คนบอกว่าให้เลี่ยงโรงกลั่น เพราะโดนคุมค่ากลั่น แต่ TOP Q1/49
- คัดท้าย
- Verified User
- โพสต์: 2917
- ผู้ติดตาม: 0
คนบอกว่าให้เลี่ยงโรงกลั่น เพราะโดนคุมค่ากลั่น แต่ TOP Q1/49
โพสต์ที่ 1
ยังแจ่มมมม .....
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่1(F45-3)11/05/2549 08:33
TOP : สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่1(F45-3)
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่1(F45-3)
บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม
ไตรมาสที่ 1
ปี 2549 2548
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 4,086,285 3,690,938
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 2.00 1.81
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นายวิโรจน์ มาวิจักขณ์ )
ตำแหน่ง กรรมการอำนวยการ
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่1(F45-3)11/05/2549 08:33
TOP : สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่1(F45-3)
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่1(F45-3)
บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม
ไตรมาสที่ 1
ปี 2549 2548
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 4,086,285 3,690,938
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 2.00 1.81
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นายวิโรจน์ มาวิจักขณ์ )
ตำแหน่ง กรรมการอำนวยการ
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
The crowd, the world, and sometimes even the grave, step aside for the man who knows where he's going, but pushes the aimless drifter aside. -- Ancient Roman Saying
- คัดท้าย
- Verified User
- โพสต์: 2917
- ผู้ติดตาม: 0
คนบอกว่าให้เลี่ยงโรงกลั่น เพราะโดนคุมค่ากลั่น แต่ TOP Q1/49
โพสต์ที่ 2
คำอธิบายงบการเงินไตรมาส 1 ปี 254911/05/2549 08:33
TOP : คำอธิบายงบการเงินไตรมาส 1 ปี 2549
ผลการดำเนินงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อยประจำไตรมาส 1 ปี 2549
1 ข้อมูลทางการเงินที่สำคัญ
ข้อมูลทางการเงินที่บ่งชี้ถึงผลการดำเนินงานและสถานะทางการเงินของบริษัทฯและบริษัทย่อยสำหรับไตรมาส 1
ปี 2549 สามารถสรุปได้ ดังนี้
ผลการดำเนินงาน ไตรมาส ไตรมาส +/- / %
(ล้านบาท) 1/2549 1/2548
รายได้จากการขาย 64,859 47,942 16,917 35%
EBITDA (1) 5,351 6,338 (987) (16%)
กำไรก่อนภาษีเงินได้ 4,797 4,673 124 3%
ภาษีเงินได้ (711) (982) 271 (28%)
กำไรสุทธิ 4,086 3,691 395 11%
กำไรของบริษัทฯ 2,141 2,948 (807) (27%)
กำไรของบริษัทย่อย 1,945 743 1,202 162%
กำไรต่อหุ้น (บาท) (2) 2.00 1.81 0.19 11%
หมายเหตุ (1) EBITDA = กำไรก่อนดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคาและรายจ่ายตัดบัญชี
(2) กำไรต่อหุ้นในตารางข้างบนคำนวณจากจำนวนหุ้นถัวเฉลี่ยในไตรมาส 1/2459 คำนวณที่
2,040.03 ล้านหุ้นและไตรมาส 1/2548 คำนวณที่ 2,040.03 ล้านหุ้น
สถานะทางการเงิน 31 มี.ค. 49 31 ธ.ค. 48 +/- 31 มี.ค. 48
(ล้านบาท)
สินทรัพย์รวม 124,946 124,169 777 1% 114,721
หนี้สินรวม 54,231 57,316 (3,085) (5%) 58,792
ส่วนของผู้ถือหุ้น-สุทธิ 70,715 66,852 3,863 6% 55,929
2 สรุปภาพรวมผลการดำเนินงาน
ในไตรมาส 1/2549 ผลประกอบการรวมดีขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาส 1/2548
โดยมีกำไรสุทธิของบริษัทฯและบริษัทย่อยรวม 4,086 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 395 ล้านบาท
ซึ่งเป็นผลมาจากผลประกอบการที่ดีขึ้นของกลุ่มบริษัทย่อยหลังจากบริษัทฯได้เข้าทำการบริหาร
และปรับโครงสร้างการผลิต และโครงสร้างทางธุรกิจในปี 2548 อย่างไรก็ดี
การปรับตัวสูงขึ้นของราคาน้ำมันดิบและราคาน้ำมันสำเร็จรูปอย่างต่อเนื่อง จากช่วงปลายปีที่แล้วถึงเดือนกุมภาพันธ์
2549 ซึ่งจากระดับราคาที่สูง ทำให้ความต้องการบริโภคน้ำมันในภูมิภาคลดลง
อีกทั้งอากาศที่อบอุ่นกว่าปกติในช่วงหน้าหนาว และปริมาณน้ำมันคงเหลือในสหรัฐฯที่อยู่ในระดับสูงในรอบหลายปี
ทำให้ระดับราคาน้ำมันเบนซินไร้สารตะกั่วและน้ำมันดีเซลปรับตัวลดลงในกลางไตรมาส
ก่อนจะปรับตัวสูงขึ้นในช่วงปลายไตรมาส ส่งผลให้ GRM เฉลี่ยของบริษัทฯ อยู่ที่เพียงระดับ 4.65
เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล เปรียบเทียบกับ 8.75 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรลในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน EBITDA
เฉพาะในส่วนของบริษัทฯ จึงลดลงจากไตรมาส 1/2548 จำนวน 2,237 ล้านบาท ทำให้บริษัทฯและบริษัทย่อยมี
EBITDA ในไตรมาส 1/2549 รวม 5,351 ล้านบาท ลดลง 987 ล้านบาทจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
จากการบริหารเงินสด บริษัทฯและบริษัทย่อยจึงมีการชำระหนี้คืนเงินกู้ประกอบด้วยเงินกู้หมุนเวียน (USD
Revolving Credit Facility Agreement) จำนวน 100 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา
ซึ่งบริษัทฯสามารถเรียกใช้ได้ใหม่เมื่อจำเป็น และการชำระคืนหนี้ตามกำหนด
และก่อนกำหนดตามสัญญาเงินกู้ยืมต่างประเทศ ของบริษัทย่อยอื่นๆ ทำให้มีค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยลดลง
ประกอบกับผลจากการแข็งค่าของเงินบาทจาก 41.17 บาทต่อ เหรียญสหรัฐ ณ สิ้นไตรมาส 4/2548 มาปิดที่
38.94 บาทต่อ เหรียญสหรัฐ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2549 ซึ่งทำให้บริษัทฯและบริษัทย่อย
มีกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนรวมในไตรมาสนี้จำนวน 1,673 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 1,422 ล้านบาทจากไตรมาส
1/2548
บริษัทฯและบริษัทย่อยจึงมีกำไรสุทธิรวมในไตรมาส 1/2549 จำนวน 4,086 ล้านบาท
คิดเป็นกำไรต่อหุ้นเท่ากับ 2.0 บาทต่อหุ้น
3. วิเคราะห์ผลการดำเนินงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อย สำหรับไตรมาส 1/2549
ผลการดำเนินงานและงบการเงินของบริษัทย่อยที่จะรายงานรวมกันกับงบการเงินของบริษัทฯ สำหรับไตรมาส 1 ปี
