ไทคูน ราคาที่เหมาะสม สำหรับวันแรก คือ เท่าใด ครับ

การลงทุนแบบเน้นคุณค่า ลงทุนหุ้น VI เน้นที่ปัจจัยพื้นฐานเป็นหลัก

ล็อคหัวข้อ
Solo
Verified User
โพสต์: 627
ผู้ติดตาม: 0

ไทคูน ราคาที่เหมาะสม สำหรับวันแรก คือ เท่าใด ครับ

โพสต์ที่ 1

โพสต์

ตามกระทู้ครับ ขอบคุณมากครับ

ผมได้มา ห้าร้อยเอง ครับ พี่พี่ เพื่อนเพื่อน ได้กันมากไหมครับ
ภาพประจำตัวสมาชิก
คัดท้าย
Verified User
โพสต์: 2917
ผู้ติดตาม: 0

ไทคูน ราคาที่เหมาะสม สำหรับวันแรก คือ เท่าใด ครับ

โพสต์ที่ 2

โพสต์

ผมได้ตัวนี้จาก KIMENG ครับ ได้มาพอสมควรเพราะ KIMENG เป็น Financial Advisor ของตัวนี้

แต่ราคาวันแรก ผมก็ไม่ทราบเหมือนกันครับ กะว่าถ้ายังหาข้อมูลไม่ได้ก็คงขายทิ้งวันสองวันแรก เห็นพวกในกระทิงเขียวเค้าเอามาเทียบกับ SSI กัน บ้างก็ว่าน่าจะเปิด 32-40 อะไรประมาณนี้ครับ แต่ตัวผมเองมืดมนไม่รู้อะไรเลย


Tycoons Worldwide Group (Thailand) Public Company Limited

Symbol: TYCN
Secondary Market: The Stock Exchange of Thailand (SET)
Sector: Building & Furnishing Materials
IPO Period: 26-28 November 2003
IPO Price: Baht 15 / Share
First Day of Trading: 11 December 2003
Financial Advisor: Kim Eng Securities (Thailand) Public Company Limited.
Website: na.

บริษัท ไทยคูน เวิลด์ไวด์ กรุ๊ป (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) TYCN
ระยะเวลาเสนอขายหุ้น 26-28 พ.ย. 46
ราคาเสนอขาย 15 บาท/หุ้น
วันที่เริ่มซื้อขาย 11 ธ.ค. 46




รายละเอียด มีดังนี้ครับ
ข้อมูลจาก http://www.settrade.com/brokerpage/SET/ ... 06/66.html

-สรุปข้อสนเทศ-

บริษัท ไทยคูน เวิลด์ไวด์กรุ๊ป (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) (TYCN)

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่และโรงงาน
เลขที่ 99 หมู่ 1 ตำบลนิคมพัฒนา กิ่งอำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง 21180 โทรศัพท์ (038)-636-800, (038)-636975
โทรสาร (038)-636-977 Website http://www.tycons.com

เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียน เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2546 (เริ่มทำการซื้อขายเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2546)


ประเภทหลักทรัพย์จดทะเบียน หุ้นสามัญจำนวน 628.5 ล้านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท รวม 6,285 ล้านบาท

ตลาดรอง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ราคาเสนอขาย 15.50 บาทต่อหุ้น

ประเภทกิจการและลักษณะการดำเนินงาน
บริษัท ไทยคูน เวิลด์ไวด์ กรุ๊ป (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) ("บริษัท") ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 กันยายน 2539 โดยมีบริษัท

ไทยคูน กรุ๊ป อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บนเกาะเคย์แมน ("TGI") เป็นผู้ถือหุ้นหลัก (99.99%) โดย TGI ก่อตั้งขึ้นโดยมีบริษัท ไทยคูน
กรุ๊ป เอนเตอร์ไพรส์ จำกัด ("TGE") ประเทศไต้หวัน เป็นผู้ถือหุ้นทั้งหมด (100%) บริษัทดำเนินธุรกิจหลักในการผลิตและจำหน่าย
เหล็กลวด (Wire Rod), เหล็กลวดอบอ่อน (Annealed Wire) และสกรู (Screw) เพื่อส่งขายทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ
ผลิตภัณฑ์ของบริษัทมีทั้งหมด 3 ผลิตภัณฑ์ ดังนี้
1. เหล็กลวด (Wire Rod)
คือ ผลิตภัณฑ์เหล็กรูปทรงยาวที่ผลิตมาจากการรีดร้อนเหล็กแท่ง ลักษณะหน้าตัดมีทั้งแบบกลม (Round) สี่เหลี่ยม
(Hexagonal) ขึ้นอยู่กับลักษณะของการใช้งาน โดยทั่วไป เหล็กลวดจะนำไปผลิตต่อด้วยการดึงเย็น (Cold Drawn) เพื่อผลิตเป็นลวด
เหล็กที่มีผิวเรียบขึ้น สำหรับนำไปใช้ในงานต่างๆ ในอุตสาหกรรมต่อเนื่องต่อไป เช่นผลิตตะปู ตะแกรง น็อต สกรู ลวดเชื่อม
ลวดเสริม ยางรถยนต์ เป็นต้น เหล็กลวดสามารถแบ่งตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ปลายทางได้เป็น 6 กลุ่มดังต่อไปนี้
1.1 เหล็กลวดสำหรับผลิตลวดเหล็กใช้งานทั่วไป (General Use)
1.2 เหล็กลวดสำหรับผลิตลวดเชื่อม (Welding Wire)
1.3 เหล็กลวดสำหรับผลิตสลักภัณฑ์ (Fastener)
1.4 เหล็กลวดสำหรับนำไปใช้ผลิตลวดเหล็กคาร์บอนสูงสำหรับงานก่อสร้าง
1.5 เหล็กลวดสำหรับนำไปผลิตสปริง
1.6 เหล็กลวดสำหรับนำไปผลิตลวดเหล็กเสริมยางรถยนต์

นอกจากนี้ เหล็กลวดสามารถแบ่งได้เป็น 4 ประเภท ตามส่วนประกอบค่าคาร์บอน (Carbon content) ดังนี้
1) เหล็กลวดคาร์บอนต่ำ (Low carbon steel wire rods)
2) เหล็กลวดคาร์บอนสูง (High carbon steel wire rods)
3) เหล็กลวดขึ้นรูปแบบเย็น (Cold heading quality)
4) เหล็กลวดโลหะผสมต่ำ (Low alloy)

2. เหล็กลวดอบอ่อน (Annealed wire)
เส้นลวดอบอ่อนผลิตจากเหล็กลวดคาร์บอนต่ำ หากต้องการใช้งานเป็นพิเศษจะใช้เหล็กลวดสำหรับการขึ้นรูปแบบเย็น
และเหล็กลวดโลหะผสมต่ำ เส้นลวดอบอ่อนผ่านขั้นตอนการผลิตต่างๆ คือ งานรีดหยาบ งานล้างด้วยกรดและเคลือบผิว งานรีด
ละเอียด ก็จะได้เป็นผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปสำหรับเป็นวัตถุดิบทำการผลิตสกรู น๊อต และตะปูเป็นต้น คุณสมบัติพิเศษอีกอย่าง คือ
เส้นลวดอบอ่อนประเภทโลหะผสม ยังสามารถใช้งานสำหรับผลิตภัณฑ์ที่ต้องการทนแรงดึงสูงได้ด้วย

3. สกรู (Screw) สกรูสามารถแบ่งได้เป็น 4 ประเภท ตามลักษณะการใช้งาน ดังต่อไปนี้
1) Tapping screw: ใช้สำหรับจับยึดชิ้นงานโลหะสองชิ้นให้ยึดแน่นด้วยกัน เช่น ชิ้นส่วน ของเครื่องจักร อุปกรณ์ไฟฟ้า

และชิ้นส่วนของรถยนต์ เป็นต้น
2) Chipboard screw: ใช้งานแพร่หลายสำหรับการจับยึดชิ้นงานที่ทำด้วยไม้
3) Particle board screw: ใช้งานแพร่หลายสำหรับการจับยึดชิ้นงานที่ทำด้วยไม้
4) Drywall screw: ใช้งานทั่วไปในการจับยึดระหว่างแผ่นพลาสติกหรือแผ่นโลหะกับไม้
บริษัทจะเน้นการจำหน่ายเหล็กลวดให้แก่ตลาดในประเทศเป็นหลัก ในขณะที่สกรูจะถูกส่งออกไปจำหน่ายในตลาดต่างประเทศ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งตลาดสหรัฐอเมริกา ในปี2545 และ สิ้นสุดครึ่งปีแรกของปี2546 บริษัทมียอดขายเหล็กลวดรวม
2,984 และ 1,734 ล้านบาท ตามลำดับ โดยเป็นยอดขายจากตลาดในประเทศและต่างประเทศเท่ากับ 56% และ 44%
ในปี2545 และสิ้นสุดครึ่งแรกของปี 2456 เท่ากับ 46% และ 54% ตามลำดับ
ในส่วนของสกรูนั้น บริษัทจะส่งออกไปต่างประเทศเป็นหลัก เนื่องจากการขายภายในประเทศจะก่อให้เกิดการแย่งส่วน
แบ่งตลาดจากผู้ผลิตสกรูในประเทศซึ่งส่วนใหญ่เป็นลูกค้าเหล็กลวดของบริษัท โดยปี 2545 ประมาณ 98% ของยอดขาย
สกรูทั้งหมดมาจากต่างประเทศ
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ไม่มี

