MoneyTalk@SET19/8/60
- i-salmon
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 293
- ผู้ติดตาม: 0
MoneyTalk@SET19/8/60
โพสต์ที่ 1
สัมมนา Money Talk@SET
เสาร์ที่ 19 สิงหาคม 2560
เป็นสัมมนาพิเศษจัดเต็มวัน มีภาคเช้าและบ่าย
ผมเข้าร่วม fb live ในช่วงบ่าย พอดีช่วงที่ 2 ระบบมีการขัดข้องหน่อยเลยดูไม่ต่อเนื่อง
ขอสรุปภาคบ่าย ช่วงที่ 1 ก่อนครับ
ช่วงที่ 1 สัมมนาหัวข้อ “เปิดประตู MBA 4.0 ประตูสู่อนาคตอย่างมืออาชีพ"
1. คุณ วรวุฒิ อุ่นใจ / กรรมการผู้จัดการ COL
2. คุณ ยงยุทธ์ ฟูพงศ์ศิริพันธ์ / CEO MT Multimedia
3. ดร.วิพุธ อ่องสกุล / คณบดีคณะบริหารธุรกิจ นิด้า
4. คุณ ชิงชัย รัตนะจิตร / กรรมการผู้จัดการ บจก. เอ็มบริโอ แพลนเนท
5. ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร / ผู้เชี่ยวชาญการลงทุน
ดร.ไพบูลย์ เสรีวิวัฒนา และ อ.เสน่ห์ ศรีสุวรรณ ดำเนินรายการ
MBA 4.0 มีวิวัฒนาการอย่างไร?
ดร.วิพุธ สิ่งที่เปลี่ยนแปลงคือการเรียนรู้ของมนุษย์เปลี่ยน
1.0 ฟังทางเดียว คนเรียนรับฟังอาจารย์
2.0 เริ่มมี participation เรียนรู้ลูกศิษย์กับอาจารย์
3.0 เริ่มเรียนรู้จากเพื่อน เรียนผ่าน case study มีงานกลุ่มแต่ยังอยู่ในห้องเรียน
4.0 สามารถเรียนรู้นอกห้องเรียน จากแหล่งข้อมูลอื่น ทำให้เปลี่ยนวิธีการเรียนรู้
ดังนั้น MBA 4.0 ต้องเปลี่ยนวิธีการเรียนรู้ให้เหมาะสม
ใช้ Digital เข้ามาเสริม ทำให้เรียนรู้ได้เร็วขึ้นจากวิธีการที่เปลี่ยน
ทำให้ประสบความสำเร็จได้เร็วขึ้น
คนยุคใหม่ประสบความสำเร็จเร็วกว่าคนยุคเก่าเพราะอัตราคนเรียนรู้เร็วกว่า
อ.เสน่ห์ เสนอข้อมูลจาก world economic forum
Top 10 skill ที่สำคัญในยุค industry 4.0
1) Complex problem solving แก้ปัญหาที่ซับซ้อน
2) Critical thinking คิดอย่างมีวิจารณญาณ
3) Creativity คิดสร้างสรรค์
4) People management บริหารคนได้ดี
5) Coordinate with other ประสานงานกับคนอื่นได้
6) EQ ฉลาดทางอารมณ์
7) Judgement & Decision making คิดพิจารณาตัดสินใจ
8) Service orientation มีหัวใจบริหาร
9) Negotiation การต่อรอง
10) Cognitive flexibility สามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ๆได้ตลอด
สิ่งเหล่านี้ครอบคลุมอยู่ใน MBA ยุคใหม่ไหม?
ดร.วิพุธ เราสอนทักษะการเรียนรู้ การตัดสินใจ การมองโลก มองปัญหา
เป็นทักษะคนยุคใหม่ ที่ต้องมีปฏิสัมพันธ์กันคน ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญที่ทำให้ประสบความสำเร็จ
เรามีการให้ทำงานกลุ่ม มีให้งานกดดันจำนวนมากเพื่อให้มาร่วมกันให้เสร็จ(collaboration)
Skill การเรียนรู้ผ่านการร่วมมือน่าสนใจมาก
วิวัฒนาการมนุษย์อยู่รอดมาได้เพราะเรามีการร่วมมือกัน เราไม่ได้แข็งแรงที่สุด ฉลาดสุด
ทั้งที่ในอดีตมีลิงอีกพันธ์ที่นิ้วพับได้เหมือนคน ฉลาดกว่า แข็งแรงกว่า
การไปล่าช้างล่าสัตว์ก็ไปเป็นหมู่ ทำให้เรารอดมาได้
Key word คือ การร่วมมือ และเป็นสิ่งที่ออกแบบในหลักสูตรอยู่แล้ว
MBA ที่เรียนมา ยังใช้ได้หรือเปล่า?
คุณยงยุทธ์
เข้าเรียนปี 2522 ช่วงนั้นยังไม่มี hardware อะไรมาก คอมพิวเตอร์ยังเป็นเมนเฟรม
แต่ software ยุคนั้นเจ๋ง มีโอกาสได้เรียนกับ อาจารย์ดีๆหลายท่าน
อ.มารวย ผดุงสิทธิ์ ดร.ทนง พิทยะ, ดร.อัศวิน จินตกานนท์, ดร.วีรวัฒน์ กาญจนดุล
เป็นระดับปรมาจารย์ คิดว่าผ่านมา 35 ปี แก่นวิชาการวิเคราะห์ไม่ได้เปลี่ยนไป
เรียนจบป.ตรีมาจาก สงขลา แล้วมาเรียนโทเข้านิด้าเลย จบได้เกียรตินิยมด้วย
แต่รู้สึกไม่ได้อะไรเลย เพราะไม่เคยทำงานมาก่อน
มันค่อยๆมาได้ตอนที่ทำงาน และค่อยๆดึงมาใช้ สิ่งต่างๆมันผสมผสาน
ส่วนหนึ่ง บอกได้ว่ามีวันนี้เพราะนิด้า
นิด้า สอนให้เราคิดเป็น และปรมาจารย์ที่สอนเรายุคนั้น แกนวิชายังอยู่ในความทรงจำ
ถูกบังคับให้อ่านหนังสือของ อ.ฟิลิป คอตเลอร์ edition ที่ 5
วันนี้มาอ่าน edition ที่ 15 แกนวิชาก็ยังเหมือนเดิม
แต่มายกตัวอย่างเปลี่ยนไป จาก Walmart ก็อาจจะเป็น Lazada แทน
ถ้าจะเอาแต่แกนวิธีคิด และไม่รู้จักประยุกต์กับเครื่องมือและยุคสมัยก็คงใช้ไม่ได้
แนะนำว่า ควรทำงานซักระยะหนึ่ง ให้เข้าใจปัญหาการทำงาน แล้วค่อยไปเรียน MBA
อ.ไพบูลย์ เสริม ว่านิด้ามีหลายหลักสูตร แต่จะมีหลักเปิดให้คนไม่มีประสบการณ์
คือ Regular MBA ราคาถูก ประมาณ 89,000 บาท 2 ปีจบ
เพราะเราเป็นมหาวิทยาลัยหลวง ได้รับเงินสนับสนุนจาประชาชน
มีอีกโครงการที่น่าสนใจคือ English MBA สอนเป็นภาษาอังกฤษ
ค่าเรียนเท่ากับหลักสูตรปกติ เทียบกับถ้าไปเรียนที่อังกฤษเป็นหลักล้านบาท
คุณวรวุฒิ
หลักการ MBA ไม่เปลี่ยน สอนให้เรารู้จักบริหารความเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยควบคุมได้ไม่ได้ MBA สอนให้เราบริหารปัจจัยเหล่านี้
เช่น สมัยเรียน ธุรกิจเป็นแบบโบราณ สมัยก่อนคนรวยช้า ยุค 4.0 คนรวยเร็ว
ในอดีตเรื่องแบบนี้ไม่เกิดขึ้น ใช้เวลา 20-30 ปีกว่าจะมีเงินเป็นพันล้าน
English program เป็นสิ่งที่น่าสนใจ
ในยุคนั้นที่ไม่ได้เป็นนักเรียนนอก ภาษาก็เป็นจุดอ่อนของเรา
เราสามารถสื่อสารได้ แต่ก็อาจจะไม่เพียงพอกับยุคปัจจุบัน
สมัยนี้อาจต้องเรียน 2-3 ภาษา เดินทางไปครึ่งโลกคนจีนเต็มไปหมด
ไปอเมริกาก็ต้องจ้างคนจีนเป็นพนักงานขาย เพราะคนจีนเขาไปทั่วโลก
เพิ่งกลับจากกวางโจว แลกเงินไปเพื่อจะใช้ธนบัตร แต่ไม่มีโอกาสได้ใช้
เพราะทุกอย่างจ่ายเงินด้วย mobile แม้กระทั่งจะซื้อชานมไข่มุก
เป็นเรื่องที่จีนก้าวหน้าไปกว่ายุโรปหรืออเมริกาเสียอีก
MBA ไม่เคยล้าสมัย แต่คนเรียนต้องเข้าใจวิชาจริงๆ
ส่วนตัวเรียนจบมากว่าจะเข้าใจจริงๆ ต้องทำงานไปแล้ว 5-6 ปี
จึงเข้าใจว่าต้องประยุกต์ใช้อย่างไร
การเอาไปประยุกต์ใช้ยากกว่าการเรียน MBA หลายเท่า
ถ้าใครเรียน MBA แล้วประยุกต์ใช้ไม่เป็น เรียนแล้วเสียของ
หลายๆวิชามันเชื่อมโยงกับหมด เพียงแต่จะวิเคราะห์ออกไหม แล้วจะใช้งานอย่างไร
อาจารย์หลายๆท่านที่นิด้า เรารู้สึกว่าพลาดเรียนไม่ได้
เช่น อ.ไพบูลย์ ทุกๆครั้งที่เข้าเรียนกับอ.ไพบูลย์ ถ้าเราพลาดจะรู้สึกขาดทุนมาก
เพราะเราหาแนวคิดแบบนี้ หรือความรู้แบบนี้ไม่ได้
เป็นสิ่งที่คิดว่านิด้ามีอาจารย์มีบุคคลากรที่สุดยอดอยู่แล้ว
ช่วงที่เรียน MBA มีออนไลน์แล้วแต่ยังไม่เป็นที่นิยม
แต่เพราะการเรียน MBA ทำให้เขียนแผนธุรกิจเรื่อง MBA
และทำให้ทำธุรกิจออนไลน์ตั้งแต่ปี 1999
ถือว่าเร็วมาก เพราะการเรียน MBA ทำให้สนใจ ทำให้รู้ว่า e-commerce จะมาในอนาคต
เช่น Office mate เป็นธุรกิจที่ขึ้นกับ online และ catalog
แต่ช่วงนั้นบุกด้วย catalog เพราะยุคนั้นอินเตอร์เน็ทยังไม่ได้เป็นที่นิยม
เวลาต่ออินเตอร์เน็ทต้องต่อด้วยโมเด็ม โหลดภาพใช้เวลาหลายนาที
เรามองว่ายังไม่ถึงเวลา แต่ต้องทำล่วงหน้า เป็นการทำก่อนเวลา 5-6 ปีขึ้นไป
ช่วงแรกที่ทำไม่ได้หวังยอดขาย แต่เรียนรู้พฤติกรรมผู้บริโภค
ก่อนจะทำธุรกิจออนไลน์ ต้องฝึกเป็นลูกค้าก่อน
ช่วงนั้นสั่งสินค้าออนไลน์ ทั่วโลกเลย ได้รับอีเมล์ตอบมาว่าคุณเป็นลูกค้าคนแรกของเอเชีย
เราได้ learning ว่า communication สำคัญ trust สำคัญ ในธุรกิจออนไลน์
ถ้าไม่ได้ลองทำเราจะไม่รู้ ความรู้ที่เรียนมาถ้าไม่ทำจะไม่เห็นภาพจริง
เรียน MBA เหมือนได้ลายแทงขุมทรัพย์ แต่ไม่ได้ออกเดินทาง จะไม่รู้ขึ้นเหนือเลี้ยวซ้ายจะเจออะไร
บางทีก็ต้องรู้จักเดินอ้อมเพื่อให้ถึงจุดหมายเหมือนในลายแทง
สุดท้ายเรียนไปจะเจออะไร แต่เจอหรือแก้ปัญหาอย่างไร ต้องทำด้วยตัวเอง
แล้วเอาวิชามาประยุกต์ใช้ จึงจะเข้าใจได้ลึกซึ้งจริงๆ
คุณชิงชัย
เรียนจบวิศวกรรมศาสตร์จาก ม.เกษตร
ก่อนมาเข้านิด้า เป็นพ.ฝ่ายประเมินราคา ที่บ.บ้านจัดสรร
ลาออกจากงานมาเรียน นิด้า เสาร์-อาทิตย์ และตั้งบริษัทไปด้วย
เป็นบริษัทนายหน้าหาคนไข้ที่มีบุตรยาก หาลูกค้าป้อนคลินิค
ปัจจุบัน Embryo planet เราให้บริการสถานพยาบาลชื่อ สยามเฟอร์ทิลิตี้คลินิค
เป็นการทำลูกให้กับคนที่มีลูกยาก การอุ้มบุญเป็นสิ่งที่ผิดกฏหมายไทย
แต่ของเรา ถ้าอยากมีลูกต้องเอาเทคโนโลยีเพิ่ม เอาไข่กับสเปิร์มมาผสมข้างนอก
แนวคิดจาก MBA สอนให้รู้จักจัดการบุคลากร จัดการเงิน จัดการการดำเนินการ
มีเงินทุนต้องจัดสรรอย่างไร อุปกรณ์ไหนต้องซื้อ ตัวไหนจะทำกำไรให้เรา
คิดว่าคุ้มค่าที่จะเรียน
แก่นของ MBA ยังคล้ายเดิม แต่โลกปัจจุบันเปลี่ยนไปเร็วขึ้น