2549 ประกอบด้วย
1. TPX
2. TLB
3. บริษัท ไทยออยล์มารีน จำกัด(TM)
4. บริษัทไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด (TP)
5. IPT
4. รายละเอียดผลการดำเนินงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อย
ผลการดำเนินงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อย สำหรับไตรมาส 1/2549
TOP(1) TPX TLB TM TP(1) IPT รายการ รวม จาก
ระหว่างกัน ไตรมาส ไตรมาส
/MI 1/2549 1/2548
(ล้านบาท) +/(-) %
รายได้จากการขาย 66,870 9,432 3,598 122 810 1,632 (17,604) 64,859 16,917 26%
EBITDA 3,025 1,360 461 21 180 310 (5) 5,351 (987)(18%)
ดอกเบี้ยจ่ายฯ (318) (38) 0 (1) (15) (96) 4 (462) 24 (5%)
กำไร/(ขาดทุน) 1,328 88 (3) (1) 0 261 - 1,673 1,422 85%
อัตราแลกเปลี่ยน
กำไร/(ขาดทุน) 2,854 1,284 379 7 103 361 (191) 4,797 124 3%
ก่อนภาษีเงินได้
ภาษีเงินได้ (713) - - - - 2 - (711) 271 (38%)
กำไร/(ขาดทุน)สุทธิ 2,141 1,284 379 7 103 363 (191) 4,086 395 10%
หมายเหตุ (1) ไม่รวมส่วนแบ่งกำไร (ขาดทุน) จากบริษัทย่อย
4.1) ผลการดำเนินงานของบริษัทฯ (ธุรกิจโรงกลั่นน้ำมัน)
ราคาน้ำมันเฉลี่ย ม.ค. ก.พ. มี.ค. ไตรมาส
(เหรียญสหรัฐ ต่อบาร์เรล) 1/2549
น้ำมันดิบ
โอมาน 59.3 58.6 59.2 59.0
ทาปีส 69.2 66.7 66.8 67.6
ราคาน้ำมันสำเร็จรูป
น้ำมันเบนซินไร้สารตะกั่ว 66.8 65.0 69.6 67.2
น้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องบิน/น้ำมันก๊าด 77.0 75.0 75.7 75.9
น้ำมันดีเซล 69.4 66.1 72.2 69.2
น้ำมันเตา 47.3 50.0 51.5 49.6
แม้ว่าระดับราคาน้ำมันในตลาดโลกเริ่มปรับตัวสูงขึ้นตั้งแต่ปลายไตรมาส 4 ที่ผ่านมา
แต่จากระดับราคาที่สูง ทำให้ความต้องการบริโภคน้ำมันในภูมิภาคลดลง
อีกทั้งอากาศที่อบอุ่นกว่าปกติในช่วงหน้าหนาวปีนี้ และปริมาณน้ำมันคงเหลือในสหรัฐฯ
ที่อยู่ในระดับสูงในรอบหลายปีเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ระดับราคาน้ำมันเบนซินไร้สารตะกั่วและน้ำมันดีเซลปรับตัวลดล
งในกลางไตรมาส ก่อนจะปรับตัวสูงขึ้นในช่วงปลายไตรมาส เมื่อโรงกลั่นในภูมิภาคหลายโรงหยุดซ่อมบำรุง
ในขณะที่ราคาน้ำมันดิบมีการปรับตัวสูงขึ้นเนื่องจากความกังวลในด้านอุปทาน
จากข้อพิพาทกรณีโครงการนิวเคลียร์ของอิหร่านและการวางระเบิดท่อน้ำมันในไนจีเรีย
จากสาเหตุดังกล่าวทำให้ค่าการกลั่นของบริษัทฯในช่วงไตรมาส 1/259
ได้รับผลกระทบโดยเฉพาะในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ เมื่อราคาน้ำมันสำเร็จรูปปรับลดลง
ในขณะที่ราคาน้ำมันดิบทรงตัวในระดับสูง ทำให้ในไตรมาส 1/2549 ค่าการกลั่นของบริษัทฯ จึงอยู่ที่เพียงระดับ
4.65 เหรียญสหรัฐ ต่อบาร์เรล เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาส เดียวกันของปีก่อนซึ่งมีค่าการกลั่นที่ระดับ 8.75
เหรียญสหรัฐ ต่อบาร์เรล
(ล้านบาท) ไตรมาส ไตรมาส +/(-)
1/2549 1/2548
การใช้กำลังการกลั่น (%) 106% 95% 11%
GRM (เหรียญสหรัฐ ต่อบาร์เรล) 4.65 8.75 (4.10)
รายได้จากการขาย 66,870 44,949 21,921
EBITDA 3,025 5,262 (2,237)
ดอกเบี้ยจ่ายฯ (318) (303)
2000
(16)
กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 1,328 210 1,118
กำไรก่อนภาษีเงินได้ 2,854 3,932 (1,078)
ภาษีเงินได้ (713) (984) 271
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (1) 2,141 2,948 (807)
หมายเหตุ (1) ไม่รวมส่วนแบ่งกำไร (ขาดทุน) จากบริษัทย่อย
จากค่าการกลั่นที่ลดลงเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้ EBITDA ในไตรมาสลดลง 2,237 ล้านบาท มาอยู่ที่
3,025 ล้านบาท อย่างไรก็ดี การแข็งค่าของเงินบาท 2.23 บาทต่อเหรียญสหรัฐฯ มาอยู่ที่ 38.94
บาทต่อเหรียญสหรัฐฯ ส่งผลให้บริษัทฯ มีกำไรทางบัญชีจากอัตราแลกเปลี่ยนจำนวน 1,328 ล้านบาท
ทำให้สุทธิแล้วบริษัทฯมีกำไรสุทธิจำนวน 2,141 ล้านบาทลดลงจากไตรมาส 1/2548 เพียง 807 ล้านบาท
4.2) ผลการดำเนินงานของ TPX (ธุรกิจผลิตสารพาราไซลีน)
TPX ไตรมาส ไตรมาส + /(-)
1/2549 1/2548
(ล้านบาท)
รายได้จากการให้บริการ 9,432 2,595 6,837
EBITDA 1,360 644 716
ดอกเบี้ยจ่ายฯ (38) (59) 21
กำไร/(ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน 88 6 82
กำไร/(ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ 1,284 471 813
ภาษีเงินได้ 0 0 0
กำไร/(ขาดทุน) สุทธิ 1,284 471 813
รายได้จากการขายของ TPX ในไตรมาส 1/2549 จำนวน 9,432 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 6,837 ล้านบาท
จากการปรับโครงสร้างทางธุรกิจโดยการติดตั้งหน่วย MX ในกระบวนการผลิตเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2548 ทำให้
TPX สามารถใช้สาร Platformate เป็นวัตถุดิบตั้งต้นในกระบวนการผลิต ทำให้มีต้นทุนค่าวัตถุดิบที่ต่ำลง
รวมทั้งมีผลิตภัณฑ์พลอยได้มากขึ้น ทำให้ EBITDA เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน 716 ล้านบาท เป็น
1,360 ล้านบาท จากผลประกอบการที่ดี TPX จึงสามารถทำการชำระคืนหนี้เงินกู้ระยะยาว
และการชำระคืนหนี้ก่อนกำหนดตามสัญญาเงินกู้ยืมต่างประเทศจำนวน 20
ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาทำให้ดอกเบี้ยจ่ายลดลง ทั้งนี้ TPX
ยังได้ดำเนินการเจรจาปรับโครงสร้างหนี้เพื่อปลดหลักประกันและลดดอกเบี้ย คาดว่าจะสำเร็จในไตรมาส
2/2549 และ ผลจากการแข็งค่าของเงินบาทในไตรมาสนี้ทำให้มีกำไรทางบัญชีจากอัตราแลกเปลี่ยนจำนวน 88
ล้านบาท ดังนั้น TPX จึงมีกำไรสุทธิในไตรมาส 1/2549 จำนวน 1,284 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 813
ล้านบาทจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
4.3) ผลการดำเนินงานของ TLB (ธุรกิจผลิตน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน)
TLB ไตรมาส ไตรมาส + /(-)
1/2549 1/2548
(ล้านบาท)
รายได้จากการขาย 3,598 2,386 1,212
EBITDA 461 305 156
ดอกเบี้ยจ่ายฯ 0 (3) 3
กำไร/(ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน (3) 0 (3)