สรุปสาระสำคัญของสัญญา
สัญญาการขายสินค้าแก่บริษัทไทยคูน กรุ๊ป เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด
คู่สัญญา บริษัท ไทยคูน กรุ๊ป เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด ("บริษัทแม่")
วันที่ทำสัญญา 11 กุมภาพันธ์ 2546
วันที่เริ่มสัญญาและวันที่สิ้นสุดสัญญา 11 กุมภาพันธ์ 2546 31 ธันวาคม 2546
อายุสัญญา 1 ปี โดยสามารถต่ออายุสัญญาได้
สาระสำคัญของสัญญา บริษัทแม่จะรับซื้อเหล็กลวด และเหล็กลวดอบอ่อนจากบริษัท
เงื่อนไขการทำสัญญา (1) เหล็กลวด: [(ราคาตลาดในประเทศไต้หวัน ค่าขนส่ง)/อัตราแลกเปลี่ยน
ระหว่างเงินสกุลไต้หวันและเงินสกุลบาท] ค่าธรรมเนี
ยมในฐานะที่เป็น
ตัวแทน ซึ่งเท่ากับ 0.01 ดอลลาร์สหรัฐต่อ 1 กิโลกรัม

(2) เหล็กลวดอบอ่อน: [(ราคาตลาดในประเทศไต้หวัน ค่าขนส่ง
)/อัตราแลก
เปลี่ยนระหว่างเงินสกุลไต้หวันและเงินสกุลบาท] ค่า
ธรรมเนียมในฐานะ
ที่เป็นตัวแทน ซึ่งเท่ากับ 0.01 ดอลลาร์สหรัฐต่อ 1 ก
ิโลกรัม

การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ (Feasibility Study) ไม่มี

การให้ความช่วยเหลือทางด้านเทคนิคและการจัดการ (Technical and Management Assistance) ไม่มี

โครงการดำเนินงานในอนาคต
บริษัทมีนโยบายที่จะเพิ่มความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ โดยขยายเข้าสู่ผลิตภัณฑ์สลักภัณฑ์ ที่หลากหลายมากขึ้น
โดยเริ่มจาก ผลิตภัณฑ์ สลัก (น็อตตัวผู้ หรือ Bolt) คาดว่าจะเริ่มก่อสร้างโรงงานใหม่ในปี 2547 ในบริเวณเดิม ที่ระยอง
เงินลงทุนเริ่มแรกประมาณ 250-350 ล้านบาท และคาดว่าการก่อสร้างจะแล้วเสร็จ และผลิตภัณฑ์ออกขายได้ประมาณ
ปี 2548 กำลังการผลิตต่อปีประมาณการที่ 30,000 ตัน ตลาดส่งออกที่สำคัญยังคงเน้นที่ ตลาดสหรัฐอเมริกา

รายการระหว่างกัน (Related Transactions) ในปี 2545/2546
ในช่วงปี 2545 ถึง ครึ่งปีแรกของปี 2546 บริษัทมีรายการระหว่างกันกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งดังนี้
บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง / ความสัมพันธ์ มูลค่าของรายการระหว่างกัน นโยบายราคา ความจำเป็นและความสมเหตุสมผล /
ลักษณะของรายการระหว่างกัน (ล้านบาท)
หมายเหตุ
2545 ครึ่งปีแรก/2546
1. บริษัท ไทยคูน บริษัท รายได้จาก 1,818.40 1,056.41 - เหล็กลวดและเหล็กลวด บริษัทมีการขายสินค้าผ่านทาง T
GE
กรุ๊ป เอนเตอร์ แม่ การขาย อบอ่อน :อ้างอิงตาม เป็นจำ
นวน 42% และ 39%ของยอด
ไพรส์ (TGE) - เหล็กลวด 1,185.01 825.16 ราคาตลาด (ตามกำหนด ขายทั้งหมดในช่วงปี 2545
และครึ่ง
- เหล็กลวดอบ 253.05 231.25 ในสัญญาซื้อขาย) ปีแรกของป
ี 2546 ตามลำดับ
อ่อน นโยบายราคา เหล็กลวด
คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทาน
- สกรู 380.34 - และเหล็กลวดอบอ่อน แล
ะพิจารณาโดยมีเหตุผลสนับสนุน
- ก่อน 30 กันยายน 25
45 ดังนี้
ลูกหนี้การค้า 942.30 704.98 - เหล็กลวด (ราคาตลาดใน (1) การขายเ
หล็กลวด และเหล็กลวด
ไต้หวัน ลบ ต้นทุนค่า
ขนส่ง) / อบอ่อน เนื่องจากขนาดของตลาด
อัตราแลกเปลี่ยน * 9
8% ไต้หวันค่อนข้างใหญ่เมื่อเปรียบเทียบ
- เหล็กลวดอบอ่อน (ราค
า กับตลาดในประเทศไทย บริษัท
ตลาดในไต้หวัน ลบ ต้
นทุน จึงเน้นการส่งขายไปยัง TGE ใน
ค่าขนส่ง) / อัตราแล
กเปลี่ยน ประเทศไต้หวัน โดยส่วนหนึ่ง
* 98%
TGE จะนำไปใช้ในสายการ
- 1 ตุลาคม 2545 ถึง 11
ผลิตของตนเอง และอีกส่วน
กุมภาพันธ์ 2546
จะถูกจัดจำหน่ายต่อให้แก่ลูกค้า
เหล็กลวด (ราคาตลาดใน
ในไต้หวัน เนื่องจาก TGE มีชื่อ
ไต้หวัน ลบ ต้นทุนค่าข
นส่ง) / เสียงและมีความสัมพันธ์อันดี
อัตราแลกเปลี่ยน * 95
% กับกลุ่มลูกค้าในประเทศไต้หวัน
เหล็กลวดอบอ่อน (ราคา
ตลาด มาเป็นเวลานาน บริษัทจึงไม่
ในไต้หวัน ลบ ต้นทุนค
่า จำเป็นต้องลงทุนด้านการตลาด
ขนส่ง) / อัตราแลกเปล
ี่ยน ในไต้หวันเอง โดยบริษัทจะ
* 95%
จ่ายค่าธรรมเนียมการตลาด
- 12 กุมภาพันธ์ 2546 ถึง
31 (ค่าตัวแทนจำหน่าย) ให้แก่
ธันวาคม 2546
TGE เป็นการตอบแทน นอกจาก
- เหล็กลวด [(ราคาตลาดใน
นี้ ค่าเป็นตัวแทนจำหน่ายที่ตั้ง
ไต้หวันต่อกิโลกรัม ลบ
ไว้ปัจจุบันคือ 0.01 ดอลล่าร์สหรัฐ
ต้นทุนค่าขนส่ง) / อัตร
า เทียบเท่ากับประมาณ 3-5% ก็
แลกเปลี่ยน] ลบ 0.01 ดอ
ลลาร์ ใกล้เคียงกับค่าตัวแทนจำหน่าย
สหรัฐต่อ1 กิโลกรัม
ที่จ่ายให้แก่บุคคลภายนอกรายอื่นๆ
- เหล็กลวดอบอ่อน [(ราคาตล
าด เช่นการขายในบางประเทศ เช่น
ในไต้หวันต่อกิโลกรัม ล
บ อิหร่าน ซึงอยูที่ประมาณร้อยละ 4
ต้นทุนค่าขนส่ง) / อัตร
าแลก (2)ในอดีตการขายสกรู บริษัทจะส่ง
เปลี่ยน] ลบ 0.01 ดอลลา
ร์ ออกไปยังตลาดสหรัฐอเมริกา
สหรัฐต่อ 1 กิโลกรัม
ผ่านทาง TGE เนื่องจาก TGE
- สกรู : ก่อนเดือนก.ค. 2
545 จะมีชื่อเสียงและความน่าเชื่อถือ
บริษัทขายผ่านทาง TGE ที
่ มากกว่าเมื่อเทียบกับบริษัท
ราคาตลาดสหรัฐอเมริกา หั
ก อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่เดือน
ค่าดำเนินการ 5% โดยตั้ง
แต่ กรกฎาคม 2545 เป็นต้นมา
เดือน ก.ค. 2545 เป็นต้นม
า บริษัทได้ส่งออกสกรูไปขายยัง
บริษัทขายโดยตรงไปยังตลาด
ตลาดสหรัฐอเมริกาเองโดยตรง
สหรัฐอเมริกา
เป็นผลให้ในปี 2546 บริษัท