ต้องรับรู้ให้เร็วขึ้น และตัดสินใจให้เร็วขึ้น ถ้ารับรู้ช้า ก็จะช้ากว่าคู่แข่ง
ดร.นิเวศน์
มองย้อนหลังไป โปรแกรมนี้น่าจะเป็น MBB คือ Master Business Battle
เพราะเราเรียนทั้ง MBA การตลาด การเงิน แล้วก็มาพบความจริงว่าเราเรียนเบสิค
สงครามธรรมดา เราจะรู้ว่ามี กระสุน รถถัง เครื่องบิน เราจะรู้ว่าทรัพยากรทางธุรกิจมีอะไร
แต่ละอย่างใช้ทำอะไร เครื่องบินต้องบุกไปทิ้งระเบิด แต่ไปยึดไม่ได้
บอกว่าการบริหารกระสุนต้องทำอะไร ทำให้เราได้รู้
แต่ถ้าเราผ่านชีวิตเยอะ ล้มเหลวเยอะ ก็จะรู้ว่าเราขาดอะไร
เคยทำธุรกิจไปปลูกเห็ด ออกมากลายเป็นรา
เคยเลี้ยงลูกน้ำกะจะรวยเพราะเราไม่มีสถานที่ก็ไปใช้เล้าหมูของเพื่อนเลี้ยง
ปรากฏออกมาเป็นยุงบางตัวเกิดเร็วไปกัดหมู โดนพ่อเพื่อนมาไล่อีก
พอมาเลือกหุ้นเราก็จะรู้ว่าทำแบบไหนเจ๊ง
MBA เป็นเหมือนเสนาธิการสอนเราว่าจะรบอย่างไร
อังกฤษเข้าสงครามทีแรกจะแพ้ประจำ แต่ที่เก่งคือกองทัพเรือ
ดังนั้นเวลาเกิดสงครามก็จะเอาเรือแล่นไปปิดไว้ก่อน
สงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นสงครามสนามเพลาะ(ขุดหลุมยิงต่อสู้)
แต่พอสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นรถถัง ไม่มีใครทำสนามเพลาะแล้วไม่มีประโยชน์
ธุรกิจก็เหมือนกัน สมัยนี้พอมี social ธุรกิจเล็กๆก็แข่งขันได้
ที่แขกรับเชิญพูดทุกท่านถูก เบสิคธุรกิจเหมือนเดิม แต่อาวุธเปลี่ยน
สมัยก่อนบริษัทเล็กๆไม่มีทางเกิด โฆษณาไม่ได้ไม่มีเงิน
สมัยนี้ไม่ต้องลงทุนมาก สื่อออกไปได้มากแพร่หลาย เช่น ไหทองคำ มีคนมาช่วยโฆษณาเพียบ
ยุคนี้ธุรกิจเล็กๆก็กินธุรกิจใหญ่ได้ ขนาด Walmart ยังเหนื่อย
ถ้าเข้าโรงเรียน MBA แบบนิด้า ก็จะสอนครอบคลุมหมด
มี case study เป็นบทเรียนให้
สรุปคือ คุ้มค่าที่จะต้องเรียน MBA แต่อยากปรับ concept เป็น MBB
คือ Battle นอกจากไปทำธุรกิจได้ ไปเลือกหุ้นลงทุนได้ด้วย
(อย่างการศึกษาพวกประวัติศาสตร์การรบ กลยุทธ์การต่อสู้ เพื่อให้สุดท้ายแล้วบรรลุเป้าหมาย)
อ.ไพบูลย์เสริม ระยะหลังโรงเรียนบริหารธุรกิจ โดยเฉพาะนิด้า
เราเน้นการประสาน ไม่รบ ประสานประโยชน์ ประสานทำอะไรด้วยกัน
ไม่ได้คิดว่าจะทำธุรกิจต้องไปทำลายคู่แข่ง แต่โตไปด้วยกัน
อีกอย่างคือ ทำแล้วสังคมได้อะไร ทำประโยชน์ให้ส่วนรวมได้อย่างไร
ถ้าตายแล้วไปพูดกับยมบาลได้ ไม่ตกนรก ไม่ได้เป็นการรบแล้ว
จากเดิมที่เป็น maximization เป็น optimization
ให้ win-win ช่วยกันเพื่อให้เจริญขึ้น
โรงเรียนบริหารธุรกิจที่ดีอื่นๆก็จะสอนแนวนี้
อย่างการ assignment ที่เราทำก็ให้นักศึกษาจับกลุ่มกัน คนที่เก่งสุด
ต้องช่วยคนแย่สุดให้สอบผ่านด้วย ให้ทำงานเป็น case เป็นกลุ่ม
บางคนก็ทำงานมากกว่าน้อยกว่า ซึ่งเป็นชีวิตจริง
คุณวรวุฒิ
สมัยที่เรียน ทำ case กันเยอะ แต่คิดว่ายุคหน้าต้องทำเป็นเกมธุรกิจ
ให้เรามองภาพกว้าง ภาพใหญ่ และได้ลงมือทำจริง
Case เป็นการ discuss กันเฉยๆ แต่ เกมจะต้องให้เราได้ action
และข้างหน้าต้องเข้าใจ e-business ด้วย มี 4 แกนหลัก
1. E-commerce หรือ e-trading
2. E-finance, e-money,e-wallet fintech
3. E-logistics จะเป็นส่วนที่ทวีความสำคัญ
4. E-data เป็นโลกที่มีข้อมูลมาจาก 3 e แรก รวมถึง big data, ai, iot
มันจะเก่งถึงขนาดที่วิเคราะห์และพัฒนาสมองตัวเองด้วย
การทำงานในข่างหน้าการประสานต่งาวัฒนธรรมสำคัญมาก
อย่างไปทำงานกับเวียดนาม คิดไม่เหมือนกัน
คนเวียดนามจะทำงานภายใต้ contract ที่ชัดเจน อะไรที่ไม่ได้ระบุไว้ไม่ทำ
เขาอยู่ในสภาพแวดล้อมที่อะไรผิดตามกฏหมาย ชีวิตเขาเปลี่ยนรุนแรง
เป็นเรื่องที่ MBA ยุคหน้าต้องเข้าใจอย่างลึกซึ้ง
อ.เสน่ห์ เสนอข้อมูลจาก World economics forum
กลุ่มงานที่ติดลบ ได้แก่
Office & admin, manufacturing&production,
,art design entertainment sport &media แต่ไม่ท่ากับสองกลุ่มแรก
, Farming, fishing & forestry,
Management ผู้บริหารต้องลดลง ต่อไปก็เป็นหุ่นยนต์ ai
Business legal & finance ตรงกับที่คุณวรวุมิบอก เป็นระบบที่ไม่ใช่คน
Education&training,
Installation&maintenance จะใช้น้อยลง Machine มันสามารถเรียนรู้ ซ่อมตัวเอง
กลุ่มที่ยังอยู่ sales&related อาชีพด้านการขาย, Archtechture&engineering,
Computer mathematical& science, Transportation&logistics ตรงกับที่คุณวรวุฒิพูดอีก
ถามว่า MBA 4.0 เข้ากับ trend เหล่านี้ไหม?
ดร.วิพุธ มันเข้ากับ trend ที่มันจะเล็กลง แต่ smart ขึ้น
เราต้องเตรียมความพร้อมนักศึกษาให้ทำงานและเรียนรู้ได้เร็ว upgrade ได้เร็ว
อย่าง business simulation game ที่นิด้าก็ใช้อยู่แล้ว
เครื่องมือ big data , digital ทำให้คนได้เรียนรู้เร็วขึ้น,
นิด้า เป็นสถาบันที่ตั้งเพื่อสอนนักบริหาร
ปรัชญา เราไม่ได้สอนให้บริหารเพื่อผลประโยชน์ตัวเอง
เราชื่อ พัฒนบริหารศาสตร์ คือศาสตร์ด้านการบริหารเพื่อพัฒนา
สอนให้บริหารองค์กรเพื่อพัฒนา และนอกเหนือจากการเติบโตในองค์กรธุรกิจของเรา
เราสอนให้องค์กรธุรกิจมีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ
นิด้าเป็นมหาวิยาลัยหลวง ก่อตั้งเมื่อ 51 ปีก่อน
เรามีการรับรองมาตรฐาน AACSB เป็นองค์กรที่ตั้งเกือบร้อยปีแล้ว
รับรองมหาวิยาลัยที่สอนธุรกิจทั่วโลก นักศึกษาที่จบจากเราไม่ได้ทำงานแค่เมืองไทย
ซึ่ง AACSB เป็นการรับรองระดับโลก จะทำให้เข้าสู่ตลาดงานในภูมิภาคได้ง่ายขึ้น
ในเมืองไทยมี 4 แห่งที่ได้รับรอง นิด้า,ศศินทร์,จุฬาฯ,ธรรมศาสตร์
นอกจากนี้ นิด้า มีปริญญาเอก 1 โครงการ จบยาก
มีโครงการสำหรับนักการเงินโดยเฉพาะ FIRM เป็นระดับปริญญาโท
เป็น Partner กับ สมาคม CFA เป็นหลักสูตรที่คนเรียนใช้เนื้อหา CFA
สามารถสอบ CFA และ FRM ได้เลย
FRM คือการบริหารความเสี่ยงการเงิน ก็มีนิด้าที่เดียว
หลักสูตรเรียน 1 ปีครึ่ง เป็นภาษาอังกฤษ
คุณวรวุฒิ
MBA เป็นวิชาที่ขึ้นกับแต่ละบุคคล เรียนเหมือนกันได้ไม่เท่ากัน
MBA ที่ต่างประเทศจะได้เปรียบตรงความเป็นสากลด้านการสื่อสารและภาษา
ตัวอย่าง เมื่อ 2 สัปดาห์ก่อน ได้ไปดูงานที่มหาลัยสิงคโปร์ ซึ่งเป็นศูนย์บ่มเพาะ startup ด้วย
สิ่งที่เขามองเมื่อ 20 ปีว่าอนาคตของสิงคโปร์สิ่งที่เขาจะทำได้คือ startup technology
จึง บ่มเพาะ startup ที่มหาวิทยาลัยจะมี campus, co-working space
มี startup รวมตัวกับ 2-3 พันรายทั้งเรียนทั้งทำงานและฝึกไปด้วยกัน
เป็นสิ่งที่มหาวิทยาลัยในเมืองไทยยังขาด เราสอน แต่ยังไม่ได้ใช้และเรียนไปด้วย
เสนอว่านิด้าน่าจัดทำโครงการลักษณะนี้
% ประสบความสำเร็จของ startup เขาสูงถึง 30% ต่างกับ startup เมืองไทยมาก
สิ่งที่สังเกตอีกอย่าง คือ 1 บริษัทของ startup สิงคโปร์ มีคนหลายชาติรวมกัน
อยากให้นิด้ามีนักศึกษาหลายชาติมาเรียนรวมกัน และมารวมกันตั้งบริษัท
ในอนาคตจะเหลือบริษัทใหญ่กับเล็ก บริษัท size กลางจะลดน้อยลง
การบ่มเพาะธุรกิจเมืองไทยยังไม่เห็นรูปแบบนี้ชัด
ถ้าเลือกได้จะส่งลูกไปเรียน MBA เมืองนอก หรือเมืองไทย?
คุณยงยุทธ
อยู่ที่เงื่อนไขกับความพอใจ อย่างลูกคนโตส่งไปเรียนเมืองนอก
แต่ลูกคนเล็ก ไม่อยากไปไกล ก็ไปเรียนที่นิด้า
ที่บริษัทรับคนจบ MBA มาหลายสถาบัน
นิด้าสอนคนให้มีคุณภาพไว้วางใจได้ในการทำงาน
มีอย่างเดียวที่เป็นจุดอ่อน เป็นคนเก่งเข้ามาอยู่ไม่ทน
สมัยนี้อยากรวยเร็ว 2 ปีต้องเปลี่ยนงาน 3 ครั้ง ถึงจะเงินเดือนหลักแสนเร็วขึ้น
คนรุ่นใหม่ไม่ค่อยอดทน อยากรวยทางลัด เลี้ยงใจได้ยาก
11 ปีก่อนมองทิศทางบริหารสื่อว่าต้องไปออนไลน์
จึงไปไปJV กับบริษัทออนไลน์ในสิงคโปร์
เข้าไปบริหารเวบไซต์ให้บริษัทในตลาดหลักทรัพย์กว่า 250 บริษัท
ปรากฏว่าเด็กไทยสามารถทำ performance เมืองไทย ได้มากกว่า กำไรมาเลเซียรวมกับสิงคโปร์
เห็นได้ว่า วิธีคิด ความมุ่งมั่นในการทำงาน เขาไม่ได้แพ้คนอื่น
สิ่งที่จะลำบากจากนี้ไปคือ เด็กไทยกลัวภาษาอังกฤษ
อ.ไพบูลย์ เสริม วิชาการที่นิด้า เชื่อว่าเราไม่แพ้ใคร อาจารย์เราก็ไม่แพ้ใคร
มีอาจารย์คนไทยที่จาก Walton, MIT, Cambridge, Texas,
Illinois, Indiana, Michigan และ สมัยนี้ เครื่องมือ, facility อะไรก็ดีมากเพิ่งลงทุนไป 70 ล้าน
ใครควรเรียน MBA?
ดร.นิเวศน์ มีประโยชน์กับคนที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ การบริหารหน่วยงานต่างๆ
หน่วยงานที่ต้องพัฒนา ให้โดดเด่น เช่น ทำวงดนตรี ถ้ารู้ MBA ก็จะทำได้โดดเด่นกว่าคนอื่น
ถ้าอยากเรียนนิด้าต้องทำอย่างไร?