กำไร/(ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ 379 275 104
ภาษีเงินได้ 0 0 0
กำไร/(ขาดทุน) สุทธิ 379 275 104
ในไตรมาส 1/2549 TLB มีรายได้จากการขาย 3,598 ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
1,212 ล้านบาท ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากการดำเนินการตามโครงการ
เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารไฮโดรคาร์บอน (Hydrocarbon Management Review)
ร่วมกับโรงกลั่นไทยออยล์ ตัวอย่างเช่น โครงการนำกากน้ำมันจากหน่วยไฮโดรแครกเกอร์ (Hydrocracker
Bottom) ของไทยออยล์ มาผลิตเป็นน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานคุณภาพสูง ซึ่งทำให้ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นตั้งแต่ปลายปี 2548
รวมทั้งการปรับตัวสูงขึ้นของราคาน้ำมันทำให้ บริษัทฯมีรายได้เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม TLB
ได้ดำเนินการซ่อมบำรุงใหญ่โรงกลั่น (Major Turnaround) ครั้งแรก ระหว่าง 2 มีนาคม - 5 เมษายน
2549 โดยการซ่อมบำรุงใหญ่โรงกลั่นจะดำเนินการทุก 4 ปี ซึ่งระหว่างช่วงเวลาดังกล่าว TLB
ได้ขายผลิตภัณฑ์จากส่วนที่ทำการผลิตไว้ล่วงหน้า ทำให้มีผลกระทบต่อการขายเพียงเล็กน้อย ในไตรมาส 1/2549
TLB มี EBITDA จำนวน 461 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 156 ล้านบาท กำไรสุทธิมีจำนวนทั้งสิ้น 379 ล้านบาทเพิ่มขึ้น
104 ล้านบาทจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
4.4) ผลการดำเนินงานของ TM (ธุรกิจขนส่งน้ำมันปิโตรเลียม และ ปิโตรเคมี)
TM ไตรมาส ไตรมาส + /(-)
1/2549 1/2548
(ล้านบาท)
รายได้จากการขาย 122 196 (74)
EBITDA 21 11 10
ดอกเบี้ยจ่ายฯ (1) (3) 2
กำไร/(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยน (1) 3 (3)
กำไร/(ขาดทุน) สุทธิ 7 35 (27)
TM มีรายได้จากการให้บริการจำนวน 122 ล้านบาทในไตรมาส 1/2549
ลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน 74 ล้านบาท เนื่องจากการให้บริการเช่าช่วงลดลงประมาณร้อยละ 74
จากสภาวะการแข่งขันของตลาดการให้บริการที่เพิ่มขึ้น ทำให้เกิดความไม่คุ้มในการคงปริมาณธุรกิจไว้
อย่างไรก็ดีจากการบริหารต้นทุนของกองเรือให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ทำให้ TM มี EBITDA เพิ่มขึ้น 10 ล้านบาท
และจากการคืนหนี้เงินกู้ระยะยาวทั้งจำนวนก่อนกำหนดในไตรมาส 3 /2548 ทำให้ดอกเบี้ยจ่ายลดลง 2 ล้านบาท
ดังนั้น TM มีกำไรสุทธิจำนวน 7 ล้านบาทในไตรมาส 1/2549 และ จำนวน 35 ล้านบาทในไตรมาส 1/2548
ซึ่งรวมกำไรจากการเรือมหานทีจำนวน 38 ล้านบาท
4.5) ผลการดำเนินงานของ TP และ IPT (ธุรกิจผลิตไฟฟ้า)
TP ไตรมาส ไตรมาส + /(-)
1/2549 1/2548
(ล้านบาท)
รายได้จากการขาย 810 669 141
EBITDA 180 168 12
ดอกเบี้ยจ่ายฯ (15) (20) 5
กำไร/(ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน 0 0 0
กำไร/(ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ 103 88 15
ภาษีเงินได้ 0 0 0
กำไร/(ขาดทุน) สุทธิ (1) 103 88 15
หมายเหตุ: (1) ไม่รวมส่วนแบ่งกำไร / (ขาดทุน) จาก IPT
ในไตรมาส 1/2549 TP ดำเนินการหยุดซ่อมเพื่อตรวจสอบและซ่อมบำรุงส่วนที่ได้รับความร้อนสูง (Hot Gas
Path Inspection) สำหรับเครื่อง GT 5015 ระยะเวลา 10 วัน
ในขณะที่ไตรมาสเดียวกันของปีก่อนได้ดำเนินการหยุดซ่อมบำรุงใหญ่ประจำปีสำหรับ GT 5016 ระยะเวลา 25 วัน
ดังนั้นอัตราความพร้อมในการผลิตของไตรมาส 1/2549 เพิ่มขึ้นร้อยละ 3
จากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเป็นร้อยละ 89 ประกอบกับราคาก๊าซธรรมชาติที่สูงขึ้น ทำให้ TP
มีรายได้จากขายจำนวน 810 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 141 ล้านบาท และ EBITDA เพิ่มขึ้น 12 ล้านบาท
ดอกเบี้ยจ่ายจำนวน 15 ล้านบาทลดลง 5 ล้านบาทจากการคืนหนี้เงินกู้ระยะยาวทั้งก่อนกำหนดและตามกำหนด
ดังนั้น TP มีกำไรสุทธิในไตรมาส 1/2549 ทั้งสิ้นจำนวน 103 ล้านบาทเพิ่มขึ้น15
ล้านบาทจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
IPT ไตรมาส ไตรมาส + /(-)
1/2549 1/2548
(ล้านบาท)
รายได้จากการให้บริการ 1,632 1,227 405
EBITDA 310 (46) 356
ดอกเบี้ยจ่ายฯ (96) (114) 18
กำไร/(ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน 261 32 229
กำไร/(ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ 361 (255) 616
ภาษีเงินได้ 2 2 0
กำไร/(ขาดทุน) สุทธิ 363 (253) 616
ในไตรมาส 1/2549 IPT สามารถดำเนินการผลิตได้ร้อยละ 57 เนื่องจาก เมื่อวันที่ 19 มกราคม
2549 ได้เกิดเหตุไฟฟ้าลัดวงจรภายในหม้อแปลงไฟฟ้าแรงสูง (High Voltage Transformer)
ที่ทำหน้าที่แปลงแรงดันกระแสไฟฟ้าของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากังหันก๊าซ CT-1 ส่งผลให้ IPT
ต้องลดกำลังการผลิตลงเหลือเพียง 320 MW และคาดว่าจะใช้ระยะเวลาซ่อมแซมหม้อแปลงไฟฟ้า
แล้วเสร็จประมาณ 5 เดือน ถึงแม้ว่ากำลังการผลิตจะลดลง IPT ยังคงมี EBITDA จำนวน 310 ล้านบาทเพิ่มขึ้น
356 ล้านบาท เนื่องจากไตรมาส 1/2548 ได้รวมผลขาดทุนจากการตัดบัญชีของเครื่อง CT-2
หลังได้รับค่าสินไหมทดแทนแล้วจำนวน 232 ล้านบาท ดอกเบี้ยจ่ายจำนวน 96 ล้านบาทลดลง 18
ล้านบาทจากการคืนหนี้เงินกู้ระยะยาวตามกำหนดเวลา และ ผลจากการแข็งค่าของเงินบาทในไตรมาสนี้
ทำให้มีกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนจำนวน 261 ล้านบาท ดังนั้น IPT จึงมีกำไรสุทธิในไตรมาส 1/2549
จำนวนทั้งสิ้น 363 ล้านบาท
5. วิเคราะห์ฐานะทางการเงินของบริษัทฯ และบริษัทย่อย
สรุปฐานะทางการเงินของบริษัทฯ และบริษัทย่อยสำหรับ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2549 เทียบกับ ณ วันที่ 31
ธันวาคม 2548 ได้ดังนี้
TOP TPX TLB TM TP IPT รายการ รวม +/- จาก
(ล้านบาท) ระหว่างกัน 31มี.ค49 31ธ.ค.48
สินทรัพย์รวม 114,540 13,499 8,070 625 7,084 11,288 (30,158) 124,946 777
หนี้สินรวม 47,463 4,616 293 58 1,454 6,403 (6,055) 54,231 (3,085)
ส่วนของผู้ถือหุ้น-สุทธิ
67,077 8,882 7,778 567 5,630 4,885 (24,103) 70,715 3,863