ไม่มีรายการระหว่างกันจาก
เครดิตเทอมในอดีต เท่ากับ
การขายสกรู
180 วัน และเปลี่ยนเป็น 12
0
วันตั้งแต่กุมภาพันธ์ 2546
ราคาตลาดในประเทศไต้หวัน

จะอิงกับคู่แข่งรายใหญ่ในตลาด

เป็นหลัก โดยพิจารณาทั้งราคาขาย

ในท้องถิ่นและราคาที่นำเข้าจาก

ประเทศต่างๆ โดยสัญญาซื้อขาย

ในแต่ละปีจะต้องได้รับการอนุมัติ

จากคณะกรรมการบริษัทซึ่งมี

กรรมการตรวจสอบร่วมอยู่ด้วย

อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันบริษัทไม่มี

รายการระหว่างกันที่เกิดจากการ

ขายสกรู


ในอดีตเครดิตเทอมสำหรับบริษัทที่

เกี่ยวข้อง คือ 180 วัน ซึ่งมากกว่า

เครดิตเทอมที่บริษัทให้กับลูกค้า

ทั่วไปซึ่งจะสูงสุดอยู่ที่ 120 วัน

เนื่องจากรวมระยะเวลาการขนส่ง

และการขายต่อไปยังลูกค้าผู้ใช้ด้วย

อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์

2546 เครดิตเทอมดังกล่าวได้มีการ

ปรับลดเหลือ 120 วันตามสัญญา

ซื้อขายฉบับล่าสุด

2. บริษัท บริษัท การซื้อวัตถุดิบและ 119.20 66.87 กำหนดโดยต้นทุนบวกค่า ในปี 2545 และครึ่งปีแรกข
องปี
ไทยคูน กรุ๊ป แม่ วัสดุสิ้นเปลือง ดำเนินการ 5% โดยต้นทุน 2546 บริษั
ทมีรายการซื้อจากบริษัท
เอนเตอร์ - ชิ้นส่วน (Spare 65.50 39.09 จะอ้างอิงราคาตลาดในไต้หวัน แม่จำนวน 3.30% แล
ะ 3.05%
ไพรส์ (TGE) part)
ของต้นทุนขายทั้งหมด ตามลำดับ
- เคมีภัณฑ์ 53.30 22.99 เครดิตเทอมเท่ากับ 30-90 วัน ในส่วน
นี้กรรมการตรวจสอบได้
- อื่นๆ 0.40 4.79
สอบทานและพิจารณาแล้วเห็นว่า

การสั่งซื้อวัตถุดิบปลีกย่อยและ
เจ้าหนี้การค้า 37.30 -
ชิ้นส่วนเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต

จาก TGE โดยถือว่าการซื้อดังกล่าว

เป็นลักษณะทางการค้าทั่วไปเนื่องจาก

ไต้หวันถือว่าเป็นประเทศผู้นำด้านการ

ผลิตเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิตสกรู

และเหล็กลวดอบอ่อน บริษัทจึงมีการ

สั่งซื้อชิ้นส่วนเครื่องจักรจากไต้หวัน

ผ่านทาง TGE ด้วย การนำเข้าวัตถุดิบ

และชิ้นส่วนเครื่องจักรจากไต้หวันจึง

มีความสมเหตุสมผล โดยบริษัทจะ

ให้ผลตอบแทนในรูปค่าดำเนินการ

(ค่าการตลาด) แก่ TGE จำนวน 5%

ซึ่งกรรมการตรวจสอบมีความเห็น

ว่าเหมาะสม

3. บริษัท บริษัท - เงินกู้ระยะสั้น/ 145.10 336.85 ปลอดดอกเบี้ย เนื่องจากบันทึก เงินกู้ระยะสั้น, เงิ
นกู้ระยะยาว และ
ไทยคูน กรุ๊ป แม่ เจ้าหนี้อื่น เป็นรายการเจ้าหนี้อื่น โดย หน
ี้สินอื่นที่มีต่อ TGI บริษัทมีหนี้สิน
อินเตอร์เนชั่น - เงินกู้ระยะยาว/ 1,358.42 1,358.42 ระยะเวลาการจ่ายคืนเงินกู้ จากการซื้อเครื่อง
จักร อุปกรณ์ และ
แนล (TGI) เงินกู้อื่น ให้ TGI จะถูกกำหนดใน วัตถ
ุดิบกับ TGI โดยเงินกู้นี้มาจาก
สัญญาเงินกู้
ธนาคารไต้หวัน 2 แห่ง โดยบริษัท

มีภาระจ่ายคืนเงินกู้แก่ TGI ตาม

ตารางการจ่ายคืนเงินกู้เป็นเวลา 3 - 6 ปี

หลังจากบริษัทได้รับเงินจากการเสนอ



เงินกู้ที่มีต่อ TGI จากนั้น TGI ก็จะ

จ่ายคืนเงินกู้ที่มีต่อธนาคารไต้หวันทั้ง

2 แห่ง กรรมการตรวจสอบพิจารณา

และสอบทานแล้วมีความเห็นว่า การ

ไม่มีภาระดอกเบี้ยจ่าย เนื่องจากเป็น

การช่วยเหลือทางการเงินของบริษัท TGI

ที่เป็นบริษัทแม่ในช่วงที่บริษัทเพิ่งเปิด

ดำเนินการ สำหรับการเคลื่อนไหวของ

การชำระคืนเงินต้น ระหว่าง ธ.ค.2545 -

มิ.ย.2546 มีการเบิกวงเงินเพิ่มขึ้นจำนวน

213 ล้านบาท และชำระคืนจำนวน 21.6

ล้านบาท เป็นผลทำให้ยอดเงินต้นเพิ่มขึ้น

เท่ากับ 1,695 ล้านบาท

4. บริษัท บริษัท - เงินกู้ระยะสั้น - - ปลอดดอกเบี้ยตามสัญญาเงินกู้ เงินกู้ระยะสั้
นที่มีกับ TGI ซึ่งมีขึ้นในเดือน
ไทยคูน กรุ๊ป แม่
กุมภาพันธ์ 2546 เพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน
อินเตอร์เนชั่น
ระยะสั้นกับกิจการที่เกี่ยวข้องสำหรับการ
แนล (TGI)
ซื้อเครื่องจักร อุปกรณ์ วัตถุดิบ และเป็น

เงินทุนดำเนินงาน มีกำหนดเวลาชำระคืน

ตลอดระยะเวลาเงินกู้ และไม่คิดอัตรา

ดอกเบี้ย ปัจจุบันชำระคืนเรียบร้อยแล้วใน

เดือนเมษายน 2546 เป็นจำนวน 31.3

ล้านบาท

5. บริษัทไทย บริษัท - รายการจด
TGI ได้จดจำนองหลักประกันซึ่งเป็น
คูน กรุ๊ป อิน แม่ จำนองหลัก
ทรัพย์สินของบริษัทกับ First Commercial
เตอร์เนชั่น ประกันเงินกู้ของ
Bank ในไต้หวัน สำหรับเงินกู้ 40 ล้าน
แนล (TGI) บริษัทแม่กับ First
เหรียญสหรัฐ เป็นรายการต่อเนื่องของ
Commercial
เงินกู้ ตามรายการ (3) เนื่องจากในที่สุด
Bank
บริษัทเป็นผู้ใช้เงินกู้ดังกล่าวเพื่อซื้อ

เครื่องจักร และวัตถุดิบ

ภาระผูกพัน
ณ วันที่ 30 กันยายน 2546 บริษัทมีภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นในภายหน้าดังนี้
1) สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าคงเหลือ 18 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา ซึ่งเทียบเท่าเงินบาทจำนวนเงิน
758.85 ล้านบาท
2) หนังสือค้ำประกันที่ออกโดยธนาคารพาณิชย์ในประเทศ จำนวนเงิน 26.40 ล้านบาท สำหรับค่าสาธารณูปโภคของ
บริษัท