ดร.วิพุธ มีในเวบไซต์ Nida.ac.th
ถ้าจะของคณะ MBA คือ Mba.nida.ac.th สามารถ รับสมัครออนไลน์ได้
รวมถึงมี application นิด้า สามารถติดต่อ ลงทะเบียน ดูเกรด จ่ายเงินได้
ดร.ไพบูลย์ ปิดท้าย
ไม่จำเป็นว่าทุกคนต้องเรียน MBA
บางคนอาจเหมาะกับวิชาชีพ บางคนอาจจะเหมาะกับการทำอย่างอื่นโดยไม่ต้องเรียนหนังสือ
แต่ถ้าจะเรียน mba เรียนเมืองไทย เรียนสถาบันที่มี AACSB รับรอง ต้องนึกถึงนิด้า
ขอขอบพระคุณอ.ไพบูลย์ อ.เสน่ห์ อ.นิเวศน์ และแขกรับเชิญทุกท่าน
ขอบคุณสปอนเซอร์และผู้ช่วยจัดงาน money talk ทุกท่านครับ
Moneytalk@SETครั้งต่อไป เสาร์ 16 กันยายน 2560
หัวข้อ 1 ลงทุนเวียดนาม (อยู่ระหว่างตั้งชื่อหัวข้อ)
แขกรับเชิญ ดร.นิเวศน์, คุณกัลชุญา ศุขเทวา, Fund manager จากเวียดนาม,คุณเกษม,คุณวิน พรหมแพทย์
อ.ไพบูลย์, อ.เสน่ห์ ดำเนินรายการ
หัวข้อ 2 เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับการลงทุนต่างประเทศ
เปิดจองวันเสาร์ที่ 9 กันยายน และติดตามรายละเอียดได้ทาง Facebook Money talk
เสาร์ที่ 19 สิงหาคม 2560
เป็นสัมมนาพิเศษจัดเต็มวัน มีภาคเช้าและบ่าย
ผมเข้าร่วม fb live ในช่วงบ่าย พอดีช่วงที่ 2 ระบบมีการขัดข้องหน่อยเลยดูไม่ต่อเนื่อง
ขอสรุปภาคบ่าย ช่วงที่ 1 ก่อนครับ
ช่วงที่ 1 สัมมนาหัวข้อ “เปิดประตู MBA 4.0 ประตูสู่อนาคตอย่างมืออาชีพ"
1. คุณ วรวุฒิ อุ่นใจ / กรรมการผู้จัดการ COL
2. คุณ ยงยุทธ์ ฟูพงศ์ศิริพันธ์ / CEO MT Multimedia
3. ดร.วิพุธ อ่องสกุล / คณบดีคณะบริหารธุรกิจ นิด้า
4. คุณ ชิงชัย รัตนะจิตร / กรรมการผู้จัดการ บจก. เอ็มบริโอ แพลนเนท
5. ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร / ผู้เชี่ยวชาญการลงทุน
ดร.ไพบูลย์ เสรีวิวัฒนา และ อ.เสน่ห์ ศรีสุวรรณ ดำเนินรายการ
MBA 4.0 มีวิวัฒนาการอย่างไร?
ดร.วิพุธ สิ่งที่เปลี่ยนแปลงคือการเรียนรู้ของมนุษย์เปลี่ยน
1.0 ฟังทางเดียว คนเรียนรับฟังอาจารย์
2.0 เริ่มมี participation เรียนรู้ลูกศิษย์กับอาจารย์
3.0 เริ่มเรียนรู้จากเพื่อน เรียนผ่าน case study มีงานกลุ่มแต่ยังอยู่ในห้องเรียน
4.0 สามารถเรียนรู้นอกห้องเรียน จากแหล่งข้อมูลอื่น ทำให้เปลี่ยนวิธีการเรียนรู้
ดังนั้น MBA 4.0 ต้องเปลี่ยนวิธีการเรียนรู้ให้เหมาะสม
ใช้ Digital เข้ามาเสริม ทำให้เรียนรู้ได้เร็วขึ้นจากวิธีการที่เปลี่ยน
ทำให้ประสบความสำเร็จได้เร็วขึ้น
คนยุคใหม่ประสบความสำเร็จเร็วกว่าคนยุคเก่าเพราะอัตราคนเรียนรู้เร็วกว่า
อ.เสน่ห์ เสนอข้อมูลจาก world economic forum
Top 10 skill ที่สำคัญในยุค industry 4.0
1) Complex problem solving แก้ปัญหาที่ซับซ้อน
2) Critical thinking คิดอย่างมีวิจารณญาณ
3) Creativity คิดสร้างสรรค์
4) People management บริหารคนได้ดี
5) Coordinate with other ประสานงานกับคนอื่นได้
6) EQ ฉลาดทางอารมณ์
7) Judgement & Decision making คิดพิจารณาตัดสินใจ
8) Service orientation มีหัวใจบริหาร
9) Negotiation การต่อรอง
10) Cognitive flexibility สามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ๆได้ตลอด
สิ่งเหล่านี้ครอบคลุมอยู่ใน MBA ยุคใหม่ไหม?
ดร.วิพุธ เราสอนทักษะการเรียนรู้ การตัดสินใจ การมองโลก มองปัญหา
เป็นทักษะคนยุคใหม่ ที่ต้องมีปฏิสัมพันธ์กันคน ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญที่ทำให้ประสบความสำเร็จ
เรามีการให้ทำงานกลุ่ม มีให้งานกดดันจำนวนมากเพื่อให้มาร่วมกันให้เสร็จ(collaboration)
Skill การเรียนรู้ผ่านการร่วมมือน่าสนใจมาก
วิวัฒนาการมนุษย์อยู่รอดมาได้เพราะเรามีการร่วมมือกัน เราไม่ได้แข็งแรงที่สุด ฉลาดสุด
ทั้งที่ในอดีตมีลิงอีกพันธ์ที่นิ้วพับได้เหมือนคน ฉลาดกว่า แข็งแรงกว่า
การไปล่าช้างล่าสัตว์ก็ไปเป็นหมู่ ทำให้เรารอดมาได้
Key word คือ การร่วมมือ และเป็นสิ่งที่ออกแบบในหลักสูตรอยู่แล้ว
MBA ที่เรียนมา ยังใช้ได้หรือเปล่า?
คุณยงยุทธ์
เข้าเรียนปี 2522 ช่วงนั้นยังไม่มี hardware อะไรมาก คอมพิวเตอร์ยังเป็นเมนเฟรม
แต่ software ยุคนั้นเจ๋ง มีโอกาสได้เรียนกับ อาจารย์ดีๆหลายท่าน
อ.มารวย ผดุงสิทธิ์ ดร.ทนง พิทยะ, ดร.อัศวิน จินตกานนท์, ดร.วีรวัฒน์ กาญจนดุล
เป็นระดับปรมาจารย์ คิดว่าผ่านมา 35 ปี แก่นวิชาการวิเคราะห์ไม่ได้เปลี่ยนไป
เรียนจบป.ตรีมาจาก สงขลา แล้วมาเรียนโทเข้านิด้าเลย จบได้เกียรตินิยมด้วย
แต่รู้สึกไม่ได้อะไรเลย เพราะไม่เคยทำงานมาก่อน
มันค่อยๆมาได้ตอนที่ทำงาน และค่อยๆดึงมาใช้ สิ่งต่างๆมันผสมผสาน
ส่วนหนึ่ง บอกได้ว่ามีวันนี้เพราะนิด้า
นิด้า สอนให้เราคิดเป็น และปรมาจารย์ที่สอนเรายุคนั้น แกนวิชายังอยู่ในความทรงจำ
ถูกบังคับให้อ่านหนังสือของ อ.ฟิลิป คอตเลอร์ edition ที่ 5
วันนี้มาอ่าน edition ที่ 15 แกนวิชาก็ยังเหมือนเดิม
แต่มายกตัวอย่างเปลี่ยนไป จาก Walmart ก็อาจจะเป็น Lazada แทน
ถ้าจะเอาแต่แกนวิธีคิด และไม่รู้จักประยุกต์กับเครื่องมือและยุคสมัยก็คงใช้ไม่ได้
แนะนำว่า ควรทำงานซักระยะหนึ่ง ให้เข้าใจปัญหาการทำงาน แล้วค่อยไปเรียน MBA
อ.ไพบูลย์ เสริม ว่านิด้ามีหลายหลักสูตร แต่จะมีหลักเปิดให้คนไม่มีประสบการณ์
คือ Regular MBA ราคาถูก ประมาณ 89,000 บาท 2 ปีจบ
เพราะเราเป็นมหาวิทยาลัยหลวง ได้รับเงินสนับสนุนจาประชาชน
มีอีกโครงการที่น่าสนใจคือ English MBA สอนเป็นภาษาอังกฤษ
ค่าเรียนเท่ากับหลักสูตรปกติ เทียบกับถ้าไปเรียนที่อังกฤษเป็นหลักล้านบาท
คุณวรวุฒิ
หลักการ MBA ไม่เปลี่ยน สอนให้เรารู้จักบริหารความเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยควบคุมได้ไม่ได้ MBA สอนให้เราบริหารปัจจัยเหล่านี้
เช่น สมัยเรียน ธุรกิจเป็นแบบโบราณ สมัยก่อนคนรวยช้า ยุค 4.0 คนรวยเร็ว
ในอดีตเรื่องแบบนี้ไม่เกิดขึ้น ใช้เวลา 20-30 ปีกว่าจะมีเงินเป็นพันล้าน
English program เป็นสิ่งที่น่าสนใจ
ในยุคนั้นที่ไม่ได้เป็นนักเรียนนอก ภาษาก็เป็นจุดอ่อนของเรา
เราสามารถสื่อสารได้ แต่ก็อาจจะไม่เพียงพอกับยุคปัจจุบัน
สมัยนี้อาจต้องเรียน 2-3 ภาษา เดินทางไปครึ่งโลกคนจีนเต็มไปหมด
ไปอเมริกาก็ต้องจ้างคนจีนเป็นพนักงานขาย เพราะคนจีนเขาไปทั่วโลก
เพิ่งกลับจากกวางโจว แลกเงินไปเพื่อจะใช้ธนบัตร แต่ไม่มีโอกาสได้ใช้
เพราะทุกอย่างจ่ายเงินด้วย mobile แม้กระทั่งจะซื้อชานมไข่มุก
เป็นเรื่องที่จีนก้าวหน้าไปกว่ายุโรปหรืออเมริกาเสียอีก
MBA ไม่เคยล้าสมัย แต่คนเรียนต้องเข้าใจวิชาจริงๆ
ส่วนตัวเรียนจบมากว่าจะเข้าใจจริงๆ ต้องทำงานไปแล้ว 5-6 ปี
จึงเข้าใจว่าต้องประยุกต์ใช้อย่างไร
การเอาไปประยุกต์ใช้ยากกว่าการเรียน MBA หลายเท่า
ถ้าใครเรียน MBA แล้วประยุกต์ใช้ไม่เป็น เรียนแล้วเสียของ
หลายๆวิชามันเชื่อมโยงกับหมด เพียงแต่จะวิเคราะห์ออกไหม แล้วจะใช้งานอย่างไร
อาจารย์หลายๆท่านที่นิด้า เรารู้สึกว่าพลาดเรียนไม่ได้
เช่น อ.ไพบูลย์ ทุกๆครั้งที่เข้าเรียนกับอ.ไพบูลย์ ถ้าเราพลาดจะรู้สึกขาดทุนมาก
เพราะเราหาแนวคิดแบบนี้ หรือความรู้แบบนี้ไม่ได้
เป็นสิ่งที่คิดว่านิด้ามีอาจารย์มีบุคคลากรที่สุดยอดอยู่แล้ว
ช่วงที่เรียน MBA มีออนไลน์แล้วแต่ยังไม่เป็นที่นิยม
แต่เพราะการเรียน MBA ทำให้เขียนแผนธุรกิจเรื่อง MBA
และทำให้ทำธุรกิจออนไลน์ตั้งแต่ปี 1999
ถือว่าเร็วมาก เพราะการเรียน MBA ทำให้สนใจ ทำให้รู้ว่า e-commerce จะมาในอนาคต
เช่น Office mate เป็นธุรกิจที่ขึ้นกับ online และ catalog
แต่ช่วงนั้นบุกด้วย catalog เพราะยุคนั้นอินเตอร์เน็ทยังไม่ได้เป็นที่นิยม
เวลาต่ออินเตอร์เน็ทต้องต่อด้วยโมเด็ม โหลดภาพใช้เวลาหลายนาที
เรามองว่ายังไม่ถึงเวลา แต่ต้องทำล่วงหน้า เป็นการทำก่อนเวลา 5-6 ปีขึ้นไป
ช่วงแรกที่ทำไม่ได้หวังยอดขาย แต่เรียนรู้พฤติกรรมผู้บริโภค
ก่อนจะทำธุรกิจออนไลน์ ต้องฝึกเป็นลูกค้าก่อน
ช่วงนั้นสั่งสินค้าออนไลน์ ทั่วโลกเลย ได้รับอีเมล์ตอบมาว่าคุณเป็นลูกค้าคนแรกของเอเชีย
เราได้ learning ว่า communication สำคัญ trust สำคัญ ในธุรกิจออนไลน์
ถ้าไม่ได้ลองทำเราจะไม่รู้ ความรู้ที่เรียนมาถ้าไม่ทำจะไม่เห็นภาพจริง
เรียน MBA เหมือนได้ลายแทงขุมทรัพย์ แต่ไม่ได้ออกเดินทาง จะไม่รู้ขึ้นเหนือเลี้ยวซ้ายจะเจออะไร
บางทีก็ต้องรู้จักเดินอ้อมเพื่อให้ถึงจุดหมายเหมือนในลายแทง
สุดท้ายเรียนไปจะเจออะไร แต่เจอหรือแก้ปัญหาอย่างไร ต้องทำด้วยตัวเอง
แล้วเอาวิชามาประยุกต์ใช้ จึงจะเข้าใจได้ลึกซึ้งจริงๆ
คุณชิงชัย
เรียนจบวิศวกรรมศาสตร์จาก ม.เกษตร
ก่อนมาเข้านิด้า เป็นพ.ฝ่ายประเมินราคา ที่บ.บ้านจัดสรร
ลาออกจากงานมาเรียน นิด้า เสาร์-อาทิตย์ และตั้งบริษัทไปด้วย
เป็นบริษัทนายหน้าหาคนไข้ที่มีบุตรยาก หาลูกค้าป้อนคลินิค
ปัจจุบัน Embryo planet เราให้บริการสถานพยาบาลชื่อ สยามเฟอร์ทิลิตี้คลินิค
เป็นการทำลูกให้กับคนที่มีลูกยาก การอุ้มบุญเป็นสิ่งที่ผิดกฏหมายไทย
แต่ของเรา ถ้าอยากมีลูกต้องเอาเทคโนโลยีเพิ่ม เอาไข่กับสเปิร์มมาผสมข้างนอก
แนวคิดจาก MBA สอนให้รู้จักจัดการบุคลากร จัดการเงิน จัดการการดำเนินการ
มีเงินทุนต้องจัดสรรอย่างไร อุปกรณ์ไหนต้องซื้อ ตัวไหนจะทำกำไรให้เรา
คิดว่าคุ้มค่าที่จะเรียน
แก่นของ MBA ยังคล้ายเดิม แต่โลกปัจจุบันเปลี่ยนไปเร็วขึ้น
ต้องรับรู้ให้เร็วขึ้น และตัดสินใจให้เร็วขึ้น ถ้ารับรู้ช้า ก็จะช้ากว่าคู่แข่ง
ดร.นิเวศน์
มองย้อนหลังไป โปรแกรมนี้น่าจะเป็น MBB คือ Master Business Battle