สินทรัพย์รวม
ณ วันที่ 31 มีนาคม 2549 บริษัทฯ และบริษัทย่อย
1483
มีสินทรัพย์รวมทั้งสิ้น 124,946 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ณ
วันที่ 31 ธันวาคม 2548 จำนวน 777 ล้านบาท
เนื่องจากการเพิ่มในสินทรัพย์หมุนเวียนโดยหลักเป็นสินค้าคงคลังซึ่งปรับตัวเพิ่มขึ้นจากราคาน้ำมันที่สูงขึ้น
รวมทั้งการจ่ายเงินสำหรับโครงการขยายกำลังการผลิต
หนี้สินรวม
ณ วันที่ 31 มีนาคม 2549 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีหนี้สินรวมทั้งสิ้น 54,231 ล้านบาท ลดลงจาก ณ วันที่
31 ธันวาคม 2548 จำนวน 3,085 ล้านบาท
เนื่องจากมีการชำระหนี้คืนเงินกู้ตามกำหนดและก่อนกำหนดของบริษัทฯและกลุ่มบริษัทย่อย
หนี้เงินกู้ระยะยาวของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2549 จำนวน 28,805 ล้านบาท
ประกอบด้วย
(ล้านบาท) TOP TPX TP IPT รวม
สกุลเงินดอลลาร์ สหรัฐ-หุ้นกู้ 13,615 0 0 0 13,615
สกุลเงินดอลลาร์ สหรัฐ 4,478 1,195 0 3,829 9,503
สกุลเงินบาท 2,600 306 1,001 1,780 5,687
รวม 20,693 1,501 1,001 5,609 28,805
ส่วนของผู้ถือหุ้น-สุทธิ
ณ วันที่ 31 มีนาคม 2549 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีส่วนของผู้ถือหุ้น-สุทธิรวมทั้งสิ้น 70,715 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นจำนวน 3,863 ล้านบาท จากผลการดำเนินงานที่มีกำไร
6. วิเคราะห์กระแสเงินสดและอัตราส่วนทางการเงิน
สภาพคล่อง
จากงบการเงินรวมสำหรับไตรมาส 1/2549 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดสุทธิเพิ่มขึ้นจากไตรมาส
4/2548 เป็น 12,374 ล้านบาท รายละเอียดกระแสเงินสดแต่ละกิจกรรม มีดังนี้
(ล้านบาท) TOP TPX TLB TM TP IPT รายการ 31 มี.ค49
ระหว่างกัน
/MI
เงินสดสุทธิ ณวันต้นงวด 7,411 1,087 1,016 35 394 1,308 0 11,252
เงินสดสุทธิ 7,211 1,372 107 30 120 648 (3) 9,485
ได้รับจากกิจกรรมดำเนินงาน
เงินสดสุทธิได้รับ/ (1,467) (246) (8) (1) 194 27 (200) (1,702)
(ใช้ไป)ในกิจกรรมลงทุน
เงินสดสุทธิใช้ไป (4,299) (1,371) 0 (9) (470) (714) 203 (6,661)
ในกิจกรรมจัดหาเงิน
เงินสดสุทธิ 8,856 841 1,115 55 238 1,269 0 12,374
ณ วันปลายงวด
บริษัทฯและบริษัทย่อย มีเงินสดสุทธิได้รับจากกิจกรรมดำเนินงานรวมจำนวน 9,485
ล้านบาทจากกำไรสุทธิจากการดำเนินงาน 4,806 ล้านบาท โดยมีเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน จำนวน
1,702 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นการจ่ายเงินสำหรับโครงการขยายกำลังการผลิต CDU-3
และโครงการขยายกำลังการผลิตของ TPX และมีเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงินอีกจำนวน 6,661
ล้านบาท ซึ่งถูกใช้ไปเพื่อการชำระหนี้คืนเงินกู้ 100 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาตามสัญญาวงเงินกู้หมุนเวียน (USD
Revolving Credit Facility Agreement) ของไทยออยล์ และ
การชำระคืนหนี้ตามสัญญาเงินกู้ยืมต่างประเทศก่อนกำหนดและเงินกู้ยืมตามกำหนดของ TPX
และการชำระคืนเงินกู้ตามกำหนดของบริษัทย่อยอื่น บริษัทฯและบริษัทย่อยจึงมีเงินสดคงเหลือปลายงวดจำนวน
12,374 ล้านบาท
อัตราส่วนทางการเงิน
จากผลประกอบการและการบริหารการคลังที่ได้ดำเนินการไปในระหว่างไตรมาส1/2549 บริษัทฯ
และบริษัทย่อยมีฐานะทางการเงินที่แข็งแกร่งขึ้น โดยมีอัตราส่วนทางการเงิน ดังนี้
ไตรมาส ไตรมาส
1/2549 1/2548 +/-
อัตราส่วนแสดงความสามารถในการหากำไร
อัตราส่วนความสามารถการทำกำไร (%) 8% 13% (5%)
อัตราส่วนกำไรขั้นต้น (%) 6% 11% (5%)
อัตราส่วนกำไรสุทธิ (%) 6% 8% (2%)
อัตราส่วนสภาพคล่อง
อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) 2.1 1.9 0.2
อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) 1.2 0.9 0.3
อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน
อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 0.8 1.1 (0.3)
อัตราส่วนหนี้เงินกู้ระยะยาวต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 0.4 0.6 (0.2)
อัตราส่วนความสามารถในการชำระดอกเบี้ย (เท่า) 11.6 13.1 (1.5)
อัตราส่วนหนี้เงินกู้ระยะยาวต่อเงินทุนระยะยาว (%) 29% 38% (9%)
อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 0.2 0.5 (0.3)
การคำนวณอัตราส่วนทางการเงิน
อัตราส่วนความสามารถการทำกำไร (%) = EBITDA / รายได้จากการขาย
อัตราส่วนกำไรขั้นต้น (%) = กำไรขั้นต้น / รายได้จากการขาย
อัตราส่วนกำไรสุทธิ (%) = กำไรสุทธิ / รายได้รวม
อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) = สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน
อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) = (เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด + เงิน
ลงทุนระยะสั้น+ลูกหนี้การค้า)/หนี้สินหมุนเวียน
อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) = หนี้สินรวม / ส่วนของผู้ถือหุ้น
อัตราส่วนหนี้เงินกู้ระยะยาวต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) = หนี้เงินกู้ระยะยาว / ส่วนของผู้ถือหุ้น
อัตราส่วนความสามารถในการชำระดอกเบี้ย (เท่า) = EBITDA / ดอกเบี้ยจ่าย
อัตราส่วนหนี้เงินกู้ระยะยาวต่อเงินทุนระยะยาว (%) = หนี้เงินกู้ระยะยาว / เงินทุนระยะยาว
เงินทุนระยะยาว = หนี้เงินกู้ระยะยาว + ส่วนของผู้ถือหุ้น
อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) = หนี้สินสุทธิ/ ส่วนของผู้ถือหุ้น
TOP : คำอธิบายงบการเงินไตรมาส 1 ปี 2549
ผลการดำเนินงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อยประจำไตรมาส 1 ปี 2549
1 ข้อมูลทางการเงินที่สำคัญ
ข้อมูลทางการเงินที่บ่งชี้ถึงผลการดำเนินงานและสถานะทางการเงินของบริษัทฯและบริษัทย่อยสำหรับไตรมาส 1
ปี 2549 สามารถสรุปได้ ดังนี้
ผลการดำเนินงาน ไตรมาส ไตรมาส +/- / %
(ล้านบาท) 1/2549 1/2548
รายได้จากการขาย 64,859 47,942 16,917 35%
EBITDA (1) 5,351 6,338 (987) (16%)
กำไรก่อนภาษีเงินได้ 4,797 4,673 124 3%
ภาษีเงินได้ (711) (982) 271 (28%)