ปัจจัยความเสี่ยง
1) ความเสี่ยงจากความไม่แน่นอนในราคาสินค้าและวัตถุดิบ
โดยทั่วไป แนวโน้มราคาเหล็กแท่ง (Billet) จะขึ้นลงตามราคาตลาดโลก ซึ่งอาจส่งผลกระทบโดยตรงกับ
ต้นทุนขายและกำไรขั้นต้นของบริษัท โดยแหล่งวัตถุดิบหลักอยู่ที่บราซิล สหภาพโซเวียตและจีน โดยถึงแม้ว่าอาจจะ
พูดได้ว่า วัฎจักรต่ำสุดของราคาเหล็กได้ผ่านไปแล้วตั้งแต่ปี 2544 แต่วัฎจักรต่ำสุดของราคาเหล็กอาจจะกลับมาปรากฏ
อีกครั้งในอนาคตได้ ปัจจุบัน ราคาของทั้งเหล็กแท่งและ เหล็กลวดมีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นเป็นลำดับ และในอนาคตอัน
ใกล้นี้ วัฎจักรของเหล็กน่าจะอยู่ในเกณฑ์ดี เนื่องจากความต้องการของตลาดโลกที่เพิ่มขึ้น ในส่วนของบริษัทเองก็ยัง
มีการบรรเทาความเสี่ยงโดยการใช้ เครื่องเจียรผิวเหล็กแท่ง (Grinding machine) เพื่อปรับปรุงคุณภาพของเหล็กแท่ง ใน
การนำไปขึ้นรูปเพื่อให้ได้เป็นลวดเหล็กที่มีความแข็งและมีอายุการใช้งานที่ยาวนานกว่า และทำให้ผลิตภัณฑ์ปลายทาง
ไม่แตกหักง่าย หากผู้ประกอบการรายอื่นต้องการได้เหล็กแท่งที่มีคุณภาพในระดับเดียวกันนี้ จะต้องจ้าง Supplier ผู้ผลิต
เหล็กในการเจียรแต่งผิวก่อนที่จะขาย ซึ่งต้นทุนเหล็กแท่งก็จะสูงขึ้นตามไปด้วย แต่สำหรับบริษัทซึ่งมีเครื่องเจียรแต่งผิว
นี้ทำให้สามารถประหยัดต้นทุนในส่วนนี้ รวมทั้งมีทางเลือกในการซื้อเหล็กแท่งที่กว้างขึ้นอีกด้วย การที่มีกระบวนการ
เจียรเหล็กแท่งนี้เอง ทำให้บริษัทมีผลิตภัณฑ์เฉพาะที่ต่างจากโรงเหล็กอื่นๆ ซึ่งจะทำให้นำไปผลิตสกรู หรือผลิตภัณฑ์
สลักภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูงต่อไป

อย่างไรก็ตามเพื่อเป็นหลีกเลี่ยงผลกระทบโดยตรงที่จะมีต่อกำไรขั้นต้นของบริษัทอันเกิดจากความผันผวน
ของวัตถุดิบและสินค้าของบริษัทในอนาคตนั้น โดยแท้จริงแล้วบริษัทมีความหลากหลายในการผลิตสินค้ากลางน้ำ
และปลายน้ำ เพื่อเลือกขายในสินค้าที่ก่อให้เกิดกำไรสูงสุด

2) ความเสี่ยงที่เกิดจากการพึ่งพิงบริษัทแม่ (TGE) และซื้อขายสินค้าผ่านผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (TGE)
ปัจจุบันบริษัทได้ขายสินค้ารวมทั้ง เหล็กลวด และเหล็กลวดอบอ่อนแก่ บริษัท ไทยคูน กรุ๊ป เอ็นเตอร์ไพร์ส
(TGE) ซึ่งถือเป็นลูกค้าอันดับหนึ่ง และเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ทางอ้อมในบริษัท โดย TGE ถือหุ้นในบริษัท TGI ถึงร้อยละ
99.99 จากยอดขายต่อยอดขายรวมที่สูงถึงร้อยละ 39 เมื่อสิ้นสุด ครึ่งปีแรกปี 2546 บริษัทจึงอาจมีความเสี่ยงหาก TGE
ตัดสินใจไม่ซื้อสินค้าจากบริษัท อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาจากความจริงที่ว่า บริษัทเป็นฐานการผลิตที่สำคัญของ TGE
จึงไม่น่าจะเป็นไปได้ว่า TGE จะตัดสินใจไม่ซื้อสินค้าที่ผลิตจากบริษัท อีกทั้ง ความสัมพันธ์อันยาวนานระหว่างทั้งสอง
บริษัทและการที่เรียกได้ว่า TGE เป็นผู้แทนจำหน่ายของบริษัทในตลาดไต้หวันทั้งหมด ซึ่งการขายผ่าน TGE นั้นนับว่า
เป็นการเพิ่มช่องทางการตลาดไต้หวัน อย่างไรก็ตามด้วยคุณภาพของผลิตภัณฑ์ บริษัทก็สามารถหาตลาดอื่น ๆ มาทดแทน
ที่ให้ผลตอบแทนไม่เป็นรองแต่อย่างใดเช่นกัน นอกจากนี้โอกาสที่ TGE จะย้ายฐานการผลิตจากประเทศไทยไปยังประเทศ
ที่มีต้นทุนการผลิตที่ต่ำกว่าก็เป็นไปได้ยากเนื่องจากประเทศไทยได้ให้สิทธิประโยชน์อย่างมากมายไม่ว่าจะเป็น ทางภาษี
หรือแม้กระทั่ง ความมีเสถียรภาพทางการเมือง และอธิปไตยของประเทศ รวมทั้งถือเป็นศูนย์กลางในการขนถ่ายสินค้า
ระหว่างภูมิภาคที่ดีที่สุดแห่งหนึ่ง และด้วยความมุ่งมั่นในการลงทุน และสร้างฐานการผลิตที่ยิ่งใหญ่ ด้วยเงินลงทุนจำนวน
มหาศาล ตั้งแต่ปี 2539 เป็นต้นมา จึงน่าจะเป็นหลักประกันเป็นอย่างดี

3) ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงตลาด US
สัดส่วนยอดขายสกรูที่ส่งไป US ต่อรายได้รวมเท่ากับร้อยละ 9.10, 15.12 และ 19.20 ในปี 2545 ไตรมาส 1
และ 2 ของปี 2546 ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบกับยอดขายสกรูไป US ต่อยอดขายสกรูทั้งหมดเท่ากับร้อยละ 43.17,
70.10 และ 73.95 ในปี 2545 ไตรมาส 1 และ 2 ของปี 2546 ดังนั้นสหรัฐอเมริกาจึงเป็นตลาดที่บริษัทพึ่งพิงค่อนข้าง
มาก อย่างไรก็ตามจากการคาดการณ์ พบว่า ด้วยปริมาณความต้องการสร้างที่อยู่อาศัยที่เพิ่มมากขึ้นประกอบกับ
ภาวะอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำเป็นประวัติการณ์ น่าจะเอื้อประโยชน์ในอนาคตอันใกล้ ประกอบกับความน่าเชื่อถือของบริษัท
ที่มีความเกี่ยวข้องกับบริษัทไต้หวัน ซึ่งถือว่าได้รับความไว้วางใจจากประเทศสหรัฐอเมริกาอย่างมาก เนื่องจากไต้หวัน
เป็นประเทศที่ส่งผลิตภัณฑ์สกรู และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องได้แก่สลักภัณฑ์แบบต่างๆ ไปยังอเมริกาเป็นอันดับหนึ่ง

4) ความเสี่ยงที่เกิดจากความไม่แน่นอนด้านกฎหมาย และนโยบายการเปิดเขตการค้าอาเซียนเสรี (AFTA)
ตามข้อตกลงของเขตการค้าเสรีอาเซียน ประเทศสมาชิกมีข้อตกลงร่วมในการลดกำแพงภาษีนำเข้าให้เหลือเพียง ร้อยละ
0-5 ภายในปี 2546 สำหรับรายละเอียดของภาษีนำเข้าในแต่ละประเภทผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทในปัจจุบันแสดง
ไว้ตามตารางดังนี้
ประเภทผลิตภัณฑ์ เขตพื้นที่การค้า อัตราภาษีนำเข้า
1. เหล็กแท่ง AFTA 1%
Non-AFTA 1%
2. เหล็กลวด, เหล็กลวดอบอ่อน AFTA 5%
Non-AFTA 10%-17%
หมายเหตุ: สมาชิกของกลุ่ม AFTA ประกอบด้วยประเทศไทย บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย เมียนมาร์
ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และเวียดนาม

ปัจจุบัน อัตราภาษีนำเข้าของเหล็กแท่ง ซึ่งเป็นแหล่งวัตถุดิบที่สำคัญ อยู่ที่ร้อยละ 1 สำหรับทั้งประเทศ AFTA
และ NON-AFTA ซึ่งน่าจะเป็นปัจจัยเกื้อหนุนของบริษัท อย่างไรก็ตามบริษัทอาจมีความเสี่ยงเกิดขึ้นหากอัตราภาษี
นำเข้าปรับตัวสูงขึ้นเป็นผลให้ต้นทุนของบริษัทสูงขึ้น อย่างไรก็ตามอัตราภาษีนำเข้าน่าจะอยู่ในระดับนี้เพื่อเป็นไปตาม
ข้อตกลงสนธิสัญญาของอาฟตา ตามสนธิสัญญาอาฟตา ภายในปีนี้ การค้าสำหรับผลิตภัณฑ์เหล็กระหว่างประเทศใน
เขตอาฟตา จะไม่มีกำแพงภาษีอีกต่อไป ดังนั้นอาจจะมีความกังวลว่าสินค้าจากประเทศในกลุ่มอาฟตาจะเข้ามาแข่งขัน
กับบริษัทได้ อย่างไรก็ตามคงจะเป็นไปได้ยาก เนื่องจากผลิตภัณฑ์ของบริษัทเป็นสินค้าคุณภาพสูงที่ประเทศในแถบ
อาฟตาไม่สามารถผลิตได้แต่ในทางกลับกันบริษัทจะได้รับอานิสงค์ เนื่องจากบริษัทจะสามารถส่งออกไปยังประเทศ
ดังกล่าวได้มากขึ้นจากการที่ไม่มีกำแพงภาษี เพราะทั้งนี้ปัจจุบันและอนาคตคู่แข่งของบริษัทส่งออกไปยังประเทศใน
กลุ่มอาฟตา ซึ่งได้แก่ประเทศญี่ปุ่น ไต้หวันและเกาหลียังคงต้องเสียภาษีนำเข้าต่อไป สำหรับสกรูนั้น ตลาดส่งออกหลัก
อยู่ที่สหรัฐอเมริกา ซึ่งนับว่าเป็นตลาดที่มีการบริโภคใหญ่ที่สุด และไม่ได้มีกำแพงภาษีใดๆ

