต่อโลกกว้างอย่างไงในเวลานี้
สิ่งที่เตือนคือ "ตำราวิชาเดียวกัน เรื่องเดียวกัน แต่นักศึกษาเปิดคนละหน้า คนละทฤษฏีที่อธิบาย แล้วไซร้ ความหมายที่ได้แตกต่างกัน การตีความแตกต่างกัน"
"In the long run ,we are all dead" เป็นคำพูดของ John Maynard Keynes
-
- Verified User
- โพสต์: 428
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไม BOT ไม่ลดดอกเบี้ยนโยบาย
โพสต์ที่ 200
ดอกเบี้ยสูงแล้วประเทศไทยได้อะไร
แต่ที่แน่ดอกเบี้ยที่จ่ายให้ ตปท สูงไปด้วย
ดังนั้นต่างชาติได้ประโยชน์ในนโยบายของBOTนี้
มีใครเชียนโยบายนี้บ้างธนาคารพาริชย์ทุกธนาคารเพราะธนาคารพาริชย์ได้
มาอ้างเหตุผลสารพัดไร้สาระ
นโยบายแบบนี้นักวิชาการเรียนตปทชอบนัก
เหมือนกับนโยบายตั้งปรส
แล้วให้ฝรั้งแบ่งกองหนี้แล้วมันก็ประมูลไป
ผลงานพวกนายธนาคารทั้งนั้นที่ทำแบบนี้
แต่ที่แน่ดอกเบี้ยที่จ่ายให้ ตปท สูงไปด้วย
ดังนั้นต่างชาติได้ประโยชน์ในนโยบายของBOTนี้
มีใครเชียนโยบายนี้บ้างธนาคารพาริชย์ทุกธนาคารเพราะธนาคารพาริชย์ได้
มาอ้างเหตุผลสารพัดไร้สาระ
นโยบายแบบนี้นักวิชาการเรียนตปทชอบนัก
เหมือนกับนโยบายตั้งปรส
แล้วให้ฝรั้งแบ่งกองหนี้แล้วมันก็ประมูลไป
ผลงานพวกนายธนาคารทั้งนั้นที่ทำแบบนี้
-
- Verified User
- โพสต์: 18364
- ผู้ติดตาม: 1
Re: ทำไม BOT ไม่ลดดอกเบี้ยนโยบาย
โพสต์ที่ 201
ถามกลับว่า ลดดอกเบี้ยได้อะไรครับCARPENTER เขียน:ดอกเบี้ยสูงแล้วประเทศไทยได้อะไร
แต่ที่แน่ดอกเบี้ยที่จ่ายให้ ตปท สูงไปด้วย
ดังนั้นต่างชาติได้ประโยชน์ในนโยบายของBOTนี้
มีใครเชียนโยบายนี้บ้างธนาคารพาริชย์ทุกธนาคารเพราะธนาคารพาริชย์ได้
มาอ้างเหตุผลสารพัดไร้สาระ
นโยบายแบบนี้นักวิชาการเรียนตปทชอบนัก
เหมือนกับนโยบายตั้งปรส
แล้วให้ฝรั้งแบ่งกองหนี้แล้วมันก็ประมูลไป
ผลงานพวกนายธนาคารทั้งนั้นที่ทำแบบนี้
ในตอนที่เศรษฐกิจเติบโตแบบนี้
ถ้ายังจำคุณ อลัน กรีนสแปน ได้ มีคำตอบในหนังสือของท่าน
ที่นั่งเป็นประธาน FED อย่างยาวนาน และออกมายอมรับว่า
อัตราดอกเบี้ยที่ต่ำและมีระยะเวลายาวนานนั้น เป็นหนึ่งในสาเหตุ
ของการเกิดวิกฤติแฮมเบอร์เกอร์ขึ้น
-
- Verified User
- โพสต์: 1155
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไม BOT ไม่ลดดอกเบี้ยนโยบาย
โพสต์ที่ 202
ประหยัดค่าดอกเบี้ยที่ BOT ต้องจ่าย
ปีละหลายหมื่นล้านครับ
เพียงพอไม๊ครับ ที่ BOT ต้อง ลดดอกเบี้ย