กำไรสุทธิ 4,086 3,691 395 11%
กำไรของบริษัทฯ 2,141 2,948 (807) (27%)
กำไรของบริษัทย่อย 1,945 743 1,202 162%
กำไรต่อหุ้น (บาท) (2) 2.00 1.81 0.19 11%
หมายเหตุ (1) EBITDA = กำไรก่อนดอกเบี้ย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่อมราคาและรายจ่ายตัดบัญชี
(2) กำไรต่อหุ้นในตารางข้างบนคำนวณจากจำนวนหุ้นถัวเฉลี่ยในไตรมาส 1/2459 คำนวณที่
2,040.03 ล้านหุ้นและไตรมาส 1/2548 คำนวณที่ 2,040.03 ล้านหุ้น
สถานะทางการเงิน 31 มี.ค. 49 31 ธ.ค. 48 +/- 31 มี.ค. 48
(ล้านบาท)
สินทรัพย์รวม 124,946 124,169 777 1% 114,721
หนี้สินรวม 54,231 57,316 (3,085) (5%) 58,792
ส่วนของผู้ถือหุ้น-สุทธิ 70,715 66,852 3,863 6% 55,929
2 สรุปภาพรวมผลการดำเนินงาน
ในไตรมาส 1/2549 ผลประกอบการรวมดีขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาส 1/2548
โดยมีกำไรสุทธิของบริษัทฯและบริษัทย่อยรวม 4,086 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 395 ล้านบาท
ซึ่งเป็นผลมาจากผลประกอบการที่ดีขึ้นของกลุ่มบริษัทย่อยหลังจากบริษัทฯได้เข้าทำการบริหาร
และปรับโครงสร้างการผลิต และโครงสร้างทางธุรกิจในปี 2548 อย่างไรก็ดี
การปรับตัวสูงขึ้นของราคาน้ำมันดิบและราคาน้ำมันสำเร็จรูปอย่างต่อเนื่อง จากช่วงปลายปีที่แล้วถึงเดือนกุมภาพันธ์
2549 ซึ่งจากระดับราคาที่สูง ทำให้ความต้องการบริโภคน้ำมันในภูมิภาคลดลง
อีกทั้งอากาศที่อบอุ่นกว่าปกติในช่วงหน้าหนาว และปริมาณน้ำมันคงเหลือในสหรัฐฯที่อยู่ในระดับสูงในรอบหลายปี
ทำให้ระดับราคาน้ำมันเบนซินไร้สารตะกั่วและน้ำมันดีเซลปรับตัวลดลงในกลางไตรมาส
ก่อนจะปรับตัวสูงขึ้นในช่วงปลายไตรมาส ส่งผลให้ GRM เฉลี่ยของบริษัทฯ อยู่ที่เพียงระดับ 4.65
เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล เปรียบเทียบกับ 8.75 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรลในไตรมาสเดียวกันของปีก่อน EBITDA
เฉพาะในส่วนของบริษัทฯ จึงลดลงจากไตรมาส 1/2548 จำนวน 2,237 ล้านบาท ทำให้บริษัทฯและบริษัทย่อยมี
EBITDA ในไตรมาส 1/2549 รวม 5,351 ล้านบาท ลดลง 987 ล้านบาทจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
จากการบริหารเงินสด บริษัทฯและบริษัทย่อยจึงมีการชำระหนี้คืนเงินกู้ประกอบด้วยเงินกู้หมุนเวียน (USD
Revolving Credit Facility Agreement) จำนวน 100 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา
ซึ่งบริษัทฯสามารถเรียกใช้ได้ใหม่เมื่อจำเป็น และการชำระคืนหนี้ตามกำหนด
และก่อนกำหนดตามสัญญาเงินกู้ยืมต่างประเทศ ของบริษัทย่อยอื่นๆ ทำให้มีค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยลดลง
ประกอบกับผลจากการแข็งค่าของเงินบาทจาก 41.17 บาทต่อ เหรียญสหรัฐ ณ สิ้นไตรมาส 4/2548 มาปิดที่
38.94 บาทต่อ เหรียญสหรัฐ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2549 ซึ่งทำให้บริษัทฯและบริษัทย่อย
มีกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนรวมในไตรมาสนี้จำนวน 1,673 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 1,422 ล้านบาทจากไตรมาส
1/2548
บริษัทฯและบริษัทย่อยจึงมีกำไรสุทธิรวมในไตรมาส 1/2549 จำนวน 4,086 ล้านบาท
คิดเป็นกำไรต่อหุ้นเท่ากับ 2.0 บาทต่อหุ้น
3. วิเคราะห์ผลการดำเนินงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อย สำหรับไตรมาส 1/2549
ผลการดำเนินงานและงบการเงินของบริษัทย่อยที่จะรายงานรวมกันกับงบการเงินของบริษัทฯ สำหรับไตรมาส 1 ปี
2549 ประกอบด้วย
1. TPX
2. TLB
3. บริษัท ไทยออยล์มารีน จำกัด(TM)
4. บริษัทไทยออยล์เพาเวอร์ จำกัด (TP)
5. IPT
4. รายละเอียดผลการดำเนินงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อย
ผลการดำเนินงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อย สำหรับไตรมาส 1/2549
TOP(1) TPX TLB TM TP(1) IPT รายการ รวม จาก
ระหว่างกัน ไตรมาส ไตรมาส
/MI 1/2549 1/2548
(ล้านบาท) +/(-) %
รายได้จากการขาย 66,870 9,432 3,598 122 810 1,632 (17,604) 64,859 16,917 26%
EBITDA 3,025 1,360 461 21 180 310 (5) 5,351 (987)(18%)
ดอกเบี้ยจ่ายฯ (318) (38) 0 (1) (15) (96) 4 (462) 24 (5%)
กำไร/(ขาดทุน) 1,328 88 (3) (1) 0 261 - 1,673 1,422 85%
อัตราแลกเปลี่ยน
กำไร/(ขาดทุน) 2,854 1,284 379 7 103 361 (191) 4,797 124 3%
ก่อนภาษีเงินได้
ภาษีเงินได้ (713) - - - - 2 - (711) 271 (38%)
กำไร/(ขาดทุน)สุทธิ 2,141 1,284 379 7 103 363 (191) 4,086 395 10%
หมายเหตุ (1) ไม่รวมส่วนแบ่งกำไร (ขาดทุน) จากบริษัทย่อย
4.1) ผลการดำเนินงานของบริษัทฯ (ธุรกิจโรงกลั่นน้ำมัน)
ราคาน้ำมันเฉลี่ย ม.ค. ก.พ. มี.ค. ไตรมาส
(เหรียญสหรัฐ ต่อบาร์เรล) 1/2549
น้ำมันดิบ
โอมาน 59.3 58.6 59.2 59.0
ทาปีส 69.2 66.7 66.8 67.6
ราคาน้ำมันสำเร็จรูป
น้ำมันเบนซินไร้สารตะกั่ว 66.8 65.0 69.6 67.2
น้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องบิน/น้ำมันก๊าด 77.0 75.0 75.7 75.9
น้ำมันดีเซล 69.4 66.1 72.2 69.2
น้ำมันเตา 47.3 50.0 51.5 49.6
แม้ว่าระดับราคาน้ำมันในตลาดโลกเริ่มปรับตัวสูงขึ้นตั้งแต่ปลายไตรมาส 4 ที่ผ่านมา
แต่จากระดับราคาที่สูง ทำให้ความต้องการบริโภคน้ำมันในภูมิภาคลดลง
อีกทั้งอากาศที่อบอุ่นกว่าปกติในช่วงหน้าหนาวปีนี้ และปริมาณน้ำมันคงเหลือในสหรัฐฯ
ที่อยู่ในระดับสูงในรอบหลายปีเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ระดับราคาน้ำมันเบนซินไร้สารตะกั่วและน้ำมันดีเซลปรับตัวลดล
งในกลางไตรมาส ก่อนจะปรับตัวสูงขึ้นในช่วงปลายไตรมาส เมื่อโรงกลั่นในภูมิภาคหลายโรงหยุดซ่อมบำรุง
ในขณะที่ราคาน้ำมันดิบมีการปรับตัวสูงขึ้นเนื่องจากความกังวลในด้านอุปทาน
จากข้อพิพาทกรณีโครงการนิวเคลียร์ของอิหร่านและการวางระเบิดท่อน้ำมันในไนจีเรีย
จากสาเหตุดังกล่าวทำให้ค่าการกลั่นของบริษัทฯในช่วงไตรมาส 1/259
ได้รับผลกระทบโดยเฉพาะในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ เมื่อราคาน้ำมันสำเร็จรูปปรับลดลง
ในขณะที่ราคาน้ำมันดิบทรงตัวในระดับสูง ทำให้ในไตรมาส 1/2549 ค่าการกลั่นของบริษัทฯ จึงอยู่ที่เพียงระดับ