ส่วนนโยบายขององค์กรการค้าโลก (WTO) ตามข้อตกลงดังกล่าวระบุไว้ว่า จะมีการเปิดเขตการค้าเสรีระหว่าง
ประเทศ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น และเกาหลี ภายในปี 2553 โดยไม่จำกัดเฉพาะประเทศในเขตอาฟตาเพียงอย่างเดียว ซึ่งอาจเป็น
ความเสี่ยงในแง่การแข่งขันของบริษัทในระยะยาวเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตามด้วยคุณภาพสินค้าของบริษัท และด้วยการผลิต
ในแนวดิ่งที่ครบวงจร ของบริษัทน่าจะเป็นเครื่องรับประกันการแข่งขันในระยะยาวได้เป็นอย่างดี

5) ความเสี่ยงจากการเข้ามาแข่งขันของผู้ประกอบการรายใหม่
ถึงแม้ว่าผู้ผลิตเหล็กลวดจะมีอยู่มากมายรวมทั้งผู้ผลิตในประเทศ แต่หากคำนึงถึงเฉพาะผู้ผลิตเหล็กคุณภาพสูง
แล้วคู่แข่งขันที่สำคัญของบริษัทจะเป็นประเทศที่อยู่นอกกลุ่มอาฟตา ได้แก่ เกาหลี ญี่ปุ่น และจีน ซึ่งประเทศดังกล่าวจะไม่ได้

ในเขตอาฟตาก็ตาม อย่างไรก็ตาม บริษัทในกลุ่มประเทศดังกล่าวอาจมีแนวโน้มที่จะย้ายฐานกำลังการผลิตมายังประเทศในเขต
อาฟตามากขึ้นเพื่อที่จะได้รับผลประโยชน์ทางภาษีนำเข้า อย่างไรก็ตาม บริษัทในประเทศดังกล่าว ต้องใช้เงินลงทุนมหาศาลใน
การลงทุนเริ่มแรก และยิ่งเป็นการยากยิ่งขึ้นที่จะลงทุนในลักษณะตั้งแต่กลางน้ำถึงปลายน้ำเฉกเช่นบริษัทไทยคูน ซึ่งมีความ
หลากหลายในสินค้ามากกว่า

6) ความเสี่ยงที่เกิดจากอัตราแลกเปลี่ยน
โดยปกติแล้วผู้ผลิตเหล็กมักจะมีความเสี่ยงต่ออัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากวัตถุดิบส่วนใหญ่ เช่นเหล็กแท่ง ไม่สามารถ
หาได้ในประเทศ บริษัทจึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะเผชิญกับความเสี่ยงนี้ แต่โดยแท้จริงทั้งวัตถุดิบหลักและผลิตภัณฑ์ที่จำหน่ายจะ
อ้างอิงกับราคาตลาดโลกที่เป็นสกุลดอลล่าร์สหรัฐ แม้ว่าการขายบางส่วนจะเป็นการขายในประเทศ ดังนั้นจึงถือได้ว่าเป็น Natural
Hedge ในตัวอยู่แล้ว นอกจากนั้นบริษัทมีหนี้สินระยะยาวที่มีต่อ TGI เป็นเงินสกุลดอลล่าร์สหรัฐ ซึ่งอาจมีความเสี่ยงในกรณีที่ค่า
เงินบาทอ่อนตัวลงเมื่อเทียบกับเงินดอลล่าร์สหรัฐ ดังนั้นบริษัทจึงได้ทำสัญญาซื้อขายล่วงหน้าเพื่อบรรเทาความเสี่ยงเป็นจำนวน
307.85, 277.79 และ 677.44 ล้านบาทในปี 2545 ไตรมาส 1 และ 2 ของปี 2546 ตามลำดับ อย่างไรก็ตามเงินกู้จำนวนดังกล่าวจะ
หมดไปจากเงินเพิ่มทุนในครั้งนี้

7) ความเสี่ยงที่เกิดจากการนำทรัพย์สินของบริษัทไปเป็นหลักประกันจำนองต่อธนาคาร First Commercial ที่ไต้หวัน
ในการกู้เงินของบริษัทไทยคูน กรุ๊ป อินเตอร์เนชั่นแนล (TGI)

บริษัทมีหนี้สินระยะยาว (Long-term other payable) ต่อ TGI ซึ่งเป็นบริษัทแม่เพื่อเป็นเงินกู้สนับสนุนในการซื้อ
วัตถุดิบและเครื่องจักร จำนวน 1,503 ล้านบาท และ 1,490 ล้านบาท สิ้นสุดปี 2545 และ ครึ่งปีแรก ปี 2546 ตามลำดับ และคาดว่า
จะลดลงเหลือประมาณ 1,358 ล้านบาทก่อนการเสนอขายหุ้นในครั้งนี้ เงินกู้ดังกล่าวเกิดขึ้นในช่วงที่บริษัทเพิ่งเปิดดำเนินการที่
ประเทศไทย ไม่นาน จึงมีปัญหาในการขอวงเงินกู้กับธนาคาร และสถาบันการเงิน ดังนั้น บริษัท TGI จึงยื่นมือสนับสนุนเงินกู้
ในส่วนนี้ โดยเงินกู้ดังกล่าวไม่มีการคิดดอกเบี้ย แต่อย่างใด เป็นเหตุให้บริษัทสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยได้ โดย TGI
ได้นำหลักประกันที่เป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท ไปค้ำประกันกับ ธนาคาร First Commercial ดังนั้น บริษัทจึงอาจมีความเสี่ยงใน
กรณีที่ TGI ผิดนัดชำระหนี้ อย่างไรก็ตาม เงินที่ได้จากการขายหุ้นสามัญนี้จะนำไปคืนเงินกู้ส่วนนี้ทั้งหมด และคาดว่าจะสามารถ
ปลดจำนองหลักประกันคืนภายในระยะเวลา 6 เดือนหลังจากการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนในครั้งนี้

8) ความเสี่ยงในกรณีผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ถือหุ้นมากกว่าร้อยละ 75
ก่อนการเสนอขายหุ้นสามัญในครั้งนี้ บริษัท TGI ถือหุ้นเป็นสัดส่วนร้อยละ 99.99 ของหุ้นทั้งหมด ซึ่งหลังจากการ
เสนอขายหุ้นสามัญใหม่รวมทั้งจำนวนหุ้นเก่าที่จะนำมาออกจำหน่าย จะทำให้สัดส่วนการถือหุ้นของ TGI ลดลงมากกว่าหรือ
เท่ากับ 75% อย่างไรก็ตาม TGI สามารถควบคุมมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นได้เกือบทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นเรื่องการแต่งตั้งกรรมการหรือ
การขอมติเรื่องอื่นที่ต้องใช้เสียงมากกว่าหรือเท่ากับ 3 ใน 4 ของที่ประชุมผู้ถือหุ้น ดังนั้นผู้ถือหุ้นรายย่อย จึงอาจไม่สามารถรวบ
รวมคะแนนเสียงเพื่อตรวจสอบถ่วงดุลเรื่องที่ผู้ถือหุ้นเสนอได้ นอกจากนี้บริษัท TGE ซึ่งเป็นกลุ่มบริษัทในเครือถือหุ้นในบริษัท
TGI อีก 99.99% จึงนับว่าเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ทางอ้อมในบริษัท ได้เช่นเดียวกัน