เงินคนไทยทั้งชาตินะครับไม่ใช่เงิน ของ BOT
ดอกเบี้ยสูง คนที่ได้คือ ต่างชาติ และพวกสถาบันการเงินทั้งหลาย
คุณ miracle อย่าบอกนะว่าคุณทำงานในสถาบันกาเงิน
ปีละหลายหมื่นล้านครับ
เพียงพอไม๊ครับ ที่ BOT ต้อง ลดดอกเบี้ย
เงินคนไทยทั้งชาตินะครับไม่ใช่เงิน ของ BOT
ดอกเบี้ยสูง คนที่ได้คือ ต่างชาติ และพวกสถาบันการเงินทั้งหลาย
คุณ miracle อย่าบอกนะว่าคุณทำงานในสถาบันกาเงิน
Blueplanet
-
- Verified User
- โพสต์: 18364
- ผู้ติดตาม: 1
Re: ทำไม BOT ไม่ลดดอกเบี้ยนโยบาย
โพสต์ที่ 206
ผมไม่ได้ทำงานที่เกี่ยวข้องกับการเงินblueplanet เขียน:ประหยัดค่าดอกเบี้ยที่ BOT ต้องจ่าย
ปีละหลายหมื่นล้านครับ
เพียงพอไม๊ครับ ที่ BOT ต้อง ลดดอกเบี้ย
เงินคนไทยทั้งชาตินะครับไม่ใช่เงิน ของ BOT
ดอกเบี้ยสูง คนที่ได้คือ ต่างชาติ และพวกสถาบันการเงินทั้งหลาย
คุณ miracle อย่าบอกนะว่าคุณทำงานในสถาบันกาเงิน
ถ้าใครที่เคยคุยกับผม รู้ว่า ผมไม่ได้ทำงานด้านนี้
เหตุเข้าถ้า แต่สิ่งที่ตามมาคือ
เสกกระดาษให้เป็นเงิน มีอะไรหนุนหลัง
เมื่อลดดอกเยี้ยบด คือการปั้มเงินกระดาษออกมาใช้
ราคาพันธบัตรมันสูงขึ้นทันที
ไปดูได้เลยที่ www.thaibma.or.th
ในวันที่ประกาศลดดอกเบี้ยลง กราฟอัตราดอกเบี้ยทุกช่วงเวลาลงตาม
ถ้าว่าเงินที่ไหนไปซื้อพันธบัตร ในวันนั้น
ถามต่อว่า ลดดอกเบี้ยที่จ่ายของ bot ลด
ถามว่าหนี้ก้อนนั้นออกเป็นพันธบัตร ที่มีดอกเบี้ยหน้าตั๋วคงที่ไปแล้ว
มันลดดอกเบี้ยที่จ่ายได้หรือ นอกจากเงินมันโดนเงินเฟ้อกัดกินตามกาลเวลา
-
- Verified User
- โพสต์: 428
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไม BOT ไม่ลดดอกเบี้ยนโยบาย
โพสต์ที่ 207
แล้วเงินหลายหมื่นล้าน ที่ bot จ่ายเป็นดอกเบี้ยให้ ตปท ใครรับผิดชอบ
ธนาคารพาณิชย์ทุกธนาคาร ตีปลีกกันทันที ที่ bot คงดอกเบี้ยอัตราสูง
ผู้บริหาร ของ bot รวมทั้ง คณะกรรมการที่กำหนดดอกเบี้ย ก็มาจาก พวกธนาคารทั้งนั้น
พวกเดียวกันทำเพื่อพวกพ้อง นี่คือสังคมไทย
ธนาคารพาณิชย์ทุกธนาคาร ตีปลีกกันทันที ที่ bot คงดอกเบี้ยอัตราสูง
ผู้บริหาร ของ bot รวมทั้ง คณะกรรมการที่กำหนดดอกเบี้ย ก็มาจาก พวกธนาคารทั้งนั้น
พวกเดียวกันทำเพื่อพวกพ้อง นี่คือสังคมไทย
-
- Verified User
- โพสต์: 18364
- ผู้ติดตาม: 1
Re: ทำไม BOT ไม่ลดดอกเบี้ยนโยบาย
โพสต์ที่ 208
ประเด็นเรื่องจ่ายดอกเบี้ย จากภาระดังกล่าว
กระทรวงการคลังเป็นผู้จ่าย แต่เมื่อปีที่แล้ว