4.65 เหรียญสหรัฐ ต่อบาร์เรล เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาส เดียวกันของปีก่อนซึ่งมีค่าการกลั่นที่ระดับ 8.75
เหรียญสหรัฐ ต่อบาร์เรล
(ล้านบาท) ไตรมาส ไตรมาส +/(-)
1/2549 1/2548
การใช้กำลังการกลั่น (%) 106% 95% 11%
GRM (เหรียญสหรัฐ ต่อบาร์เรล) 4.65 8.75 (4.10)
รายได้จากการขาย 66,870 44,949 21,921
EBITDA 3,025 5,262 (2,237)
ดอกเบี้ยจ่ายฯ (318) (303)
2000
(16)
กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 1,328 210 1,118
กำไรก่อนภาษีเงินได้ 2,854 3,932 (1,078)
ภาษีเงินได้ (713) (984) 271
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (1) 2,141 2,948 (807)
หมายเหตุ (1) ไม่รวมส่วนแบ่งกำไร (ขาดทุน) จากบริษัทย่อย
จากค่าการกลั่นที่ลดลงเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้ EBITDA ในไตรมาสลดลง 2,237 ล้านบาท มาอยู่ที่
3,025 ล้านบาท อย่างไรก็ดี การแข็งค่าของเงินบาท 2.23 บาทต่อเหรียญสหรัฐฯ มาอยู่ที่ 38.94
บาทต่อเหรียญสหรัฐฯ ส่งผลให้บริษัทฯ มีกำไรทางบัญชีจากอัตราแลกเปลี่ยนจำนวน 1,328 ล้านบาท
ทำให้สุทธิแล้วบริษัทฯมีกำไรสุทธิจำนวน 2,141 ล้านบาทลดลงจากไตรมาส 1/2548 เพียง 807 ล้านบาท
4.2) ผลการดำเนินงานของ TPX (ธุรกิจผลิตสารพาราไซลีน)
TPX ไตรมาส ไตรมาส + /(-)
1/2549 1/2548
(ล้านบาท)
รายได้จากการให้บริการ 9,432 2,595 6,837
EBITDA 1,360 644 716
ดอกเบี้ยจ่ายฯ (38) (59) 21
กำไร/(ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน 88 6 82
กำไร/(ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ 1,284 471 813
ภาษีเงินได้ 0 0 0
กำไร/(ขาดทุน) สุทธิ 1,284 471 813
รายได้จากการขายของ TPX ในไตรมาส 1/2549 จำนวน 9,432 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 6,837 ล้านบาท
จากการปรับโครงสร้างทางธุรกิจโดยการติดตั้งหน่วย MX ในกระบวนการผลิตเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2548 ทำให้
TPX สามารถใช้สาร Platformate เป็นวัตถุดิบตั้งต้นในกระบวนการผลิต ทำให้มีต้นทุนค่าวัตถุดิบที่ต่ำลง
รวมทั้งมีผลิตภัณฑ์พลอยได้มากขึ้น ทำให้ EBITDA เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน 716 ล้านบาท เป็น
1,360 ล้านบาท จากผลประกอบการที่ดี TPX จึงสามารถทำการชำระคืนหนี้เงินกู้ระยะยาว
และการชำระคืนหนี้ก่อนกำหนดตามสัญญาเงินกู้ยืมต่างประเทศจำนวน 20
ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาทำให้ดอกเบี้ยจ่ายลดลง ทั้งนี้ TPX
ยังได้ดำเนินการเจรจาปรับโครงสร้างหนี้เพื่อปลดหลักประกันและลดดอกเบี้ย คาดว่าจะสำเร็จในไตรมาส
2/2549 และ ผลจากการแข็งค่าของเงินบาทในไตรมาสนี้ทำให้มีกำไรทางบัญชีจากอัตราแลกเปลี่ยนจำนวน 88
ล้านบาท ดังนั้น TPX จึงมีกำไรสุทธิในไตรมาส 1/2549 จำนวน 1,284 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 813
ล้านบาทจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
4.3) ผลการดำเนินงานของ TLB (ธุรกิจผลิตน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน)
TLB ไตรมาส ไตรมาส + /(-)
1/2549 1/2548
(ล้านบาท)
รายได้จากการขาย 3,598 2,386 1,212
EBITDA 461 305 156
ดอกเบี้ยจ่ายฯ 0 (3) 3
กำไร/(ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน (3) 0 (3)
กำไร/(ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ 379 275 104
ภาษีเงินได้ 0 0 0
กำไร/(ขาดทุน) สุทธิ 379 275 104
ในไตรมาส 1/2549 TLB มีรายได้จากการขาย 3,598 ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
1,212 ล้านบาท ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากการดำเนินการตามโครงการ
เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารไฮโดรคาร์บอน (Hydrocarbon Management Review)
ร่วมกับโรงกลั่นไทยออยล์ ตัวอย่างเช่น โครงการนำกากน้ำมันจากหน่วยไฮโดรแครกเกอร์ (Hydrocracker
Bottom) ของไทยออยล์ มาผลิตเป็นน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานคุณภาพสูง ซึ่งทำให้ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นตั้งแต่ปลายปี 2548
รวมทั้งการปรับตัวสูงขึ้นของราคาน้ำมันทำให้ บริษัทฯมีรายได้เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม TLB
ได้ดำเนินการซ่อมบำรุงใหญ่โรงกลั่น (Major Turnaround) ครั้งแรก ระหว่าง 2 มีนาคม - 5 เมษายน
2549 โดยการซ่อมบำรุงใหญ่โรงกลั่นจะดำเนินการทุก 4 ปี ซึ่งระหว่างช่วงเวลาดังกล่าว TLB
ได้ขายผลิตภัณฑ์จากส่วนที่ทำการผลิตไว้ล่วงหน้า ทำให้มีผลกระทบต่อการขายเพียงเล็กน้อย ในไตรมาส 1/2549
TLB มี EBITDA จำนวน 461 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 156 ล้านบาท กำไรสุทธิมีจำนวนทั้งสิ้น 379 ล้านบาทเพิ่มขึ้น
104 ล้านบาทจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
4.4) ผลการดำเนินงานของ TM (ธุรกิจขนส่งน้ำมันปิโตรเลียม และ ปิโตรเคมี)
TM ไตรมาส ไตรมาส + /(-)
1/2549 1/2548
(ล้านบาท)
รายได้จากการขาย 122 196 (74)
EBITDA 21 11 10
ดอกเบี้ยจ่ายฯ (1) (3) 2
กำไร/(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยน (1) 3 (3)
กำไร/(ขาดทุน) สุทธิ 7 35 (27)
TM มีรายได้จากการให้บริการจำนวน 122 ล้านบาทในไตรมาส 1/2549
ลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน 74 ล้านบาท เนื่องจากการให้บริการเช่าช่วงลดลงประมาณร้อยละ 74
จากสภาวะการแข่งขันของตลาดการให้บริการที่เพิ่มขึ้น ทำให้เกิดความไม่คุ้มในการคงปริมาณธุรกิจไว้
อย่างไรก็ดีจากการบริหารต้นทุนของกองเรือให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ทำให้ TM มี EBITDA เพิ่มขึ้น 10 ล้านบาท
และจากการคืนหนี้เงินกู้ระยะยาวทั้งจำนวนก่อนกำหนดในไตรมาส 3 /2548 ทำให้ดอกเบี้ยจ่ายลดลง 2 ล้านบาท
ดังนั้น TM มีกำไรสุทธิจำนวน 7 ล้านบาทในไตรมาส 1/2549 และ จำนวน 35 ล้านบาทในไตรมาส 1/2548
ซึ่งรวมกำไรจากการเรือมหานทีจำนวน 38 ล้านบาท
4.5) ผลการดำเนินงานของ TP และ IPT (ธุรกิจผลิตไฟฟ้า)