เพราะเราเรียนทั้ง MBA การตลาด การเงิน แล้วก็มาพบความจริงว่าเราเรียนเบสิค
สงครามธรรมดา เราจะรู้ว่ามี กระสุน รถถัง เครื่องบิน เราจะรู้ว่าทรัพยากรทางธุรกิจมีอะไร
แต่ละอย่างใช้ทำอะไร เครื่องบินต้องบุกไปทิ้งระเบิด แต่ไปยึดไม่ได้
บอกว่าการบริหารกระสุนต้องทำอะไร ทำให้เราได้รู้
แต่ถ้าเราผ่านชีวิตเยอะ ล้มเหลวเยอะ ก็จะรู้ว่าเราขาดอะไร
เคยทำธุรกิจไปปลูกเห็ด ออกมากลายเป็นรา
เคยเลี้ยงลูกน้ำกะจะรวยเพราะเราไม่มีสถานที่ก็ไปใช้เล้าหมูของเพื่อนเลี้ยง
ปรากฏออกมาเป็นยุงบางตัวเกิดเร็วไปกัดหมู โดนพ่อเพื่อนมาไล่อีก
พอมาเลือกหุ้นเราก็จะรู้ว่าทำแบบไหนเจ๊ง
MBA เป็นเหมือนเสนาธิการสอนเราว่าจะรบอย่างไร
อังกฤษเข้าสงครามทีแรกจะแพ้ประจำ แต่ที่เก่งคือกองทัพเรือ
ดังนั้นเวลาเกิดสงครามก็จะเอาเรือแล่นไปปิดไว้ก่อน
สงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นสงครามสนามเพลาะ(ขุดหลุมยิงต่อสู้)
แต่พอสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นรถถัง ไม่มีใครทำสนามเพลาะแล้วไม่มีประโยชน์
ธุรกิจก็เหมือนกัน สมัยนี้พอมี social ธุรกิจเล็กๆก็แข่งขันได้
ที่แขกรับเชิญพูดทุกท่านถูก เบสิคธุรกิจเหมือนเดิม แต่อาวุธเปลี่ยน
สมัยก่อนบริษัทเล็กๆไม่มีทางเกิด โฆษณาไม่ได้ไม่มีเงิน
สมัยนี้ไม่ต้องลงทุนมาก สื่อออกไปได้มากแพร่หลาย เช่น ไหทองคำ มีคนมาช่วยโฆษณาเพียบ
ยุคนี้ธุรกิจเล็กๆก็กินธุรกิจใหญ่ได้ ขนาด Walmart ยังเหนื่อย
ถ้าเข้าโรงเรียน MBA แบบนิด้า ก็จะสอนครอบคลุมหมด
มี case study เป็นบทเรียนให้
สรุปคือ คุ้มค่าที่จะต้องเรียน MBA แต่อยากปรับ concept เป็น MBB
คือ Battle นอกจากไปทำธุรกิจได้ ไปเลือกหุ้นลงทุนได้ด้วย
(อย่างการศึกษาพวกประวัติศาสตร์การรบ กลยุทธ์การต่อสู้ เพื่อให้สุดท้ายแล้วบรรลุเป้าหมาย)
อ.ไพบูลย์เสริม ระยะหลังโรงเรียนบริหารธุรกิจ โดยเฉพาะนิด้า
เราเน้นการประสาน ไม่รบ ประสานประโยชน์ ประสานทำอะไรด้วยกัน
ไม่ได้คิดว่าจะทำธุรกิจต้องไปทำลายคู่แข่ง แต่โตไปด้วยกัน
อีกอย่างคือ ทำแล้วสังคมได้อะไร ทำประโยชน์ให้ส่วนรวมได้อย่างไร
ถ้าตายแล้วไปพูดกับยมบาลได้ ไม่ตกนรก ไม่ได้เป็นการรบแล้ว
จากเดิมที่เป็น maximization เป็น optimization
ให้ win-win ช่วยกันเพื่อให้เจริญขึ้น
โรงเรียนบริหารธุรกิจที่ดีอื่นๆก็จะสอนแนวนี้
อย่างการ assignment ที่เราทำก็ให้นักศึกษาจับกลุ่มกัน คนที่เก่งสุด
ต้องช่วยคนแย่สุดให้สอบผ่านด้วย ให้ทำงานเป็น case เป็นกลุ่ม
บางคนก็ทำงานมากกว่าน้อยกว่า ซึ่งเป็นชีวิตจริง
คุณวรวุฒิ
สมัยที่เรียน ทำ case กันเยอะ แต่คิดว่ายุคหน้าต้องทำเป็นเกมธุรกิจ
ให้เรามองภาพกว้าง ภาพใหญ่ และได้ลงมือทำจริง
Case เป็นการ discuss กันเฉยๆ แต่ เกมจะต้องให้เราได้ action
และข้างหน้าต้องเข้าใจ e-business ด้วย มี 4 แกนหลัก
1. E-commerce หรือ e-trading
2. E-finance, e-money,e-wallet fintech
3. E-logistics จะเป็นส่วนที่ทวีความสำคัญ
4. E-data เป็นโลกที่มีข้อมูลมาจาก 3 e แรก รวมถึง big data, ai, iot
มันจะเก่งถึงขนาดที่วิเคราะห์และพัฒนาสมองตัวเองด้วย
การทำงานในข่างหน้าการประสานต่งาวัฒนธรรมสำคัญมาก
อย่างไปทำงานกับเวียดนาม คิดไม่เหมือนกัน
คนเวียดนามจะทำงานภายใต้ contract ที่ชัดเจน อะไรที่ไม่ได้ระบุไว้ไม่ทำ
เขาอยู่ในสภาพแวดล้อมที่อะไรผิดตามกฏหมาย ชีวิตเขาเปลี่ยนรุนแรง
เป็นเรื่องที่ MBA ยุคหน้าต้องเข้าใจอย่างลึกซึ้ง
อ.เสน่ห์ เสนอข้อมูลจาก World economics forum
กลุ่มงานที่ติดลบ ได้แก่
Office & admin, manufacturing&production,
,art design entertainment sport &media แต่ไม่ท่ากับสองกลุ่มแรก
, Farming, fishing & forestry,
Management ผู้บริหารต้องลดลง ต่อไปก็เป็นหุ่นยนต์ ai
Business legal & finance ตรงกับที่คุณวรวุมิบอก เป็นระบบที่ไม่ใช่คน
Education&training,
Installation&maintenance จะใช้น้อยลง Machine มันสามารถเรียนรู้ ซ่อมตัวเอง
กลุ่มที่ยังอยู่ sales&related อาชีพด้านการขาย, Archtechture&engineering,
Computer mathematical& science, Transportation&logistics ตรงกับที่คุณวรวุฒิพูดอีก
ถามว่า MBA 4.0 เข้ากับ trend เหล่านี้ไหม?
ดร.วิพุธ มันเข้ากับ trend ที่มันจะเล็กลง แต่ smart ขึ้น
เราต้องเตรียมความพร้อมนักศึกษาให้ทำงานและเรียนรู้ได้เร็ว upgrade ได้เร็ว
อย่าง business simulation game ที่นิด้าก็ใช้อยู่แล้ว
เครื่องมือ big data , digital ทำให้คนได้เรียนรู้เร็วขึ้น,
นิด้า เป็นสถาบันที่ตั้งเพื่อสอนนักบริหาร
ปรัชญา เราไม่ได้สอนให้บริหารเพื่อผลประโยชน์ตัวเอง
เราชื่อ พัฒนบริหารศาสตร์ คือศาสตร์ด้านการบริหารเพื่อพัฒนา
สอนให้บริหารองค์กรเพื่อพัฒนา และนอกเหนือจากการเติบโตในองค์กรธุรกิจของเรา
เราสอนให้องค์กรธุรกิจมีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ
นิด้าเป็นมหาวิยาลัยหลวง ก่อตั้งเมื่อ 51 ปีก่อน
เรามีการรับรองมาตรฐาน AACSB เป็นองค์กรที่ตั้งเกือบร้อยปีแล้ว
รับรองมหาวิยาลัยที่สอนธุรกิจทั่วโลก นักศึกษาที่จบจากเราไม่ได้ทำงานแค่เมืองไทย
ซึ่ง AACSB เป็นการรับรองระดับโลก จะทำให้เข้าสู่ตลาดงานในภูมิภาคได้ง่ายขึ้น
ในเมืองไทยมี 4 แห่งที่ได้รับรอง นิด้า,ศศินทร์,จุฬาฯ,ธรรมศาสตร์
นอกจากนี้ นิด้า มีปริญญาเอก 1 โครงการ จบยาก
มีโครงการสำหรับนักการเงินโดยเฉพาะ FIRM เป็นระดับปริญญาโท
เป็น Partner กับ สมาคม CFA เป็นหลักสูตรที่คนเรียนใช้เนื้อหา CFA
สามารถสอบ CFA และ FRM ได้เลย
FRM คือการบริหารความเสี่ยงการเงิน ก็มีนิด้าที่เดียว
หลักสูตรเรียน 1 ปีครึ่ง เป็นภาษาอังกฤษ
คุณวรวุฒิ
MBA เป็นวิชาที่ขึ้นกับแต่ละบุคคล เรียนเหมือนกันได้ไม่เท่ากัน
MBA ที่ต่างประเทศจะได้เปรียบตรงความเป็นสากลด้านการสื่อสารและภาษา
ตัวอย่าง เมื่อ 2 สัปดาห์ก่อน ได้ไปดูงานที่มหาลัยสิงคโปร์ ซึ่งเป็นศูนย์บ่มเพาะ startup ด้วย
สิ่งที่เขามองเมื่อ 20 ปีว่าอนาคตของสิงคโปร์สิ่งที่เขาจะทำได้คือ startup technology
จึง บ่มเพาะ startup ที่มหาวิทยาลัยจะมี campus, co-working space
มี startup รวมตัวกับ 2-3 พันรายทั้งเรียนทั้งทำงานและฝึกไปด้วยกัน
เป็นสิ่งที่มหาวิทยาลัยในเมืองไทยยังขาด เราสอน แต่ยังไม่ได้ใช้และเรียนไปด้วย
เสนอว่านิด้าน่าจัดทำโครงการลักษณะนี้
% ประสบความสำเร็จของ startup เขาสูงถึง 30% ต่างกับ startup เมืองไทยมาก
สิ่งที่สังเกตอีกอย่าง คือ 1 บริษัทของ startup สิงคโปร์ มีคนหลายชาติรวมกัน
อยากให้นิด้ามีนักศึกษาหลายชาติมาเรียนรวมกัน และมารวมกันตั้งบริษัท
ในอนาคตจะเหลือบริษัทใหญ่กับเล็ก บริษัท size กลางจะลดน้อยลง
การบ่มเพาะธุรกิจเมืองไทยยังไม่เห็นรูปแบบนี้ชัด
ถ้าเลือกได้จะส่งลูกไปเรียน MBA เมืองนอก หรือเมืองไทย?
คุณยงยุทธ
อยู่ที่เงื่อนไขกับความพอใจ อย่างลูกคนโตส่งไปเรียนเมืองนอก
แต่ลูกคนเล็ก ไม่อยากไปไกล ก็ไปเรียนที่นิด้า
ที่บริษัทรับคนจบ MBA มาหลายสถาบัน
นิด้าสอนคนให้มีคุณภาพไว้วางใจได้ในการทำงาน
มีอย่างเดียวที่เป็นจุดอ่อน เป็นคนเก่งเข้ามาอยู่ไม่ทน
สมัยนี้อยากรวยเร็ว 2 ปีต้องเปลี่ยนงาน 3 ครั้ง ถึงจะเงินเดือนหลักแสนเร็วขึ้น
คนรุ่นใหม่ไม่ค่อยอดทน อยากรวยทางลัด เลี้ยงใจได้ยาก
11 ปีก่อนมองทิศทางบริหารสื่อว่าต้องไปออนไลน์
จึงไปไปJV กับบริษัทออนไลน์ในสิงคโปร์
เข้าไปบริหารเวบไซต์ให้บริษัทในตลาดหลักทรัพย์กว่า 250 บริษัท
ปรากฏว่าเด็กไทยสามารถทำ performance เมืองไทย ได้มากกว่า กำไรมาเลเซียรวมกับสิงคโปร์
เห็นได้ว่า วิธีคิด ความมุ่งมั่นในการทำงาน เขาไม่ได้แพ้คนอื่น
สิ่งที่จะลำบากจากนี้ไปคือ เด็กไทยกลัวภาษาอังกฤษ
อ.ไพบูลย์ เสริม วิชาการที่นิด้า เชื่อว่าเราไม่แพ้ใคร อาจารย์เราก็ไม่แพ้ใคร
มีอาจารย์คนไทยที่จาก Walton, MIT, Cambridge, Texas,
Illinois, Indiana, Michigan และ สมัยนี้ เครื่องมือ, facility อะไรก็ดีมากเพิ่งลงทุนไป 70 ล้าน
ใครควรเรียน MBA?
ดร.นิเวศน์ มีประโยชน์กับคนที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ การบริหารหน่วยงานต่างๆ
หน่วยงานที่ต้องพัฒนา ให้โดดเด่น เช่น ทำวงดนตรี ถ้ารู้ MBA ก็จะทำได้โดดเด่นกว่าคนอื่น
ถ้าอยากเรียนนิด้าต้องทำอย่างไร?
ดร.วิพุธ มีในเวบไซต์ Nida.ac.th
ถ้าจะของคณะ MBA คือ Mba.nida.ac.th สามารถ รับสมัครออนไลน์ได้
รวมถึงมี application นิด้า สามารถติดต่อ ลงทะเบียน ดูเกรด จ่ายเงินได้
ดร.ไพบูลย์ ปิดท้าย
ไม่จำเป็นว่าทุกคนต้องเรียน MBA
บางคนอาจเหมาะกับวิชาชีพ บางคนอาจจะเหมาะกับการทำอย่างอื่นโดยไม่ต้องเรียนหนังสือ
แต่ถ้าจะเรียน mba เรียนเมืองไทย เรียนสถาบันที่มี AACSB รับรอง ต้องนึกถึงนิด้า
ขอขอบพระคุณอ.ไพบูลย์ อ.เสน่ห์ อ.นิเวศน์ และแขกรับเชิญทุกท่าน
ขอบคุณสปอนเซอร์และผู้ช่วยจัดงาน money talk ทุกท่านครับ
Moneytalk@SETครั้งต่อไป เสาร์ 16 กันยายน 2560
หัวข้อ 1 ลงทุนเวียดนาม (อยู่ระหว่างตั้งชื่อหัวข้อ)
แขกรับเชิญ ดร.นิเวศน์, คุณกัลชุญา ศุขเทวา, Fund manager จากเวียดนาม,คุณเกษม,คุณวิน พรหมแพทย์
อ.ไพบูลย์, อ.เสน่ห์ ดำเนินรายการ
หัวข้อ 2 เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับการลงทุนต่างประเทศ
เปิดจองวันเสาร์ที่ 9 กันยายน และติดตามรายละเอียดได้ทาง Facebook Money talk
Go against and stay alive.