9) ความเสี่ยงเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์
บริษัทมีความประสงค์จะเสนอขายหุ้นต่อประชาชนในครั้งนี้ก่อนที่จะได้รับทราบผลการพิจารณาของตลาด
หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทั้งนี้บริษัทได้ยื่นคำขออนุญาตนำหลักทรัพย์เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯแล้ว เมื่อ
วันที่ 15 สิงหาคม 2546 และบริษัทกิมเอ็ง (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) ในฐานะที่ปรึกษาทางการเงินได้พิจารณา
คุณสมบัติของบริษัทในเบื้องต้นแล้วเห็นว่า บริษัทมีคุณสมบัติครบถ้วนที่จะสามารถเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ
ได้ ยกเว้นคุณสมบัติการกระจายหุ้นให้แก่ผู้ถือหุ้นรายย่อยจำนวนไม่ต่ำกว่า 600 คน ดังนั้นบริษัทก็ยังคงมีความไม่แน่นอน
ที่จะได้รับอนุญาตจากตลาดหลักทรัพย์ฯ ให้เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียน ดังนั้นผู้ลงทุนจึงอาจมีความเสี่ยงเกี่ยวกับสภาพคล่อง
ในการซื้อขายหุ้นของบริษัทในตลาดรอง และอาจจะไม่ได้รับผลตอบแทนจากการขายหุ้นได้ตามราคาที่คาดการณ์ไว้ หาก
หลักทรัพย์ของบริษัทไม่สามารถเข้าจดทะเบียนได้

กรณีพิพาท ไม่มี

จำนวนพนักงาน ณ วันที่ 30 กันยายน 2546 บริษัทมีจำนวนพนักงานทั้งหมด 1,074 คน

ประวัติความเป็นมาโดยสรุป
บริษัท ไทยคูน เวิลด์ไวด์ กรุ๊ป (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) ("บริษัท") ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 กันยายน 2539 โดยมี
บริษัท ไทยคูน กรุ๊ป อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บนเกาะเคย์แมน ("TGI") เป็นผู้ถือหุ้นหลัก (99.99%) โดย TGI ก่อตั้งขึ้นโดย
มีบริษัท ไทยคูน กรุ๊ป เอนเตอร์ไพรส์ จำกัด ประเทศไต้หวัน ("TGE") เป็นผู้ถือหุ้นทั้งหมด (100%) เมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2541
บริษัทได้เริ่มจดทะเบียนด้วยทุนจดทะเบียนซึ่งจ่ายชำระเต็มจำนวน 1,833 ล้านบาท ต่อมาในปี 2542 บริษัทได้เพิ่มทุนจด
ทะเบียนอีกโดยจ่ายชำระเต็มจำนวน ทำให้บริษัทมีทุนจดทะเบียนรวม 5,028 ล้านบาท โดยบริษัทถือได้ว่าเป็นผู้ผลิตใน
ประเทศไทยที่มีขบวนการผลิตต่อเนื่องในแนวดิ่งจากกลางทางถึงปลายน้ำอย่างครบวงจรสมบูรณ์แบบและมีกำลังผลิตสูง
โดยดำเนินธุรกิจหลักในการผลิตและจำหน่ายเหล็กลวด เหล็กลวดอบอ่อน และสกรู เพื่อส่งขายทั้งภายในประเทศและต่าง
ประเทศ โดยบริษัทได้จดทะเบียนเป็นบริษัทมหาชนเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2546 และเพิ่มทุนจดทะเบียนเป็น 6,285 ล้าน
บาท โดยจะเรียกชำระเต็มหลังจากได้เสนอขายหุ้นเพิ่มทุนต่อประชาชนแล้ว

เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วมและบริษัทที่เกี่ยวข้อง ไม่มี

การเพิ่ม (ลด) ทุนในระยะ 3 ปีที่ผ่านมา
วัน เดือน ปี ทุนจดทะเบียน ทุนที่เพิ่ม ทุนจดทะเบียนหลัง หมายเหตุ/วัตถุประสง
ค์
ก่อนการเพิ่มทุน การเพิ่มทุน
การใช้เงิน
2546 5,028 ล้านบาท 1,257 ล้านบาท 6,285 ล้านบาท นำเงินที่ได้ไปชำระคืนเงินกู้

(ดูหมายเหตุท้ายตาราง) ที่มีต่
อบริษัทที่เกี่ยวข้อง/

เงินลงทุนขยายกิจการ

หมายเหตุ: จากมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 2/2546 วันที่ 19 มิถุนายน 2546 ทีประชุมมีมติให้เพิ่มทุนจากจำนวน
5,028,000,000 บาท เป็น 6,285,000,000 บาท โดยคิดเป็นจำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้นจำนวน 125,700,000 หุ้น มูลค่า
ที่ตราไว้ 10 บาท ซึ่งได้รับการจดทะเบียนจากกระทรวงพาณิชย์แล้วเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2546 บริษัทได้เสนอ
ขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทจำนวน 125.7 ล้านหุ้น และหุ้นสามัญเดิมของบริษัทจำนวน 31.425 ล้านหุ้นที่ถือ
โดยบริษัท ไทยคูน กรุ๊ป อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด รวมเป็นจำนวนทั้งสิ้น 157.125 ล้านหุ้นต่อประชาชนในราคา
15.50 บาทต่อหุ้นในระหว่างวันที่ 26-28 พฤศจิกายน 2546

รอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม 31 ธันวาคม

ผู้สอบบัญชี นายนิรันดร์ ลีลาเมธวัฒน์ ทะเบียนเลขที่ 2316 จากบริษัท เค พี เอ็ม จี ภูมิไชย สอบบัญชี
จำกัด

นายทะเบียนหุ้น บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด

ที่ปรึกษาทางการเงิน บริษัทหลักทรัพย์ กิมเอ็ง (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

นโยบายการจ่ายเงินปันผล
ไม่ตำกว่าร้อยละ 40 ของกำไรสุทธิหลังหักภาษีของบริษัทในแต่ละปี โดยจะขึ้นอยู่กับภาวะเศรษฐกิจและความต้องการ
ใช้เงินทุนสำหรับโครงการในอนาคต ซึ่งการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวข้างต้นจะต้องได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นตาม
ความเหมาะสม และความเห็นชอบของคณะกรรมการของบริษัท

บัตรส่งเสริมการลงทุน
บัตรส่งเสริมการลงทุนเลขที่ 1672/2539 ลงวันที่ 11 ตุลาคม 2539
บริษัทได้รับสิทธิพิเศษจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน สำหรับการผลิตเหล็กลวดและสกรู โดยรายละเอียดของ
หลักๆ ของสิทธิประโยชน์ประกอบด้วย
ก. ได้รับการยกเว้นภาษีนิติบุคคลธรรมดาเป็นเวลา 8 ปีนับจากวันเริ่มดำเนินการผลิต ในวันที่ 15 ธันวาคม 2541 และ
ได้รับการยกเว้นภาษีนิติบุคคลธรรมดาในอัตราร้อยละ 50 ของอัตราปกติ เป็นเวลาต่อมาอีก 5 ปี ซึ่งจะหมดอายุในวันที่ 15
ธันวาคม 2554
ข. ให้ได้รับอนุญาตให้หักเงินได้พึงประเมินเป็นจำนวนเท่ากับร้อยละ 5 ของรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากปีก่อนจากการส่ง
ออกเป็นระยะเวลา 10 ปีนับแต่วันที่ 15 ธันวาคม 2541
ค. ได้รับการยกเว้นจากภาษีอากรนำเข้าเครื่องจักรเป็นเวลา 5 ปี หมดอายุวันที่ 24 มีนาคม 2546 และได้รับการต่อ
อายุเป็นรายปี ซึ่งปัจจุบันจะหมดอายุในวันที่ 23 มีนาคม 2547
ง. วัตถุดิบที่นำเข้าเพื่อการผลิตสำหรับการส่งออกจะได้รับการยกเว้นภาษีอากรนำเข้า เป็นเวลา 5 ปีหมดอายุวันที่
24 มีนาคม 2546 และได้รับการต่ออายุเป็นรายปี ซึ่งปัจจุบันจะหมดอายุในวันที่ 23 มีนาคม 2547 แต่ทั้งนี้การส่งออกต่อปี
ต้องมีไม่น้อยกว่า 30% ของยอดผลิตทั้งหมดที่ราคา FOB

จำนวนผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 4 ธันวาคม2546 ปรากฏดังนี้
จำนวนราย จำนวนหุ้
น ร้อยละของทุนที่ชำระแล้ว
1) Strategic Shareholders
1.1 รัฐบาล รัฐวิสาหกิจและหน่วยงานของรัฐ 4 3,640,000
0.58
1.2 กรรมการ ผู้จัดการและผู้บริหาร รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้องกับ
บุคคลดังกล่าว 5 3,
000,000 0.48
1.3 ผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้น > 5 % โดยนับรวมผู้ที่เกี่ยวข้องด้วย 1 471,374,992
75.00
1.4 ผู้ถือหุ้นที่มีข้อตกลงในการห้ามขายหุ้นภายในเวลาที่กำหนด 4 660,004 0.
11
2) ผู้ถือหุ้นสามัญรายย่อยที่ถือไม่ต่ำกว่า 1 หน่วยการซื้อขาย 11,067 149,825,000 23.
84
3) ผู้ถือหุ้นสามัญรายย่อยที่ถือต่ำกว่า 1 หน่วยการซื้อขาย 0 0
0
รวมผู้ถือหุ้นสามัญทั้งสิ้น 11,081 628,500,00
0 100.00