TP ไตรมาส ไตรมาส + /(-)
1/2549 1/2548
(ล้านบาท)
รายได้จากการขาย 810 669 141
EBITDA 180 168 12
ดอกเบี้ยจ่ายฯ (15) (20) 5
กำไร/(ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน 0 0 0
กำไร/(ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ 103 88 15
ภาษีเงินได้ 0 0 0
กำไร/(ขาดทุน) สุทธิ (1) 103 88 15
หมายเหตุ: (1) ไม่รวมส่วนแบ่งกำไร / (ขาดทุน) จาก IPT
ในไตรมาส 1/2549 TP ดำเนินการหยุดซ่อมเพื่อตรวจสอบและซ่อมบำรุงส่วนที่ได้รับความร้อนสูง (Hot Gas
Path Inspection) สำหรับเครื่อง GT 5015 ระยะเวลา 10 วัน
ในขณะที่ไตรมาสเดียวกันของปีก่อนได้ดำเนินการหยุดซ่อมบำรุงใหญ่ประจำปีสำหรับ GT 5016 ระยะเวลา 25 วัน
ดังนั้นอัตราความพร้อมในการผลิตของไตรมาส 1/2549 เพิ่มขึ้นร้อยละ 3
จากไตรมาสเดียวกันของปีก่อนเป็นร้อยละ 89 ประกอบกับราคาก๊าซธรรมชาติที่สูงขึ้น ทำให้ TP
มีรายได้จากขายจำนวน 810 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 141 ล้านบาท และ EBITDA เพิ่มขึ้น 12 ล้านบาท
ดอกเบี้ยจ่ายจำนวน 15 ล้านบาทลดลง 5 ล้านบาทจากการคืนหนี้เงินกู้ระยะยาวทั้งก่อนกำหนดและตามกำหนด
ดังนั้น TP มีกำไรสุทธิในไตรมาส 1/2549 ทั้งสิ้นจำนวน 103 ล้านบาทเพิ่มขึ้น15
ล้านบาทจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
IPT ไตรมาส ไตรมาส + /(-)
1/2549 1/2548
(ล้านบาท)
รายได้จากการให้บริการ 1,632 1,227 405
EBITDA 310 (46) 356
ดอกเบี้ยจ่ายฯ (96) (114) 18
กำไร/(ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน 261 32 229
กำไร/(ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ 361 (255) 616
ภาษีเงินได้ 2 2 0
กำไร/(ขาดทุน) สุทธิ 363 (253) 616
ในไตรมาส 1/2549 IPT สามารถดำเนินการผลิตได้ร้อยละ 57 เนื่องจาก เมื่อวันที่ 19 มกราคม
2549 ได้เกิดเหตุไฟฟ้าลัดวงจรภายในหม้อแปลงไฟฟ้าแรงสูง (High Voltage Transformer)
ที่ทำหน้าที่แปลงแรงดันกระแสไฟฟ้าของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากังหันก๊าซ CT-1 ส่งผลให้ IPT
ต้องลดกำลังการผลิตลงเหลือเพียง 320 MW และคาดว่าจะใช้ระยะเวลาซ่อมแซมหม้อแปลงไฟฟ้า
แล้วเสร็จประมาณ 5 เดือน ถึงแม้ว่ากำลังการผลิตจะลดลง IPT ยังคงมี EBITDA จำนวน 310 ล้านบาทเพิ่มขึ้น
356 ล้านบาท เนื่องจากไตรมาส 1/2548 ได้รวมผลขาดทุนจากการตัดบัญชีของเครื่อง CT-2
หลังได้รับค่าสินไหมทดแทนแล้วจำนวน 232 ล้านบาท ดอกเบี้ยจ่ายจำนวน 96 ล้านบาทลดลง 18
ล้านบาทจากการคืนหนี้เงินกู้ระยะยาวตามกำหนดเวลา และ ผลจากการแข็งค่าของเงินบาทในไตรมาสนี้
ทำให้มีกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนจำนวน 261 ล้านบาท ดังนั้น IPT จึงมีกำไรสุทธิในไตรมาส 1/2549
จำนวนทั้งสิ้น 363 ล้านบาท
5. วิเคราะห์ฐานะทางการเงินของบริษัทฯ และบริษัทย่อย
สรุปฐานะทางการเงินของบริษัทฯ และบริษัทย่อยสำหรับ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2549 เทียบกับ ณ วันที่ 31
ธันวาคม 2548 ได้ดังนี้
TOP TPX TLB TM TP IPT รายการ รวม +/- จาก
(ล้านบาท) ระหว่างกัน 31มี.ค49 31ธ.ค.48
สินทรัพย์รวม 114,540 13,499 8,070 625 7,084 11,288 (30,158) 124,946 777
หนี้สินรวม 47,463 4,616 293 58 1,454 6,403 (6,055) 54,231 (3,085)
ส่วนของผู้ถือหุ้น-สุทธิ
67,077 8,882 7,778 567 5,630 4,885 (24,103) 70,715 3,863
สินทรัพย์รวม
ณ วันที่ 31 มีนาคม 2549 บริษัทฯ และบริษัทย่อย
1483
มีสินทรัพย์รวมทั้งสิ้น 124,946 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ณ
วันที่ 31 ธันวาคม 2548 จำนวน 777 ล้านบาท
เนื่องจากการเพิ่มในสินทรัพย์หมุนเวียนโดยหลักเป็นสินค้าคงคลังซึ่งปรับตัวเพิ่มขึ้นจากราคาน้ำมันที่สูงขึ้น
รวมทั้งการจ่ายเงินสำหรับโครงการขยายกำลังการผลิต
หนี้สินรวม
ณ วันที่ 31 มีนาคม 2549 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีหนี้สินรวมทั้งสิ้น 54,231 ล้านบาท ลดลงจาก ณ วันที่
31 ธันวาคม 2548 จำนวน 3,085 ล้านบาท
เนื่องจากมีการชำระหนี้คืนเงินกู้ตามกำหนดและก่อนกำหนดของบริษัทฯและกลุ่มบริษัทย่อย
หนี้เงินกู้ระยะยาวของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2549 จำนวน 28,805 ล้านบาท
ประกอบด้วย
(ล้านบาท) TOP TPX TP IPT รวม
สกุลเงินดอลลาร์ สหรัฐ-หุ้นกู้ 13,615 0 0 0 13,615
สกุลเงินดอลลาร์ สหรัฐ 4,478 1,195 0 3,829 9,503
สกุลเงินบาท 2,600 306 1,001 1,780 5,687
รวม 20,693 1,501 1,001 5,609 28,805
ส่วนของผู้ถือหุ้น-สุทธิ
ณ วันที่ 31 มีนาคม 2549 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีส่วนของผู้ถือหุ้น-สุทธิรวมทั้งสิ้น 70,715 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นจำนวน 3,863 ล้านบาท จากผลการดำเนินงานที่มีกำไร
6. วิเคราะห์กระแสเงินสดและอัตราส่วนทางการเงิน
สภาพคล่อง
จากงบการเงินรวมสำหรับไตรมาส 1/2549 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีกระแสเงินสดสุทธิเพิ่มขึ้นจากไตรมาส
4/2548 เป็น 12,374 ล้านบาท รายละเอียดกระแสเงินสดแต่ละกิจกรรม มีดังนี้
(ล้านบาท) TOP TPX TLB TM TP IPT รายการ 31 มี.ค49
ระหว่างกัน
/MI
เงินสดสุทธิ ณวันต้นงวด 7,411 1,087 1,016 35 394 1,308 0 11,252
เงินสดสุทธิ 7,211 1,372 107 30 120 648 (3) 9,485
ได้รับจากกิจกรรมดำเนินงาน
เงินสดสุทธิได้รับ/ (1,467) (246) (8) (1) 194 27 (200) (1,702)
(ใช้ไป)ในกิจกรรมลงทุน
เงินสดสุทธิใช้ไป (4,299) (1,371) 0 (9) (470) (714) 203 (6,661)
ในกิจกรรมจัดหาเงิน
เงินสดสุทธิ 8,856 841 1,115 55 238 1,269 0 12,374
ณ วันปลายงวด
บริษัทฯและบริษัทย่อย มีเงินสดสุทธิได้รับจากกิจกรรมดำเนินงานรวมจำนวน 9,485
ล้านบาทจากกำไรสุทธิจากการดำเนินงาน 4,806 ล้านบาท โดยมีเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน จำนวน
1,702 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นการจ่ายเงินสำหรับโครงการขยายกำลังการผลิต CDU-3
และโครงการขยายกำลังการผลิตของ TPX และมีเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงินอีกจำนวน 6,661