- i-salmon
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 293
- ผู้ติดตาม: 0
Re: MoneyTalk@SET19/8/60
โพสต์ที่ 2
ช่วงสอง มีขาดตอนเป็นช่วงๆ เลยดึงมาเฉพาะที่เนื้อหาพอสรุปได้มาครับ
รายการเต็มๆ ติดตามชมได้ทางช่อง TV และ youtube ครับ
ช่วงที่2 สัมมนาหัวข้อ “New Mega Trend กับอุตสาหกรรม 4.0 และผลกระทบหุ้น"
1. คุณ เจน นำชัยศิริ / ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
2. คุณ วิวรรณ ธาราหิรัญโชติ / นักการเงินอาวุโส
3. คุณ ต่อศักด์ โชติมงคล / ผู้เชี่ยวชาญการเริ่มต้นธุรกิจใหม่
4. ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร / ผู้เชี่ยวชาญหุ้น
ดร.ไพบูลย์ เสรีวิวัฒนา และ อ.เสน่ห์ ศรีสุวรรณ ดำเนินรายการ
Megatrend หลักของโลกเป็นอย่างไร?
คุณวิวรรณ
กระแสระยะสั้นและระยะยาวใกล้เคียงกันแล้ว มันเป็นโลกดิจิตอลจึงเห็นเทรนด์มากันพรั่งพรู
1.โลกดิจิตอลมาแน่นอน ไร้พรหมแดน จะซื้อของจากที่ไหนของโลกก็ได้
ทำให้การใช้ชีวิตของคนเปลี่ยนแปลง บางคนเกิดมาเป็นประชากรโลก จะไปเรียนที่ไหนก็ได้ ไม่ต้องผูกกับประเทศหนึ่ง
2.การเข้าสู่สังคมสูงวัย คือคนอายุ 60 ปีขึ้นไป เช่น ญี่ปุ่น เกือบ 30% แล้ว
3.ปัญญาประดิษฐ์ จะทำอะไรได้มากมาย
คุณต่อศักดิ์
ได้ร่วมงานเก็บรุ่นลูกหลานเกี่ยวกับ startup
ทำเกมด้าน VR – Virtual Reality คือใส่แว่นแล้วมองเห็นเหมือนสภาพจริง
กับมีเทคโนโลยีอีกตัวเรียก AR - Augmented Reality นึกถึง โปเกมอน ลอยอยู่บนภาพปกติ
เป็นหนึ่งในสิ่งที่จะเปลี่ยนโลกได้
อย่างเช่น หมอเรียนหนังสือถ้าใส่แว่นอ่านหนังสือจะเห็นหัวใจลอยออกมาเลย
และ AR,VR เข้าไปอยู่ในการศึกษาจะทำให้เรียนรู้เร็วขึ้น 42%
ทำเกม VR Arcade จะเปิดเป็นทางการวันที่ 12 ที่ siam one
กล้องต่อไปจะเป็น VR มันสามารถเห็นภาพและคลี่เป็นแผ่นได้
ต่อไปกล้องตัวหนึ่งจะนับคนได้เลยว่ามีกี่คน การจำหน้าคนได้เป็นเรื่องปกติ
หน้าคนจะจำได้ต้องมี 18 จุด ยิ่งถ่ายได้หลายๆครั้งจะจำแม่น รุ่นใหม่ออกมาจะจำท่าเดินด้วย
แล้วคนเล่นหุ้นจะอยู่อย่างไร? อุตสาหกรรมต้องกลับไปคิดว่าเวบไซต์ถ้ายังเป็น pc base
ต้องไปเป็น mobile base ได้แล้ว และต่อไป social media ได้
อุตสาหกรรมต้องหันมามองเด็กในแบบที่เราเคยมองไม่ได้เลย
เราบอกให้เด็กทำแบบที่เราประสบความสำเร็จไม่ได้ เด็กยุคนี้บอกเราต้องทำตามเขา
อุตสาหกรรมต้องคิดใหม่ รับฟังความเห็นเขาก่อน
นั่งรับฟังเด็กๆอยู่ปีครึ่ง ทำตรงกันข้ามหมดเลย ต้องเรียนรู้วิธีบริหารจัดการ
Backup startup ที่เจ๊ง เพราะไม่มี practice มันต้องผสมผสาน ไม่ใช่ปล่อยอิสระ
Startup ที่มีบ้านเรา 100 ดี 10 รอด 1 เพราะไปตายเรื่องง่ายๆ
นักอุตสาหกรรมเก่าต้องฟัง และเข้าไปประกบ แล้วปรับให้เข้าไปด้วยกัน
คุณเจน
ต้องยอมรับว่าเทรนด์ที่มาจะทำให้อุตสาหกรรมหลายๆอย่างปิดตัวเอง
ที่เห็นตัวอย่างคนพูดถึงมาก เช่น บริษัท โกดัค อย่าง กล้องดิจิตอล เป็นคนคิดคนแรก
แต่เสนอแล้วสรุปว่าไม่น่าสนใจเท่าไร แล้วไปเน้นเรื่องฟิล์ม ทุกวันนี้คนเหลือแค่ฟิล์ม x-ray
อุตสาหกรรมจะถูกเทรนด์แบบนี้เข้ามาแทรก
มี paper ของ PWC บอกว่า 8 เทคโนโลยีที่จะส่งผลกระทบมากกับอุตสาหกรรม
3 อย่าง AI,AR,VR ที่คุณต่อศักดิ์พูดถึงแล้ว อีก 5 อย่าง
- Blockchain อาจเข้าไป disrupt วิชาชีพด้วย พวกนิติศาสตร์ ทนาย สามารถทำสัญญาอยู่บนโลกเสมือนได้
เป็นการทำข้อตกลงโดยคนอยู่บนโลก cyber เป็นพยาน
-Drone จะ disrupt หลายเรื่อง เช่นการส่งสินค้า โดยเฉพาะ last mile เช่น จากไปรษณีย์ถึงบ้าน, ยังใช้โดรนได้
ในเรื่องการถ่ายภาพ, การทำเกษตร,
-IOT internet of things ทุกอย่างติดต่อได้ในอินเตอร์เน็ท พวกมือถือ นาฬิกา ในอนาคต 5 ปีข้างหน้า
อุปกรณ์ทั้งโลกจะมี 7 หมื่นล้านชิ้น ประชากรโลก 7 พันล้านคน คนหนึ่งจะมี 10 ชิ้นโดยเฉลี่ย
เช่น ตู้เย็น ส่งข้อมูลบอกได้ว่านมจะหมดอายุแล้วซื้อใหม่ด้วย, แอร์ สามารถสั่งเปิดจากที่ไหนก็ได้
-Robotics นอกจากที่ใช้ในอุตสาหกรรม ต่อไปจะมีหุ่นยนต์ที่ดูแลผู้ป่วย ผู้สูงอายุ ทำหน้าที่ต้อนรับลูกค้า
- 3D printer เมื่อก่อนเรามี printer dot matrix -> ink jet
ต่อไปจะมี 3D printer ตามบ้าน สามารถ print ขึ้นรูปชิ้นงานที่ไม่ซับซ้อนเองที่บ้านได้
แล้วจะมีผลกระทบอุตสาหกรรมอะไร บ้าง
อุตสาหกรรมปิโตรเคมีต้นน้ำจะยังอยู่ แต่วิธีการควบคุมจะเปลี่ยนไป ใช้ดิจิตอลและคนเข้าไปเกี่ยวข้องน้อยมาก
พื้นที่อันตรายต่างๆคนไม่ต้องเข้าไปแล้ว
อุตสาหกรรมรถยนต์จะเปลี่ยนไปเยอะ เพราะเครื่องยนต์สันดาปภายในจะล้าสมัย จะเป็นพวกรถไฟฟ้า
อุตสาหกรรมอาหารยังอยู่ ระบบ automation เข้ามา อาหารจะสั่งแบบ Mass customization
ไม่ต้องซื้ออาหารกระป๋องสำเร็จ แต่เราเลือกได้แล้วมาส่งให้เรา
ตัวอย่าง มี โรงงานตัดเย็บเสื้อผ้าแห่งหนึ่ง มีวิธีการทำธุรกิจแบบใหม่ ให้เร้านตัดเสื้อในเมืองเป็นเครือข่าย
ต่อไปลูกค้าที่จะมาซื้อเสื้อ ไม่ต้องไปลองเสื้อตามร้าน แต่ให้ร้านตัดเสื้อวัดตัวแล้วตัดเสื้อ ส่งให้ถึงบ้าน
เป็นการตอบสนองความต้องการที่หลากหลาย
อีกตัวอย่างบริษัทให้บริการลิฟท์ โทรไปแจ้งตึกว่าอีก 3 วันลิฟท์จะพัง จะส่งช่างเข้าไป
เขามีการใส่เซนเซอร์ไว้ เพราะสมัยนี้ราคาถูกลง ทำได้หลากหลาย และแม่นยำขึ้น
มีการวัดอุณหภูมิและกระแสไฟฟ้าที่เข้าไป ถ้าบริษัทลิฟท์อีกแห่ง ที่รอให้เสียแล้วค่อยไปซ่อม ใครจะขายได้ดีกว่ากัน
การนำเทคโนโลยีดิจิตอลเข้ามาจับ เราเรียกอุตสาหกรรม 4.0 หุ่นยนต์นี่แค่ 3.0
ญี่ปุ่นเขาใช้คำใหม่ เรียกว่า connected industry
มี professor ท่านหนึ่ง บอกว่า อุตสาหกรรม 4.0 คือ real time enterprise
เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นรู้ทันที
เคยมีคนมานำเสนองาน ให้เปลี่ยนโรงงานเป็น 4.0
เวลานัดประชุมวันที่เท่าไร? ข้อมูลที่ใช้เวลา 45 วันกว่าจะประชุมแก้ไม่ทัน
แล้วปัญหาอีกอย่างข้อมูลนั้นผิด
ความสำคัญของข้อมูล อยากฝากนักลงทุน
ต้องดูความถูกต้อง ความทันสมัย อุตสาหกรรมต้องเล่นเรื่องนี้ เอาดิจิตอลมาจับ
สมัยก่อนขาดเทคนิคที่จะมาทำเรื่องเหล่านี้หรือมีเทคโนโลยีก็แพงมาก big data ไม่มีความหมาย
สมัยนี้ประมวลผลได้แล้ว และมีความสำคัญมากขึ้นเรื่อยๆ และมีการเสริมกัน
พอประมวลผล big data ได้ ai ก็เกิดขึ้น แล้ว vr ar ก็เกิดขึ้นตาม
ดร.นิเวศน์
ผลกระทบจาก ai สุดท้ายมนุษย์จะทำอะไร
มนุษย์อยู่เป็นหมื่นปี สมองไม่ได้พัฒนาเท่าไร
คนยุคเก่า มีสัตว์ที่อาจจะฉลาดพอๆกับมนุษย์ แต่เก่งขึ้นมาได้เพราะมีการร่วมมือกัน
ประเด็นอยู่ที่ machine ฉลาดขึ้นทุกวัน โตแบบก้าวกระโดด
มนุษย์ก็ได้ประโยชน์ เพราะใช้ machine ช่วยเราเพิ่มประสิทธิภาพ
ถึงวันหนึ่งความฉลาดของ machine ถ้ามาเท่าไรและมากกว่าเรา จะตกงานกันหมด
เพราะทำทุกอย่างได้ดีกว่าเราทั้งหมด ตำแหน่งงานต่างๆจะหายไป
แล้วพอไม่มีงานก็ไม่มีเงินมาซื้อของ แล้วจะผลิตทำไม
คุณเจน
ต้องมองแบ่งเป็นยุค ในยุคนี้ IOT, 4.0 เรากำลังจะสร้างงาน เพราะคนตกงานตั้งแต่ 3.0 มี Automation แล้ว
ยุค 4.0 จะมี อาชีพ 3 กลุ่มเกิดขึ้น
1) system integrator ต้องมีความรู้ digital, programing รู้ process การผลิต
2) คนสร้าง automation คนสร้างระบบ
3) Maintenance ต้องดูแลระบบเหล่านี้
ถัดมาในยุคที่ machine ฉลาดขึ้น คนต้องมา interface กับหุ่นยนต์ กับเครื่องจักร
ในช่วงนั้นประชากรโลกจะค่อยๆลดลงด้วย
ถัดมาในยุคที่ machine ฉลาดกว่ามนุษย์ คนต้องทำตัวให้น่ารักเหมือนสัตว์เลี้ยงมา entertain หุ่นยนต์
คุณวิวรรณ
การลงทุนในอนาคตมอง 2 อย่าง ลงทุนไปตามเทรนด์คือเข้าเร็วออกเร็ว หมดยุคก็ออก
กับอีกอย่างคือ มองยาวเลยว่าตัวไหนมีศักยภาพจะผ่านพ้นไปได้
ที่มองเป็นกลุ่มบริการ ต้องดูว่ากิจการมีอะไรที่เป็นจุดแข็งของเรา
และเมื่ออยู่ในอนาคตจะยังอยู่ได้หรือไม่
คุณต่อศักดิ์
สินค้ายุคใหม่ที่เป็นแบบ startup หรือ digital ไม่ได้โตแบบ IRR
มันไปแบบเท่าๆ อย่าง Lazada ขาดทุน แต่ Alibaba ซื้อในราคาสูงมาก
ซึ่งถ้าคิดตามบริบทเดิมจะไม่มีใครซื้อ startup
ถ้าทำ 100 ตัว เจ๊ง 90 ตัว สำเร็จ 3 ตัว รวยเละ
บริษัทขนาดใหญ่อย่างในสิงคโปร์ หรือ AIS ก็ทำเรื่องพวกนี้
อย่างกลุ่ม ช้าง ก็ทำด้านดิจิตอล ซึ่งให้เร็วสุดก็ต้อง M&A
สินค้าพวก Bitcoin โตมาก และไม่ได้มีแค่ bit coin ยังตัวอื่นเต็มไปหมด
แล้วจะเข้ามาทดแทนอะไรเต็มไปหมด และตลาดหุ้นก็จะเปลี่ยนแปลงไปด้วย
ดร.นิเวศน์
ในการลงทุนยุคนี้ต้องเพิ่มปัจจัยในการคิดอีกอย่างคือ อะไรที่จะ disrupt
ซึ่งอาจจะมาเร็วและแรงมาก หุ้นกลายเป็นแย่ได้
เช่น พวกที่เกี่ยวกับธุรกิจรถยนต์ ภายใน 10 ปี เปลี่ยนเป็นรถไฟฟ้า และพวกชิ้นส่วนอะไรก็จะเหนื่อย
คุณเจน เสริมชิ้นส่วนยานยนต์ที่จะถูก disrupt คือพวกเครื่องยนต์ เช่น ท่อไอเสีย ชัดเจน
แต่พวกล้อ ระบบกันสะเทือน สปริง โช๊คอัพ เบาะ ยังอยู่ ต้องแยกแยะ และชี้ให้ชัด
คุณวิวรรณ
ในอดีตเมื่อมี Technology disruption จะเกิดจราจล
จะเกิดความเหลื่อมล้ำระหว่างคนที่มี คนไม่มี และคนที่มีเยอะ
อย่างแอฟริกาในอนาคตจะมีประชากรเป็น 25 % ของโลก แต่ไม่มีอะไรเลย
ต้องสร้างสังคมที่ลดความเหลื่อมล้ำ โดยเฉพาะความเหลื่อมล้ำด้านโอกาส
รายการเต็มๆ ติดตามชมได้ทางช่อง TV และ youtube ครับ
ช่วงที่2 สัมมนาหัวข้อ “New Mega Trend กับอุตสาหกรรม 4.0 และผลกระทบหุ้น"
1. คุณ เจน นำชัยศิริ / ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
2. คุณ วิวรรณ ธาราหิรัญโชติ / นักการเงินอาวุโส
3. คุณ ต่อศักด์ โชติมงคล / ผู้เชี่ยวชาญการเริ่มต้นธุรกิจใหม่
4. ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร / ผู้เชี่ยวชาญหุ้น
ดร.ไพบูลย์ เสรีวิวัฒนา และ อ.เสน่ห์ ศรีสุวรรณ ดำเนินรายการ
Megatrend หลักของโลกเป็นอย่างไร?