โอนให้ธปท เพื่อลดหนี้สาธารณะ ไม่ใช่หรือครับ
ข้อตกลงมันเกิดตั้งแต่ต้มยำกุ้ง
มาแก้ไขตอนนี้
ต้องถามย้อนกลับไปว่า
คดีหรือหมายจับ ที่กำลังหมดอายุหรือหมดไปแล้ว
เป็นหน้าที่ใครรับผิดชอบที่ไม่ดำเนินการตามขั้นตอน
แล้วเกิดความเสียหาย (มันไปที่ต้นเหตุ)
คำถามตามมาคือ ตอนนี้ค่าเงินบาทแข็งหากไปมองดุลการค้ามันติดลบ
ดังนั้นด้านการลงทุนจึงเป็นบวก มิฉะนั้น ประเทศเดินต่อมิได้
กระทรวงการคลังเป็นผู้จ่าย แต่เมื่อปีที่แล้ว
โอนให้ธปท เพื่อลดหนี้สาธารณะ ไม่ใช่หรือครับ
ข้อตกลงมันเกิดตั้งแต่ต้มยำกุ้ง
มาแก้ไขตอนนี้
ต้องถามย้อนกลับไปว่า
คดีหรือหมายจับ ที่กำลังหมดอายุหรือหมดไปแล้ว
เป็นหน้าที่ใครรับผิดชอบที่ไม่ดำเนินการตามขั้นตอน
แล้วเกิดความเสียหาย (มันไปที่ต้นเหตุ)
คำถามตามมาคือ ตอนนี้ค่าเงินบาทแข็งหากไปมองดุลการค้ามันติดลบ
ดังนั้นด้านการลงทุนจึงเป็นบวก มิฉะนั้น ประเทศเดินต่อมิได้
-
- Verified User
- โพสต์: 428
- ผู้ติดตาม: 0
Re: ทำไม BOT ไม่ลดดอกเบี้ยนโยบาย
โพสต์ที่ 210
ผมหมายถึงค่าดอกเบี้ยในปัจจุบันนี้
ที่ bot ยินดีจ่ายสูงๆให้ คนที่เอาเงินตรา ตปท เข้า มา
สิ่งที่ bot ทำคือ ให้คนเอา เงิน us$ เงินยูโร หรือ เยน เข้ามาแลก เป็นเงินบาท ใน อัตราดอกเบี้ยสูง
เมื่อเงิน ตปท มากขึ้น เงิน บาทก็แข็งขึ้น bot ก็ เอาเงินตรา ตปท ออก โดยไปซื้อ สินทรัพย์ ในอัตราดอกเบี้ยต่ำๆ
แล้วยังมาอ้างบุญคุณ ว่า ทำเพื่อไม่ให้เงินบาทแข็งเกินไป
จ่ายดอกเบี้ยสูง เอาไปฝากดอกเบี้ยต่ำๆ ปีนึงเสียหายหลายหมื่นล้าน
bot ทำแบบนี้ทุกวัน ไม่รู้ฉลาดหรือโง่
ประเทศไทยนอกจากเสียหาย เพราะนักการเมืองขี้โกงแล้ว
เรายังเสียหาย เพราะ คณะกรรมการต่างๆ ที่ออกนโยบาย ไม่รู้จักคิดมาอีกเยอะแยะ
ที่ bot ยินดีจ่ายสูงๆให้ คนที่เอาเงินตรา ตปท เข้า มา
สิ่งที่ bot ทำคือ ให้คนเอา เงิน us$ เงินยูโร หรือ เยน เข้ามาแลก เป็นเงินบาท ใน อัตราดอกเบี้ยสูง
เมื่อเงิน ตปท มากขึ้น เงิน บาทก็แข็งขึ้น bot ก็ เอาเงินตรา ตปท ออก โดยไปซื้อ สินทรัพย์ ในอัตราดอกเบี้ยต่ำๆ
แล้วยังมาอ้างบุญคุณ ว่า ทำเพื่อไม่ให้เงินบาทแข็งเกินไป
จ่ายดอกเบี้ยสูง เอาไปฝากดอกเบี้ยต่ำๆ ปีนึงเสียหายหลายหมื่นล้าน
bot ทำแบบนี้ทุกวัน ไม่รู้ฉลาดหรือโง่
ประเทศไทยนอกจากเสียหาย เพราะนักการเมืองขี้โกงแล้ว
เรายังเสียหาย เพราะ คณะกรรมการต่างๆ ที่ออกนโยบาย ไม่รู้จักคิดมาอีกเยอะแยะ