ล้านบาท ซึ่งถูกใช้ไปเพื่อการชำระหนี้คืนเงินกู้ 100 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาตามสัญญาวงเงินกู้หมุนเวียน (USD
Revolving Credit Facility Agreement) ของไทยออยล์ และ
การชำระคืนหนี้ตามสัญญาเงินกู้ยืมต่างประเทศก่อนกำหนดและเงินกู้ยืมตามกำหนดของ TPX
และการชำระคืนเงินกู้ตามกำหนดของบริษัทย่อยอื่น บริษัทฯและบริษัทย่อยจึงมีเงินสดคงเหลือปลายงวดจำนวน
12,374 ล้านบาท
อัตราส่วนทางการเงิน
จากผลประกอบการและการบริหารการคลังที่ได้ดำเนินการไปในระหว่างไตรมาส1/2549 บริษัทฯ
และบริษัทย่อยมีฐานะทางการเงินที่แข็งแกร่งขึ้น โดยมีอัตราส่วนทางการเงิน ดังนี้
ไตรมาส ไตรมาส
1/2549 1/2548 +/-
อัตราส่วนแสดงความสามารถในการหากำไร
อัตราส่วนความสามารถการทำกำไร (%) 8% 13% (5%)
อัตราส่วนกำไรขั้นต้น (%) 6% 11% (5%)
อัตราส่วนกำไรสุทธิ (%) 6% 8% (2%)
อัตราส่วนสภาพคล่อง
อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) 2.1 1.9 0.2
อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) 1.2 0.9 0.3
อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน
อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 0.8 1.1 (0.3)
อัตราส่วนหนี้เงินกู้ระยะยาวต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 0.4 0.6 (0.2)
อัตราส่วนความสามารถในการชำระดอกเบี้ย (เท่า) 11.6 13.1 (1.5)
อัตราส่วนหนี้เงินกู้ระยะยาวต่อเงินทุนระยะยาว (%) 29% 38% (9%)
อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 0.2 0.5 (0.3)
การคำนวณอัตราส่วนทางการเงิน
อัตราส่วนความสามารถการทำกำไร (%) = EBITDA / รายได้จากการขาย
อัตราส่วนกำไรขั้นต้น (%) = กำไรขั้นต้น / รายได้จากการขาย
อัตราส่วนกำไรสุทธิ (%) = กำไรสุทธิ / รายได้รวม
อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) = สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน
อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) = (เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด + เงิน
ลงทุนระยะสั้น+ลูกหนี้การค้า)/หนี้สินหมุนเวียน
อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) = หนี้สินรวม / ส่วนของผู้ถือหุ้น
อัตราส่วนหนี้เงินกู้ระยะยาวต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) = หนี้เงินกู้ระยะยาว / ส่วนของผู้ถือหุ้น
อัตราส่วนความสามารถในการชำระดอกเบี้ย (เท่า) = EBITDA / ดอกเบี้ยจ่าย
อัตราส่วนหนี้เงินกู้ระยะยาวต่อเงินทุนระยะยาว (%) = หนี้เงินกู้ระยะยาว / เงินทุนระยะยาว
เงินทุนระยะยาว = หนี้เงินกู้ระยะยาว + ส่วนของผู้ถือหุ้น
อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) = หนี้สินสุทธิ/ ส่วนของผู้ถือหุ้น
The crowd, the world, and sometimes even the grave, step aside for the man who knows where he's going, but pushes the aimless drifter aside. -- Ancient Roman Saying
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 12
- ผู้ติดตาม: 0
คนบอกว่าให้เลี่ยงโรงกลั่น เพราะโดนคุมค่ากลั่น แต่ TOP Q1/49
โพสต์ที่ 4
จริงๆแล้ว EBITDA ในไตรมาสลดลง 2,237 ล้านบาท ไม่ใช่หรือครับ แต่ได้กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน ตั้ง 1,328 ล้านมาช่วยทำให้ตัวเลขรวมดีขึ้นล้านบาท) ไตรมาส ไตรมาส +/(-)
1/2549 1/2548
การใช้กำลังการกลั่น (%) 106% 95% 11%
GRM (เหรียญสหรัฐ ต่อบาร์เรล) 4.65 8.75 (4.10)
รายได้จากการขาย 66,870 44,949 21,921
EBITDA 3,025 5,262 (2,237)
ดอกเบี้ยจ่ายฯ (318) (303)
2000
(16)
กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 1,328 210 1,118
กำไรก่อนภาษีเงินได้ 2,854 3,932 (1,078)
ภาษีเงินได้ (713) (984) 271
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (1) 2,141 2,948 (807)
หมายเหตุ (1) ไม่รวมส่วนแบ่งกำไร (ขาดทุน) จากบริษัทย่อย
จากค่าการกลั่นที่ลดลงเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้ EBITDA ในไตรมาสลดลง 2,237 ล้านบาท มาอยู่ที่
3,025 ล้านบาท อย่างไรก็ดี การแข็งค่าของเงินบาท 2.23 บาทต่อเหรียญสหรัฐฯ มาอยู่ที่ 38.94
บาทต่อเหรียญสหรัฐฯ ส่งผลให้บริษัทฯ มีกำไรทางบัญชีจากอัตราแลกเปลี่ยนจำนวน 1,328 ล้านบาท
ทำให้สุทธิแล้วบริษัทฯมีกำไรสุทธิจำนวน 2,141 ล้านบาทลดลงจากไตรมาส 1/2548 เพียง 807 ล้านบาท
ยังไงก็ดีกว่าไตรมาสที่แล้วที่เฉพาะส่วนของโรงกลั่นได้กำไรสุทธิแค่ 164 ล้านเท่านั้น
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 12
- ผู้ติดตาม: 0
คนบอกว่าให้เลี่ยงโรงกลั่น เพราะโดนคุมค่ากลั่น แต่ TOP Q1/49
โพสต์ที่ 5
จริงๆแล้ว EBITDA ในไตรมาสลดลง 2,237 ล้านบาท ไม่ใช่หรือครับ แต่ได้กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน ตั้ง 1,328 ล้านมาช่วยทำให้ตัวเลขรวมดีขึ้นล้านบาท) ไตรมาส ไตรมาส +/(-)
1/2549 1/2548
การใช้กำลังการกลั่น (%) 106% 95% 11%
GRM (เหรียญสหรัฐ ต่อบาร์เรล) 4.65 8.75 (4.10)
รายได้จากการขาย 66,870 44,949 21,921
EBITDA 3,025 5,262 (2,237)
ดอกเบี้ยจ่ายฯ (318) (303)
2000
(16)
กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 1,328 210 1,118
กำไรก่อนภาษีเงินได้ 2,854 3,932 (1,078)
ภาษีเงินได้ (713) (984) 271
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (1) 2,141 2,948 (807)
หมายเหตุ (1) ไม่รวมส่วนแบ่งกำไร (ขาดทุน) จากบริษัทย่อย
จากค่าการกลั่นที่ลดลงเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้ EBITDA ในไตรมาสลดลง 2,237 ล้านบาท มาอยู่ที่
3,025 ล้านบาท อย่างไรก็ดี การแข็งค่าของเงินบาท 2.23 บาทต่อเหรียญสหรัฐฯ มาอยู่ที่ 38.94
บาทต่อเหรียญสหรัฐฯ ส่งผลให้บริษัทฯ มีกำไรทางบัญชีจากอัตราแลกเปลี่ยนจำนวน 1,328 ล้านบาท
ทำให้สุทธิแล้วบริษัทฯมีกำไรสุทธิจำนวน 2,141 ล้านบาทลดลงจากไตรมาส 1/2548 เพียง 807 ล้านบาท
ยังไงก็ดีกว่าไตรมาสที่แล้วที่เฉพาะส่วนของโรงกลั่นได้กำไรสุทธิแค่ 164 ล้านเท่านั้น