คุณวิวรรณ
กระแสระยะสั้นและระยะยาวใกล้เคียงกันแล้ว มันเป็นโลกดิจิตอลจึงเห็นเทรนด์มากันพรั่งพรู
1.โลกดิจิตอลมาแน่นอน ไร้พรหมแดน จะซื้อของจากที่ไหนของโลกก็ได้
ทำให้การใช้ชีวิตของคนเปลี่ยนแปลง บางคนเกิดมาเป็นประชากรโลก จะไปเรียนที่ไหนก็ได้ ไม่ต้องผูกกับประเทศหนึ่ง
2.การเข้าสู่สังคมสูงวัย คือคนอายุ 60 ปีขึ้นไป เช่น ญี่ปุ่น เกือบ 30% แล้ว
3.ปัญญาประดิษฐ์ จะทำอะไรได้มากมาย
คุณต่อศักดิ์
ได้ร่วมงานเก็บรุ่นลูกหลานเกี่ยวกับ startup
ทำเกมด้าน VR – Virtual Reality คือใส่แว่นแล้วมองเห็นเหมือนสภาพจริง
กับมีเทคโนโลยีอีกตัวเรียก AR - Augmented Reality นึกถึง โปเกมอน ลอยอยู่บนภาพปกติ
เป็นหนึ่งในสิ่งที่จะเปลี่ยนโลกได้
อย่างเช่น หมอเรียนหนังสือถ้าใส่แว่นอ่านหนังสือจะเห็นหัวใจลอยออกมาเลย
และ AR,VR เข้าไปอยู่ในการศึกษาจะทำให้เรียนรู้เร็วขึ้น 42%
ทำเกม VR Arcade จะเปิดเป็นทางการวันที่ 12 ที่ siam one
กล้องต่อไปจะเป็น VR มันสามารถเห็นภาพและคลี่เป็นแผ่นได้
ต่อไปกล้องตัวหนึ่งจะนับคนได้เลยว่ามีกี่คน การจำหน้าคนได้เป็นเรื่องปกติ
หน้าคนจะจำได้ต้องมี 18 จุด ยิ่งถ่ายได้หลายๆครั้งจะจำแม่น รุ่นใหม่ออกมาจะจำท่าเดินด้วย
แล้วคนเล่นหุ้นจะอยู่อย่างไร? อุตสาหกรรมต้องกลับไปคิดว่าเวบไซต์ถ้ายังเป็น pc base
ต้องไปเป็น mobile base ได้แล้ว และต่อไป social media ได้
อุตสาหกรรมต้องหันมามองเด็กในแบบที่เราเคยมองไม่ได้เลย
เราบอกให้เด็กทำแบบที่เราประสบความสำเร็จไม่ได้ เด็กยุคนี้บอกเราต้องทำตามเขา
อุตสาหกรรมต้องคิดใหม่ รับฟังความเห็นเขาก่อน
นั่งรับฟังเด็กๆอยู่ปีครึ่ง ทำตรงกันข้ามหมดเลย ต้องเรียนรู้วิธีบริหารจัดการ
Backup startup ที่เจ๊ง เพราะไม่มี practice มันต้องผสมผสาน ไม่ใช่ปล่อยอิสระ
Startup ที่มีบ้านเรา 100 ดี 10 รอด 1 เพราะไปตายเรื่องง่ายๆ
นักอุตสาหกรรมเก่าต้องฟัง และเข้าไปประกบ แล้วปรับให้เข้าไปด้วยกัน
คุณเจน
ต้องยอมรับว่าเทรนด์ที่มาจะทำให้อุตสาหกรรมหลายๆอย่างปิดตัวเอง
ที่เห็นตัวอย่างคนพูดถึงมาก เช่น บริษัท โกดัค อย่าง กล้องดิจิตอล เป็นคนคิดคนแรก
แต่เสนอแล้วสรุปว่าไม่น่าสนใจเท่าไร แล้วไปเน้นเรื่องฟิล์ม ทุกวันนี้คนเหลือแค่ฟิล์ม x-ray
อุตสาหกรรมจะถูกเทรนด์แบบนี้เข้ามาแทรก
มี paper ของ PWC บอกว่า 8 เทคโนโลยีที่จะส่งผลกระทบมากกับอุตสาหกรรม
3 อย่าง AI,AR,VR ที่คุณต่อศักดิ์พูดถึงแล้ว อีก 5 อย่าง
- Blockchain อาจเข้าไป disrupt วิชาชีพด้วย พวกนิติศาสตร์ ทนาย สามารถทำสัญญาอยู่บนโลกเสมือนได้
เป็นการทำข้อตกลงโดยคนอยู่บนโลก cyber เป็นพยาน
-Drone จะ disrupt หลายเรื่อง เช่นการส่งสินค้า โดยเฉพาะ last mile เช่น จากไปรษณีย์ถึงบ้าน, ยังใช้โดรนได้
ในเรื่องการถ่ายภาพ, การทำเกษตร,
-IOT internet of things ทุกอย่างติดต่อได้ในอินเตอร์เน็ท พวกมือถือ นาฬิกา ในอนาคต 5 ปีข้างหน้า
อุปกรณ์ทั้งโลกจะมี 7 หมื่นล้านชิ้น ประชากรโลก 7 พันล้านคน คนหนึ่งจะมี 10 ชิ้นโดยเฉลี่ย
เช่น ตู้เย็น ส่งข้อมูลบอกได้ว่านมจะหมดอายุแล้วซื้อใหม่ด้วย, แอร์ สามารถสั่งเปิดจากที่ไหนก็ได้
-Robotics นอกจากที่ใช้ในอุตสาหกรรม ต่อไปจะมีหุ่นยนต์ที่ดูแลผู้ป่วย ผู้สูงอายุ ทำหน้าที่ต้อนรับลูกค้า
- 3D printer เมื่อก่อนเรามี printer dot matrix -> ink jet
ต่อไปจะมี 3D printer ตามบ้าน สามารถ print ขึ้นรูปชิ้นงานที่ไม่ซับซ้อนเองที่บ้านได้
แล้วจะมีผลกระทบอุตสาหกรรมอะไร บ้าง
อุตสาหกรรมปิโตรเคมีต้นน้ำจะยังอยู่ แต่วิธีการควบคุมจะเปลี่ยนไป ใช้ดิจิตอลและคนเข้าไปเกี่ยวข้องน้อยมาก
พื้นที่อันตรายต่างๆคนไม่ต้องเข้าไปแล้ว
อุตสาหกรรมรถยนต์จะเปลี่ยนไปเยอะ เพราะเครื่องยนต์สันดาปภายในจะล้าสมัย จะเป็นพวกรถไฟฟ้า
อุตสาหกรรมอาหารยังอยู่ ระบบ automation เข้ามา อาหารจะสั่งแบบ Mass customization
ไม่ต้องซื้ออาหารกระป๋องสำเร็จ แต่เราเลือกได้แล้วมาส่งให้เรา
ตัวอย่าง มี โรงงานตัดเย็บเสื้อผ้าแห่งหนึ่ง มีวิธีการทำธุรกิจแบบใหม่ ให้เร้านตัดเสื้อในเมืองเป็นเครือข่าย
ต่อไปลูกค้าที่จะมาซื้อเสื้อ ไม่ต้องไปลองเสื้อตามร้าน แต่ให้ร้านตัดเสื้อวัดตัวแล้วตัดเสื้อ ส่งให้ถึงบ้าน
เป็นการตอบสนองความต้องการที่หลากหลาย
อีกตัวอย่างบริษัทให้บริการลิฟท์ โทรไปแจ้งตึกว่าอีก 3 วันลิฟท์จะพัง จะส่งช่างเข้าไป
เขามีการใส่เซนเซอร์ไว้ เพราะสมัยนี้ราคาถูกลง ทำได้หลากหลาย และแม่นยำขึ้น
มีการวัดอุณหภูมิและกระแสไฟฟ้าที่เข้าไป ถ้าบริษัทลิฟท์อีกแห่ง ที่รอให้เสียแล้วค่อยไปซ่อม ใครจะขายได้ดีกว่ากัน
การนำเทคโนโลยีดิจิตอลเข้ามาจับ เราเรียกอุตสาหกรรม 4.0 หุ่นยนต์นี่แค่ 3.0
ญี่ปุ่นเขาใช้คำใหม่ เรียกว่า connected industry
มี professor ท่านหนึ่ง บอกว่า อุตสาหกรรม 4.0 คือ real time enterprise
เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นรู้ทันที
เคยมีคนมานำเสนองาน ให้เปลี่ยนโรงงานเป็น 4.0
เวลานัดประชุมวันที่เท่าไร? ข้อมูลที่ใช้เวลา 45 วันกว่าจะประชุมแก้ไม่ทัน
แล้วปัญหาอีกอย่างข้อมูลนั้นผิด
ความสำคัญของข้อมูล อยากฝากนักลงทุน
ต้องดูความถูกต้อง ความทันสมัย อุตสาหกรรมต้องเล่นเรื่องนี้ เอาดิจิตอลมาจับ
สมัยก่อนขาดเทคนิคที่จะมาทำเรื่องเหล่านี้หรือมีเทคโนโลยีก็แพงมาก big data ไม่มีความหมาย
สมัยนี้ประมวลผลได้แล้ว และมีความสำคัญมากขึ้นเรื่อยๆ และมีการเสริมกัน
พอประมวลผล big data ได้ ai ก็เกิดขึ้น แล้ว vr ar ก็เกิดขึ้นตาม
ดร.นิเวศน์
ผลกระทบจาก ai สุดท้ายมนุษย์จะทำอะไร
มนุษย์อยู่เป็นหมื่นปี สมองไม่ได้พัฒนาเท่าไร
คนยุคเก่า มีสัตว์ที่อาจจะฉลาดพอๆกับมนุษย์ แต่เก่งขึ้นมาได้เพราะมีการร่วมมือกัน
ประเด็นอยู่ที่ machine ฉลาดขึ้นทุกวัน โตแบบก้าวกระโดด
มนุษย์ก็ได้ประโยชน์ เพราะใช้ machine ช่วยเราเพิ่มประสิทธิภาพ
ถึงวันหนึ่งความฉลาดของ machine ถ้ามาเท่าไรและมากกว่าเรา จะตกงานกันหมด
เพราะทำทุกอย่างได้ดีกว่าเราทั้งหมด ตำแหน่งงานต่างๆจะหายไป
แล้วพอไม่มีงานก็ไม่มีเงินมาซื้อของ แล้วจะผลิตทำไม
คุณเจน
ต้องมองแบ่งเป็นยุค ในยุคนี้ IOT, 4.0 เรากำลังจะสร้างงาน เพราะคนตกงานตั้งแต่ 3.0 มี Automation แล้ว
ยุค 4.0 จะมี อาชีพ 3 กลุ่มเกิดขึ้น
1) system integrator ต้องมีความรู้ digital, programing รู้ process การผลิต
2) คนสร้าง automation คนสร้างระบบ
3) Maintenance ต้องดูแลระบบเหล่านี้
ถัดมาในยุคที่ machine ฉลาดขึ้น คนต้องมา interface กับหุ่นยนต์ กับเครื่องจักร
ในช่วงนั้นประชากรโลกจะค่อยๆลดลงด้วย
ถัดมาในยุคที่ machine ฉลาดกว่ามนุษย์ คนต้องทำตัวให้น่ารักเหมือนสัตว์เลี้ยงมา entertain หุ่นยนต์
คุณวิวรรณ
การลงทุนในอนาคตมอง 2 อย่าง ลงทุนไปตามเทรนด์คือเข้าเร็วออกเร็ว หมดยุคก็ออก
กับอีกอย่างคือ มองยาวเลยว่าตัวไหนมีศักยภาพจะผ่านพ้นไปได้
ที่มองเป็นกลุ่มบริการ ต้องดูว่ากิจการมีอะไรที่เป็นจุดแข็งของเรา
และเมื่ออยู่ในอนาคตจะยังอยู่ได้หรือไม่
คุณต่อศักดิ์
สินค้ายุคใหม่ที่เป็นแบบ startup หรือ digital ไม่ได้โตแบบ IRR
มันไปแบบเท่าๆ อย่าง Lazada ขาดทุน แต่ Alibaba ซื้อในราคาสูงมาก
ซึ่งถ้าคิดตามบริบทเดิมจะไม่มีใครซื้อ startup
ถ้าทำ 100 ตัว เจ๊ง 90 ตัว สำเร็จ 3 ตัว รวยเละ
บริษัทขนาดใหญ่อย่างในสิงคโปร์ หรือ AIS ก็ทำเรื่องพวกนี้
อย่างกลุ่ม ช้าง ก็ทำด้านดิจิตอล ซึ่งให้เร็วสุดก็ต้อง M&A
สินค้าพวก Bitcoin โตมาก และไม่ได้มีแค่ bit coin ยังตัวอื่นเต็มไปหมด
แล้วจะเข้ามาทดแทนอะไรเต็มไปหมด และตลาดหุ้นก็จะเปลี่ยนแปลงไปด้วย
ดร.นิเวศน์
ในการลงทุนยุคนี้ต้องเพิ่มปัจจัยในการคิดอีกอย่างคือ อะไรที่จะ disrupt
ซึ่งอาจจะมาเร็วและแรงมาก หุ้นกลายเป็นแย่ได้
เช่น พวกที่เกี่ยวกับธุรกิจรถยนต์ ภายใน 10 ปี เปลี่ยนเป็นรถไฟฟ้า และพวกชิ้นส่วนอะไรก็จะเหนื่อย
คุณเจน เสริมชิ้นส่วนยานยนต์ที่จะถูก disrupt คือพวกเครื่องยนต์ เช่น ท่อไอเสีย ชัดเจน
แต่พวกล้อ ระบบกันสะเทือน สปริง โช๊คอัพ เบาะ ยังอยู่ ต้องแยกแยะ และชี้ให้ชัด
คุณวิวรรณ
ในอดีตเมื่อมี Technology disruption จะเกิดจราจล
จะเกิดความเหลื่อมล้ำระหว่างคนที่มี คนไม่มี และคนที่มีเยอะ
อย่างแอฟริกาในอนาคตจะมีประชากรเป็น 25 % ของโลก แต่ไม่มีอะไรเลย
ต้องสร้างสังคมที่ลดความเหลื่อมล้ำ โดยเฉพาะความเหลื่อมล้ำด้านโอกาส
Go against and stay alive.