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ณ วันที่ 4 ธันวาคม 2546
รายชื่อผู้ถือหุ้น จำนวนหุ้น ร้อยละของทุนที่ช
ำระแล้วภายหลัง

การเสนอขายหุ้นต่อประชาชน
1. บริษัทไทยคูน กรุ๊ป อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด 471,374,992 75.0
2. Mr.Huang, Ping-Lun 3,000,000 0.48

3. นายไพฑูรย์ เดชดนัย 2,023,000 0.3
2
4. Mrs.Yao, Chin-Hsiang 1,802,500 0.29

5. Mr.Chih-Yao Chuang 1,558,000 0.25

6. บริษัททิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน) 1,500,000 0.24

7. สำนักงานประกันสังคม 1,300,000 0.2
1
รวม 482,558,492
76.78

ผู้ถือหุ้นต่างด้าว ณ วันที่ 4 ธันวาคม 2546
บริษัทมีผู้ถือหุ้นต่างด้าวทั้งสิ้น 217 ราย
ถือหุ้นรวมกันทั้งสิ้น 522,717,200 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 83.17 ของทุนที่ชำระแล้ว
หมายเหตุ: บริษัทไม่มีข้อจำกัดเกี่ยวกับการถือหุ้นของผู้ถือหุ้นต่างด้าว

คณะกรรมการบริษัท
ชื่อ ตำแหน่ง
1) นายหวง เหวิน สง ประธานกรรมการ
2) นางลู เยน เจียน กรรมการ
3) นายเจิน เตอ จีน กรรมการ
4) นายหยาง โป๋ หลง กรรมการ
5) นายเฉิน เจิ้ง ลี่ กรรมการ
6) นายสุรพล ขวัญใจธัญญา กรรมการอิสระ
7) นายจิรวัฒน์ หวาง กรรมการอิสระ
8) นายพิพัฒน์ หวังพิชิต กรรมการอิสระ

คณะกรรมการตรวจสอบ
ที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัท ไทยคูน เวิล์ดไวด์ กรุ๊ป (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 2/2546 เมื่อวันที่
18 กรกฏาคม 2546 ได้มีมติแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. รายนามคณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้วย :
ประธานกรรมการตรวจสอบ นายสุรพล ขวัญใจธัญญา
กรรมการตรวจสอบ นายจิรวัฒน์ หวาง
กรรมการตรวจสอบ นายพิพัฒน์ หวังพิชิต
เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ นายซิว จิ่น เซิน

2. คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทมีขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบและรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท
ดังต่อไปนี้
1) สอบทานให้บริษัทมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อถือได้ และเปิดเผยอย่างเพียงพอ
2) สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในที่มีความเหมาะสม และมีประสิทธิผล
3) สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำหนดของตลาดหลักทรัพย์
หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท
4) พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทในกรณีที่เกิดรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทาง
ผลประโยชน์ให้มีความถูกต้องและครบถ้วน
5) จัดทำรายงานกิจกรรมและการกำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำปี
ของบริษัท ซึ่งรายงานดังกล่าวลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
6) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายและคณะกรรมการตรวจสอบเห็นชอบด้วย

3. วาระการดำรงตำแหน่ง
- ประธานกรรมการตรวจสอบ 2 ปี
- กรรมการตรวจสอบ 2 ปี

เงื่อนไขการรับหลักทรัพย์ ไม่มี

ระยะเวลาห้ามจำหน่ายหุ้น
ผู้ถือหุ้นเดิมก่อนการเสนอขายหุ้นต่อประชาชนทั่วไปถือหุ้นจำนวน 471.375 ล้านหุ้น คิดเป็นร้อยละ 93.75 ของทุนที่
ชำระแล้วก่อนการเสนอขายหุ้นต่อประชาชนทั่วไป และร้อยละ 75.0 ของทุนที่ชำระแล้วภายหลังการเสนอขายหุ้นต่อประชาชน
ทั่วไปให้คำรับรองต่อตลาดหลักทรัพย์ว่าจะไม่นำหุ้นจำนวนดังกล่าวออกจำหน่ายเป็นระยะ เวลา 1 ปี 6 เดือนนับแต่วันที่หลักทรัพย์
ของบริษัทเริ่มทำการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ โดยเมื่อครบกำหนดระยะเวลาทุกๆ 6 เดือน ผู้ถือหุ้นดังกล่าวได้รับการผ่อนผัน
ให้ทยอยขายหุ้นหรือหลักทรัพย์ที่ถูกสั่งห้ามขายได้ในจำนวนร้อยละ 25 ของจำนวนหุ้นหรือหลักทรัพย์ทั้งหมดที่ถูกสั่งห้ามขาย
และเมื่อครบกำหนด 1 ปี 6 เดือนสามารถขายส่วนที่เหลือได้ทั้งหมด

การผ่อนผันของตลาดหลักทรัพย์ ไม่มี

อื่นๆที่สำคัญ (ถ้ามี) ไม่มี

สถิต
บริษัท ไทยคูน เวิลด์ไวด์ กรุ๊ป (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
ปี รายได้จากการ กำไร (ขาดทุน) กำไร (ขาดทุน) เงินปันผลต่อ มูลค่าหุ้นตาม เงิ
นปันผลต่อ
ขาย (บาท) สุทธิ (บาท) สุทธิต่อหุ้น (บาท) หุ้น* (บาท) บัญชีต่อหุ้น(บาท) กำไร (%)

1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 2543 2,646,259,322 240,741,305 0.48 0.00 10.20
0.00%
1 ม.ค. 31 ธ.ค. 2544 2,900,340,602 49,847,910 0.10 0.00 10.30
0.00%
1 ม.ค. 31 ธ.ค. 2545 4,287,981,225 449,820,836 0.89 0.00 11.20
0.00%
1 ม.ค. 30 ก.ย. 2546 3,986,880,000 524,196,000 1.04 1.00* 11.24**
96.15%
* ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทประจำปี 2546 เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2546 ที่ประชุมมีมติให้จ่ายเงินปันผลจำนวน 502.8
ล้านบาท ให้กับผู้ถือหุ้นของบริษัท โดยแบ่งจ่ายเป็น 2 ครั้ง คือ 8 เมษายน 2546 และ 28 เมษายน 2546
** เป็นมูลค่าตามบัญชีต่อหุ้นของบริษัทภายหลังการปรับปรุงรายการจ่ายเงินปันผล มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้นของบริษัทคำนวณจาก
งบการเงินของบริษัทซึ่งสอบทานแล้วแต่ยังไม่ได้ตรวจสอบ ณ วันที่ 30 กันยายน 2546

บริษัท ไทยคูน เวิลด์ไวด์ กรุ๊ป (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
งบดุลเปรียบเทียบที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2543, 2544, 2545 และ 30 กันยายน 2546
งบดุล (หน่วย : ล้านบาท) ปี
สิ้นสุด 30 ก.ย.* 2546 2545
2544 2543
สินทรัพย์หมุนเวียน
เงินสด เงินฝากธนาคาร และเงินลงทุน 337.99 292.64 83.91
102.38
ลูกหนี้การค้า 715.55 1,240.28
816.68 837.08
สินค้าคงเหลือ 1,641.26 987.58
927.34 1,112.70
สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 176.84 102.07
40.86 44.15
รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 2,871.75 2,586.57 1
,868.79 2,096.32

สินทรัพย์ระยะยาว
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ 6,115.74 6,219.16 6,37
0.96 6,496.15
ค่าซื้อที่ดินจ่ายล่วงหน้า 1.29 1.29
53.93 53.93
เงินค่ามัดจำ 0.6
0.60 0.64 0.64
เงินลงทุนระยะยาวอื่น 86.5 -
- -
สินทรัพย์อื่น -
- 1.21 1.36
รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 6,240.13 6,221.05 6,4
26.74 6,552.08
รวมสินทรัพย์ 9,075.87 8,807.62
8,294.32 8,648.40

หนี้สินหมุนเวียน
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 1,529.78 1,068.74 417
.32 204.78
เจ้าหนี้การค้า 397.01 497.50
648.12 391.25
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้อง - 182.47
189.99 1,229.04
เจ้าหนี้เช่าซื้อที่ถึงกำหนดชำระในหนึ่งปี 5.4 5.37
3.44 -
เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องที่ถึงกำหนดชำระในหนึ่งปี 7.45 -
- -
หนี้สินหมุนเวียนอื่น 119.35 62.10
35.38 82.38
รวมหนี้สินหมุนเวียน 2,058.99 1,816.17
1,294.25 1,907.45