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 2576
- ผู้ติดตาม: 1
Re: MoneyTalk@SET19/8/60
โพสต์ที่ 3
Moneytalk exclusive by CIMB ซึ่งจัดในช่วงเช้า วันที่ 19 สิงหาคม 2560 10.00-12.00
สัมมนาหัวข้อ “ลงทุน ยุค 4.0 รุ่ง หรือ ร่วง"
และ "ฟันธงหุ้นเด่น กองทุนดัง โค้งสุดท้ายครึ่งปีหลัง"
1) คุณกุลฉัตร จันทวิมล
ผู้อำนวยการอาวุโสที่ปรึกษาการลงทุน
ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน)
2) คุณวิน พรหมแพทย์
ประธานเจ้าหน้าที่การลงทุน
บลจ.ซีไอเอ็มบี-พรินซิเพิล จำกัด
3) คุณณัฐวัฒน์ อ้นรัตน์
ผู้อำนวยการฝ่ายค้าหลักทรัพย์
บล.ซีไอเอ็มบี (ประเทศไทย)
ดร.ไพบูลย์ เสรีวิวัฒนา และ อ.เสน่ห์ ศรีสุวรรณ
เป็นผู้ดำเนินรายการ
คุณ อดิศร เสริมชัยวงศ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายธุรกิจรายย่อย ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย
กล่าวเปิดงานสัมมนาว่า การลงทุนเป็นเรื่องที่สำคัญ มีการจัดสัมมนาเรื่องลงทุนกันทุกสัปดาห์
มีสินทรัพย์ที่จะลงทุนทุกอย่าง ผู้เข้าฟังสัมมนาจะได้มุมมองใหม่ที่แตกต่างกันจากวิทยากรทุกท่าน
อยากฝาก การลงทุนไม่ใช่คัดเลือกตราสารเท่านั้น ให้มองเป้าหมายการลงทุนด้วย
การใส่ใจในเรื่องการวางเป้าหมายในการลงทุน ไม่ใช่เรื่องยาก แต่ต้องใส่ใจ
ซึ่งจะทำให้เราเห็นว่าการลงทุนของเราเหมาะสมแค่ไหน ไม่อยากให้ดูเฉพาะผลตอบแทนเท่านั้น
วันนี้สัมมนาจะพูดถึงมุมมองของตลาด หัวข้อน่าตื่นเต้น หลังจากฟังเสร็จให้ดูแผนการลงทุนด้วยว่า
เป้าหมายเราอยู่ที่ตรงไหนด้วยครับ ขอบคุณครับ
เริ่มเข้างานสัมมนา
ดร ไพบูลย์พูดถึงหัวข้อสัมมนาช่วงบ่าย
เรื่องการเรียนMBA มีคนจบMBAมาพูดให้ฟัง
หัวข้อที่สอง คุยเรื่อง Megatrend กระทบต่อเราอย่างไร
คนที่ไม่ได้มาร่วมงาน ก็สามารถชมจาก FB liveได้ครับ
Moneytalk@SET ครั้งต่อไปวันที่ 16 กย 2560
เน้นการลงทุนในต่างประเทศโดยเฉพาะ
สมัยก่อนคนไปเมืองนอก คนไปส่งต้องมอบพวงมาลัยกับคนที่ไปซึ่งใส่สูท
พอลงจากเครื่องบิน ก็ต้องถอดสูทเก็บไว้ ไม่ได้ใช้ต่อ
แต่สมัยนี้ไม่ต้องทำแบบนั้น
ดังนั้นการลงทุนในต่างประเทศเป็นเรื่องน่าสนใจ
บล CIMB จะมาพูดการลงทุนในเวียดนาม
และ ดร นิเวศน์ซึ่งลงทุนในเวียดนาม ก็มาเป็นวิทยากรด้วย
ดร นิเวศน์ลงทุนในตลาดหุ้นเวียดนามมากว่า 3 ปี หุ้นที่ลงทุน100 กว่าหลักทรัพย์
วิทยากรท่านที่สอง คุณกัญชุญา (Kanchuya Sukdheva) หรือ คุณอุ๋ม เป็น Investment bankerที่เชี่ยวชาญ
หุ้นเวียดนาม ลงทุน50%ในหุ้นเวียดนาม เคยเป็นวิทยากรสำหรับหุ้นเวียดนามมาหลายครั้ง
ท่านต่อมาคือ คุณ วิน พรหมแพทย์ ซึ่งเป็นวิทยากรครั้งนี้ก็มาพูดด้วย
คนสุดท้าย เป็นคนต่างชาติ
คุณเกษม พันธ์รัตนมาลา Head of research มาช่วยแปลและพูดในงานด้วย
อ เสน่ห์กับผมมาเป็นผู้ดำเนินรายการ
หัวข้อที่สอง การลงทุนในหุ้นต่างประเทศ เหมาะกับใคร
จองวันที่ 9 กันยายน 2560 ที่ Facebook Moneytalk
วันนี้จะคุยกันถึงเรื่อง
“ลงทุน ยุค 4.0 รุ่ง หรือ ร่วง"
และ "ฟันธงหุ้นเด่น กองทุนดัง โค้งสุดท้ายครึ่งปีหลัง"
อาจารย์เสน่ห์ เริ่มก่อน
ลงทุน 4.0 ทำให้รุ่ง หรือ โรย วิทยากรคงพูดว่าทำให้รุ่งแน่นอน
เราต้องย้ายการลงทุนจากหุ้นร่วงมาในหุ้นที่รุ่ง
บางคนลงทุนในหุ้น 1.0 เป็นหุ้นสมัยแรกที่ซื้อขายโดยใช้การเคาะกระดาน
ดร ไพบูลย์ก็ทำงานในช่วงนั้น มีการวิพากย์หุ้นด้วย ทำงานพร้อมกับรับราชการ
นี่คือที่มาของการลงทุนยุค1.0 หรือยุค Trader
ยุค 2.0 เป็นยุคของ marketing และ บริษัทหลักทรัพย์เกิดขึ้นมากมาย เริ่มมีระบบคอมพิวเตอร์
ช่วงนั้น ดร ไพบูลย์ เริ่มมาทำรายการ moneytalk
ยุคการลงทุน 3.0 เป็นยุค Online trading
เป็นช่องทางการลงทุนonline และ เริ่มการลงทุนในต่างประเทศ
ส่วนยุค 4.0 มีการใช้Robotมาลงทุนแทน และมี AI มาช่วยในการลงทุน
มีเรื่อง Big data เข้ามาด้วย ลงทุนต่างประเทศ และ คนจากต่างประเทศก็มาลงทุนในไทยด้วย
ทุกวันนี้เราพยายามเลือกTaxi แต่Taxiเลือกคนต่างประเทศแทน
อ เสน่ห์ บอกว่า การเลือกผู้โดยสาร เหมือนการเลือกหุ้น เขาจะดูว่าผู้โดยสารที่จะรับนั้นคุ้มไหม
เดี๋ยวนี้คนขับก็ดูคนเรียกด้วย เวลาหุ้นตก อย่าไปรับ เพราะไม่มีทริบให้แน่
เวลาเรียกTaxi แล้วเขาปฏิเสธ เราไม่หงุดหงิด แต่ปิดประตูไม่สนิท แล้วเขาหงุดหงิดเอง 555
แนะนำวิทยากรคนแรก
คุณวิน เคยบริหารพอร์ต 1.3 ล้านล้านบาทที่ประกันสังคม พร้อมทีมงาน 20 คน
ทำมา10กว่าปี ก่อนมาร่วมงานกับ บลจ CIMB principle
วิทยากรท่านต่อมา คุณกุลฉัตรเป็นหลานคุณอภัย จันทวิมล อดีต รมตว่าการกระทรวงศึกษาที่ควรเลียนแบบ
ท่านดำรงตำแหน่งต่อจาก หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
ท่านต่อไป ผอ บล CIMB ประเทศไทย มหาชน คุณณัฐวัฒน์ อ้นรัตน์
เริ่มเข้าเนื้อหาสัมมนา
เริ่มจากภาพใหญ่ ทิศทางของเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทย
คุณกุลฉัตร เริ่มพูดคนแรก
สภาพคล่องของโลกยังมีค่อนข้างเยอะ
เงินจากธนาคารกลางยังอัดฉีดอยู่ ยกเว้น FED ซึ่งหยุดอัดฉีดไปแล้ว
ธนาคารกลางของECB , BOJ ยังเพิ่มสภาพคล่องอยู่
เงินจะวิ่งไปหาสินทรัพย์ที่ให้ผลตอบแทนดี
สภาพคล่องใน6-12เดือนข้างหน้ายังดีอยู่ เงินวิ่งไปหาสินทรัพย์เสี่ยงคือหุ้นเหมือนเดิม
หุ้นยังไปต่อได้ในอนาคต
เราดูพื้นฐานของเศรษฐกิจโลกยังไปต่อได้ ค่อยๆโตขึ้นอย่างมั่นคง
ยังมีเงินผลักดันดัชนีให้ไปต่อได้
ดร ไพบูลย์ถามคุณกุลฉัตรว่าสภาพคล่องที่พูด เงินเข้าหุ้นทั่วโลกหรือเข้าแค่บางที่
คุณกุลฉัตรตอบว่า เงินไปทั่วโลก จาก US,EU,JP เข้าหาสินทรัพย์ที่มีโอกาสทำกำไรได้
ทิศทางก่อนหน้าไหลไปที่อเมริกา เนื่องมาจากการเก็งกำไรเลือกตั้ง
ย้อนไปตอนเลือกตั้ง เงิน$แข็ง แสดงว่ามีการเก็งกำไร
ตอนนี้กลับทาง เงินไหลกลับออกจากUS ไปยังเศรษฐกิจของประเทศที่ยังโต
เช่น EU ,Emerging market เศรษฐกิจดีขึ้น เงินจึงไหลไปทางนี้
อ เสน่ห์ถาม เงินไหลไปหุ้นและตราสารหนี้เป็นสัดส่วนอย่างไร
คำตอบคือ ดอกเบี้ยเปลี่ยนแปลงไปเป็นขาขึ้น ดังนั้นคนจากswitchจากตราสารหนี้ไปหุ้น
แต่ขึ้นกับสภาวะเศรษฐกิจด้วย ต้องติดตามเรื่องทรัพป์ ปีนี้คิดว่าดอกเบี้ยไม่ขึ้นอีก
จะเห็นอนาคตเงินอาจไหลกลับไปที่สหรัฐ
คุณณัฐวัฒน์มองว่า เงินจากต่างประเทศ หรือ Fund flow เวลาเข้าหุ้นไทย เมื่อก่อนดัชนีจะขึ้น200จุด
แต่เงินต่างประเทศไม่มาตลาดหุ้นหลายปีแล้ว แต่เข้าตลาดตราสารหนี้แทน
เงินต่างประเทศเข้ามา 2 แบบ คือ ระยะสั้น และ ระยะยาว
ระยะสั้น จะเข้าหน ออกหนในหนึ่งปี ทำให้ดัชนีอยู่ในช่วงแกว่งตัวอยู่ในช่วง 1,400-1,600 จุด
เราเจอแบบนี้มาสองถึงสามปีแล้ว
พอดัชนีถึง1,600 จุด ต่างชาติก็ถอยออก และ มารับที่1,400จุด
ขณะที่ไม่มีหุ้นก็สามารถshortหุ้นแทน แต่ตอนนี้ต่างชาติคิดอยู่6เดือนแล้ว ยังไม่เข้ามาและหุ้นไม่ไปไหน
เงินที่ขายยังอยู่ที่ตราสารหนี้ และ ส่วนนึงไปลงทุนในหุ้นอินโดนีเซียและหุ้นฟิลิปปินส์ แต่ตอนนี้หุ้นทั้ง
สองประเทศอยู่ในระดับที่สูง ทำให้หุ้นไทยน่าสนใจมากขึ้นเพราะไม่ค่อยขึ้นมาเลยในช่วง7เดือนนับจากต้นปี
ตอนนี้ถ้าเงินไหลจากUS มีโอกาสมาไทยมาก
ตอนนี้ถ้าต่างชาติเข้ามา ก็จะมาดูว่าตลาดหุ้นตัวไหนต่ำมากจะเข้ามาเก็บ
แต่ต้องเป็นช่วงที่มีผลประกอบการไม่ดี ถึงทำให้หุ้นตกแรง เป็นเวลาที่เก็บหุ้น
ปีนี้ผมเห็นว่าตลาดหุ้นดีกว่า เพราะผมทำงานอยู่ในบริษัทหลักทรัพย์ สรุปหุ้นมีโอกาสขึ้น
ที่ผ่านมาหุ้นdefensive เช่น หุ้นโรงไฟฟ้า หุ้นปันผล หรือ หุ้นโครงสร้างพื้นฐาน
ขึ้น10%กว่า ซึ่งเป็นธรรมชาติของหุ้นกลุ่มนี้ที่ขึ้นไม่เยอะ ลงไม่เยอะ
แต่หุ้นในครึ่งปีหลัง หุ้นที่ตกหนักน่าสนใจมากกว่า
หุ้นที่ถูกทุบว่าตายหรือยัง ถ้าดิ้นอยู่ แสดงว่ายังไปได้