หนี้สินระยะยาว
เจ้าหนี้เช่าซื้อ 7.87
3.84 8.20 -
เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้อง 1,358.42 1,358.42 1,7
06.88 1,505.81
เงินรับล่วงหน้า -
- 105.60 105.60
รวมหนี้สินระยะยาว 1,366.29 1,362.26
1,820.68 1,611.41
รวมหนี้สิน 3,425.28 3,178.42
3,114.94 3,518.86

ส่วนของผู้ถือหุ้น
ทุนจดทะเบียน-หุ้นสามัญ 502,800,000 หุ้น 5,028.00 5,028.00 5,028.00

มูลค่าหุ้นละ 10 บาท
ทุนที่ชำระเต็มมูลค่า-หุ้นสามัญ 502,800,000 หุ้น 5,028.00 5,028.00 5,028.00
5,028.00
กำไรสะสม 622.60 601.20
151.38 101.55
รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 5,650.60 5,629.20
5,179.38 5,129.55
รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 9,075.87 8,807.62 8,2
94.32 8,648.41
หมายเหตุ * งบการเงินสอบทานแล้ว แต่ยังไม่ได้ตรวจสอบ

บริษัท ไทยคูน เวิลด์ไวด์ กรุ๊ป (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
งบกำไรขาดทุนเปรียบเทียบที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว
สำหรับรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2543, 2544, 2545 และ 30 กันยายน 2546
งบกำไรขาดทุน (หน่วย: ล้านบาท) ปี
สิ้นสุด 30 ก.ย.* 2546 2545
2544 2543
รายได้จากการขาย-สุทธิ 3,986.88 4,287.98
2,900.34 2,646.26
ดอกเบี้ยรับ - 4
.23 4.20 1.43
รายได้อื่น 119.59 13.55
57.62 70.73
รายได้รวม 4,106.47 4,305.76
2,962.16 2,718.42

ต้นทุนขาย 3,324.92 3,582.95
2,671.78 2,269.24
ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 226.08 246.62 2
28.36 206.15
รวมค่าใช้จ่าย 3,551.00 3,829.57
2,900.15 2,475.39

กำไรก่อนหักดอกเบี้ยจ่าย 555.47 476.19
62.01 243.03
ดอกเบี้ยจ่าย 31.27 26.37
12.18 2.29
กำไร(ขาดทุน)สุทธิ 524.20 449.82
49.84 240.74
กำไรต่อหุ้น 1.04 0.89
0.10 0.48
จำนวนหุ้นสามัญเฉลี่ย 502.80 502.80
502.80 502.80
หมายเหตุ * งบการเงินสอบทานแล้ว แต่ยังไม่ได้ตรวจสอบ

บริษัท ไทยคูน เวิลด์ไวด์ กรุ๊ป (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
งบกระแสเงินสดเปรียบเทียบที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว
สำหรับรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2543, 2544, 2545 และ 30 กันยายน 2546
งบกระแสเงินสด (หน่วย: ล้านบาท) ปี
สิ้นสุด 30 ก.ย.2546 2545
2544 2543
กระแสเงินสดจากการดำเนินงาน 206.39 (386.55) (174.11)
104.75
กระแสเงินสดจากการลงทุน (136.79) (47.27) (6
8.54) (135.22)
กระแสเงินสดจากการจัดหาเงิน 19.89 642.54 22
4.18 100.28
กระแสเงินสดสุทธิเพิ่มขึ้น(ลดลง) 89.46 208.73 (
18.47) 69.81


จัดทำโดย บริษัทหลักทรัพย์ กิมเอ็ง (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
The crowd, the world, and sometimes even the grave, step aside for the man who knows where he's going, but pushes the aimless drifter aside. -- Ancient Roman Saying
Solo
Verified User
โพสต์: 627
ผู้ติดตาม: 0

ไทคูน ราคาที่เหมาะสม สำหรับวันแรก คือ เท่าใด ครับ

โพสต์ที่ 3

โพสต์

ขอบคุณ คุณ คัดท้ายมากครับ

เช้านี้ นสพ ข่าวหุ้น บอก ว่า นอกตลาด ประมาณ 23 บาท
แต่ บางโบรก บอก ว่า ราคาเหมาะสม คือ 16-18 บาท ครับ

แต่ ผม เดา นะครับ คงจะ แถว 23-27 บาท กระมัง ครับ
supachail
Verified User
โพสต์: 67
ผู้ติดตาม: 0

รายงานราคาปิด 11 ธค (เทรดวันแรก)

โพสต์ที่ 4

โพสต์

วันนี้ เปิดตลาด ราคา ก็ค่อยๆ ลงมาเรื่อยๆ
ราคาปิด 18.20 บาท
ราคาสูงสุด 23.7 Baht
ราคาต่ำสุด 18 Baht
มูลค่าการซื้อ ขาย 4,350 ล้านบาท (ประมาณ 209 ล้านหุ้น)

เพื่อนๆ พี่ที่ได้ IPO ขายไปหรือยัง ผมมีนิดหน่อย ขายไม่ทันเลย คาดว่า พรุ่งนี้ รอดูสถานการณ์อีกที ใครมีความเห็น เล่าสู่กันฟังหน่อยครับ
ภาพประจำตัวสมาชิก
คัดท้าย
Verified User
โพสต์: 2917
ผู้ติดตาม: 0

ไทคูน ราคาที่เหมาะสม สำหรับวันแรก คือ เท่าใด ครับ

โพสต์ที่ 5

โพสต์

ผมขายไปหมดแล้วครับ ได้มา 5,000 เอง ขี้เกียจเฝ้า โยนไปแล้วเรียบโร้ยที่ 20 บาทครับ ...

ข้อมูล คุณ Solo แม่นมากเลยครับ สำหรับวันนี้ :D
The crowd, the world, and sometimes even the grave, step aside for the man who knows where he's going, but pushes the aimless drifter aside. -- Ancient Roman Saying
CK
สมาชิกกิตติมศักดิ์
โพสต์: 9795
ผู้ติดตาม: 0

ไทคูน ราคาที่เหมาะสม สำหรับวันแรก คือ เท่าใด ครับ

โพสต์ที่ 6

โพสต์

ผมจะซื้อถ้าต่ำกว่า IPO ครับ
ภาพประจำตัวสมาชิก
ปรัชญา1
Verified User
โพสต์: 1092
ผู้ติดตาม: 0

Re: รายงานราคาปิด 11 ธค (เทรดวันแรก)

โพสต์ที่ 7

โพสต์

supachail เขียน:วันนี้ เปิดตลาด ราคา ก็ค่อยๆ ลงมาเรื่อยๆ
ราคาปิด 18.20 บาท
ราคาสูงสุด 23.7 Baht
ราคาต่ำสุด 18 Baht
มูลค่าการซื้อ ขาย 4,350 ล้านบาท (ประมาณ 209 ล้านหุ้น)

เพื่อนๆ พี่ที่ได้ IPO ขายไปหรือยัง ผมมีนิดหน่อย ขายไม่ทันเลย คาดว่า พรุ่งนี้ รอดูสถานการณ์อีกที ใครมีความเห็น เล่าสู่กันฟังหน่อยครับ
ราคาที่เหมาะสมของผมได้มา400หุ้น และขายไป22.20บาทครับ อิอิ
ฝันถึง วัน ฟ้าสวย...... อยากร่ำรวย-ด้วยเล่นหุ้น
ฝัน เป็น นักลงทุน..... ลุ้นความหวัง-ความตั้งใจ
Solo
Verified User
โพสต์: 627
ผู้ติดตาม: 0

ไทคูน ราคาที่เหมาะสม สำหรับวันแรก คือ เท่าใด ครับ

โพสต์ที่ 8

โพสต์

ผมไม่แม่นหรอกครับ ลอกข่าวเขามานะครับ

ผมขาย ไป ราคาเปิด 23 บาทครับ ผม

ส่วนใหญ่ จะขายไม้แรก ครับ เก็บกำไร ก่อน ครับ

ขายเสร็จ ผมก็ไปตั้ง ซื้อ ที่ ราคา 16 บาท ทั้ง กระดาน หลัก และกระดาน เศษ ครับ

สุดท้าย ก่อนปิดตลาด ได้ เศษหุ้นมาครับ ที่ ราคา 16 บาท ได้มานิดหน่อย :P
แก้ไขล่าสุดโดย Solo เมื่อ พฤหัสฯ. ธ.ค. 11, 2003 11:38 pm, แก้ไขไปแล้ว 1 ครั้ง.
ภาพประจำตัวสมาชิก
sirivajj
Verified User
โพสต์: 985
ผู้ติดตาม: 0

ไทคูน ราคาที่เหมาะสม สำหรับวันแรก คือ เท่าใด ครับ

โพสต์ที่ 9

โพสต์

ได้มานิดเดียว ก็เลยขายไปวันนี้เหมือนกันครับ
ขายไปที่ราคาเปิดเหมือนกันครับ
What do you mean.?
ล็อคหัวข้อ