คุณวิน ผู้บริหารกองทุนรวม มองว่าปีนี้แปลก เศรษฐกิจโลกฟื้นพร้อมๆกัน แต่เรารู้สึกว่ามันไม่ดี
คล้ายกับความรู้สึกของเราว่า เหมือนฝนตกไม่ทั่วฟ้า ทรัมป์จะมาคนส่วนใหญ่ไม่อยากเลือกเพราะไม่คิดว่า
ได้ประโยชน์ ส่วนคนไทย มองว่ายังไม่ดี เลยไม่กล้าลงทุน
ปีนี้ตลาดไม่ไปไหน ลงทุนหุ้นไม่มีกำไร
แต่กองทุนรวม CIMB Principle Equity Dividend Income Fund (iDIV) ขึ้น 7% นับจากต้นปี
เราได้อับเกรด 5 ดาวจาก Morningstar เพราะเราลงทุน 3 theme
(หมายเหตุ หุ้นที่แสดงเป็นหุ้นที่เคยลงทุนในอดีตณ สิ้นเดือนมิย 17 เพื่อการศึกษา)
1. Consumer Finance รัฐบาลปราบปรามเงินกู้นอกระบบ ทำให้มีคนมากู้บริษัทพวกนี้ซึ่งโต30%ต่อปี
เราชอบหุ้นกลุ่มนี้เพราะคนกู้เอาไปประกอบอาชีพ เช่น เอารถกระบะที่ค้ำประกันไปประกอบอาชีพ
จะกัดฟันผ่อน ไม่อยากให้โดยยึด ทำให้ NPL ต่ำมาก เช่น SAWAD
2. Tourism นักท่องเที่ยวจีนมามาก รวมถึง รัสเซีย และ ยุโรปเริ่มกลับมาไทย
คนอินเดียมาแต่งงานในเมืองไทย ค่าใช้จ่ายต่องาน 20-30 ล้านบาท ค่าปะรำพิธีงาน 10 ล้านบาท
เราชอบสนามบิน ซึ่งไม่มีคู่แข่ง และค่าธรรมเนียมรวมอยู่ในค่าโดยสารแล้ว
โรงแรม ค้าปลีกบางส่วน ก็ได้ประโยชน์ ยกเว้น สายการบิน ซึ่งมีคู่แข่งเยอะถ้าน้ำมันขึ้น โดยกระทบ
หุ้นที่เคยลงทุนได้แก่ CPALL,MINT,AOT
3. Infrastructure Investments
มีdelayการประมูล ทำให้ราคาหวือหวาตามข่าวมากไปหน่อย
กลุ่มนี้ที่เคยลงทุนเช่น TPIPP
เรามีทีมเยี่ยมบริษัท200กว่าบริษัท ไป20 บริษัท อาจเจอบริษัทที่ดีแค่ 1 บริษัทเอง
เราเลือกหุ้นเป็นรายตัว และมาrankตามความชอบ ไม่เน้นตามกลุ่ม
ปีที่แล้วเกาหลีใต้แย่ เพราะ Samsungซึ่งมีmarket capสูงผลประกอบการแย่
แต่ไทยปีนี้ ต่างชาติเข้าไปในประเทศที่แย่เป็นSentimentเฉยๆ
ดังนั้นปลายปีเราจะดูดีขึ้น หลังจากชาวบ้านขึ้นไปแล้ว
ดร ไพบูลย์ถามคุณกุลฉัตร นอกจากเศรษฐกิจ สภาพคล่องเยอะแล้ว ยังมีปัจจัยอื่นหรือไม่
คุณกุลฉัตรตอบว่า นอกจาก3 ปัจจัยแรก บรรยากาศของเศรษฐกิจ การลงทุนเป็นอย่างไร
เศรษฐกิจอเมริกาโต แต่ความโตสะท้อนในดัชนีไปสักพัก เราจะเห็น S&P500 ขึ้นมาสักพัก
วันนี้มีการปรับฐานบ้าง เราต้องดูว่าปัจจัยพื้นฐาน Valuation หุ้นUS ค่อนข้างตึงตัว
ไม่เพิ่มน้ำหนัก แต่focus บางตัว
EU,JP valuation ดูถูกกว่า หรือ น่าซื้อมากกว่า US
เราชอบ EU,JP มากกว่า US
เราเลือก Non US มากกว่า US
Emerging market (EM) หรือ ตลาดเกิดใหม่ รวมไทย ยุโรปฝั่งตะวันออก จีน
น่าสนใจเมื่อเทียบกับ5 ปีแล้ว ตอนนี้เศรษฐกิจโตค่อนข้างเยอะ
ส่วนใหญ่พึ่งพาน้ำมัน ราคาน้ำมันเริ่มจะนิ่ง ทำให้เศรษฐกิจของEM ไม่ค่อยผันผวน
เศรษฐกิจ แข็งแรง และ ค่าเงินแข็งแรงขึ้น
วันนี้มุมมองเปลี่ยน ชอบEmerging marketที่ตกไปค่อนข้างเยอะ
เอเชียน่าจะเหมาะสม ดูพื้นฐาน เศรษฐกิจ เป็นภูมิภาคย่อยที่แข็งแรง และการเมืองนิ่งยกเว้นเกาหลีเหนือ
รอบล่าสุด หุ้นเกาหลีใต้ขึ้นทั้งที่เกาหลีเหนือทดสอบนิวเคลีย
ดูอัตราการเติบโตเศรษฐกิจของเอเชียโตดี เช่น ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย
ดูเวียดนาม อยู่ตลาดชายขอบ (Frontier Market)น่าสนใจ ตลาดค่อยๆขยาย ถ้าสามารถเลือกส่วนที่ดีลงทุนได้
สรุปคือเราไม่เพิ่มน้ำหนักการลงทุนใน US แต่มาลงเพิ่ม EU , JP , emerging market รวมAsia
จีนปัจจุบันแก้ไขปัญหาไปมาก เริ่มเอาอยู่สำหรับปัญหา มีโอกาสทำกำไรสูง
ส่วนอินเดียก็น่าสนใจ
ประเทศออสเตรเลีย มีจุดเด่น infrastructureที่แข็งแรง ให้รายได้สม่ำเสมอ
รวมถึงนิวซีแลนด์
เราเลือกที่ธุรกิจ และ การขยายของเศรษฐกิจกระทบด้านไหนของธุรกิจ
มาต่อที่คุณ เปี๊ยก หลังสค ทำอย่างไร
คุณณัฐวัฒิบอกว่า ยุค 3.0 เรามีproductซื้อขายหุ้น โดยเลือกหุ้นขนาดใหญ่และขนาดกลาง
ตอนนี้เรามี Line @cimbs เราสามารถkey ชื่อหุ้นได้เลย
และฟัง live สดทุกเช้า จากนักวิเคราะห์ที่มีความเชี่ยวชาญ
จากกราฟ แนวโน้มปีนี้ดัชนีไม่ไปไหน แต่ตอนเดือน พย มีการเลือกว่าดัชนีจะขึ้นหรือลง
เพราะการเลือกตั้งเริ่มชัดเจนขึ้น
ต่างชาติจะเลือกข้าง ดังนั้นเดือนพย ดัชนีจะเริ่มขึ้น และ ปีหน้าเป็นขาขึ้นเต็มตัว
พอเราเห็นภาพว่าจะซื้อตัวไหนได้
กลยุทธ์ช่วงนี้ คือ Switching ขายตัวไม่ดี มาซื้อตัวที่ดี ทำให้เราได้หุ้นชั้นดีมาอยู่ในport
หุ้นช่วงแรกที่ขึ้นจะเป็นหุ้นขนาดกลาง ไม่ใช่หุ้นขนาดใหญ่
คำแนะนำสำหรับ คนที่ซื้อหุ้นราคา 3 บาทเหลือราคาร่วงลงมาเหลือแค่ 0.50 บาทให้เก็บไว้
แนะนำว่าไม่ต้องขาย แนะซื้อTMB ราคา2.50 บาท ดังนั้นหุ้นที่ติด ถ้าขายเงินที่ได้ก็ไม่พอมาซื้อTMB
ดู หุ้นSCB,KTB ซึ่งโดนทุบหนัก น่าสนใจและมีปันผลตลอดด้วย
Themeการลงทุนจะเปลี่ยน จะใช้ข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อลงทุน
หุ้นปันผลจะขึ้น เช่น รพ บำรุงราษฏร์ พลังsocialเป็นตัวผลัก เพราะคนพม่าเป็นโรคระบาดมารักษาเยอะ
IVL เป้าหมาย 54 บาท เราเล่นหุ้นยุค 4.0 เราก็key ivl จะรู้ว่าสาเหตุที่ทำไมต้องซื้อ
แต่ต้องdiscount 20% ซึ่งเหลือแค่ 40กว่าบาท ดังนั้นเล่นได้เพราะราคาตลาดแค่30กว่าบาทเอง
ตอนนี้ซื้อง่ายแต่ขายยาก
แนะนำ CK ซึ่งอยู่ในกลุ่มรับเหมาก่อสร้าง ช่วง 2H17 ทำ infrastructure
นอกจากซื้อไม่เกิน discount 20% จาก target price แล้ว ต้องดูกราฟด้วย
แต่ถ้าตลาดดี ก็ใช้ราคาเป้าหมายได้เลย เพราะราคาอาจขึ้นเกินราคาเป้าหมาย
ใช้กราฟ โดยใส่ค่าเฉลี่ยเข้าไป ถ้าหุ้นอยู่ใต้เส้นค่าเฉลี่ยต้องรอก่อน ให้กำไร
จากการดำเนินงานเข้ามา เดี๋ยวราคาก็ขึ้นมาเอง
แต่ถ้าหุ้นอยู่เหนือเส้นเฉลี่ย และนานเกิน 6 เดือน แสดงว่าดี
ดร ไพบูลย์ เสริม บริษัทลูกของCKมีmarket cap รวมกันมากกว่า market cap ของ CKอีก
ราคาเป้าแรก 29-30 บาท เราก็ได้ 10% แล้วทำสองรอบ ผลตอบแทนก็ใช้ได้แล้วครับ
ผมมีพอร์ตที่ลงทุนตามmarketing ได้return 10% แต่พอร์ตหุ้นปันผลได้return 15% ต่อปี
คุณ วิน ขอฝากเรื่องการจัดพอร์ตลงทุนผ่านกองทุนรวม
มีการจัดพอร์ตเป็น 5 แบบ ตามความเสี่ยง
จาก very conservative จนถึง Growth ซึ่งผลตอบแทนคาดหวัง
จาก 2% ถึง 7% ในกรณี Base case
เราต้องจัดสัดส่วนตามความต้องการผลตอบแทนและความเสี่ยงที่ยอมรับได้
แต่ต้องลงทุนระยะยาว
กองทุนที่ได้รางวัล 5 ดาวจาก Morningstar มีทั้งหมด 60 กองทุน แต่อยู่กับเรา 10 กองทุน
คุณกุลฉัตรเน้นไปทางยุโรป และ ญี่ปุ่น
เรามี4 Theme
1. Global infrastructure เช่นหุ้นสนามบิน ทางด่วน
2. Global GREITS ลงทุนอสังหาทั่วโลก เช่น US, EU , JP เน้น Logistic ที่อเมริกา
อัตราการเช่าเกือบเต็ม และ Resident ที่ยุโรป
3. GOPP เช่น Amazon หรือ บริษัทติวสอบเข้าในประเทศจีน แต่จดทะเบียนในUS, Tencent
4. GSA เน้นหุ้นลงทุนในสุขภาพกับยา เน้นลงทุนในหุ้นเครื่องมือแพทย์
บริษัทที่ผลิตหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด มีรายได้ค่าmaintenance จากหุ่น 3,000 ตัว
เราเลือกหุ้นรายตัว และ เน้นยุโรป และ อเมริกา
สุดท้ายขอขอบคุณวิทยากรทุกท่าน และ ผู้ดำเนินรายการ ดร ไพบูลย์ อาจารย์เสน่ห์
รวมถึงทีมงานMoneytalkทุกท่านครับ
สัมมนาหัวข้อ “ลงทุน ยุค 4.0 รุ่ง หรือ ร่วง"
และ "ฟันธงหุ้นเด่น กองทุนดัง โค้งสุดท้ายครึ่งปีหลัง"
1) คุณกุลฉัตร จันทวิมล
ผู้อำนวยการอาวุโสที่ปรึกษาการลงทุน
ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน)
2) คุณวิน พรหมแพทย์
ประธานเจ้าหน้าที่การลงทุน
บลจ.ซีไอเอ็มบี-พรินซิเพิล จำกัด
3) คุณณัฐวัฒน์ อ้นรัตน์
ผู้อำนวยการฝ่ายค้าหลักทรัพย์
บล.ซีไอเอ็มบี (ประเทศไทย)
ดร.ไพบูลย์ เสรีวิวัฒนา และ อ.เสน่ห์ ศรีสุวรรณ
เป็นผู้ดำเนินรายการ
คุณ อดิศร เสริมชัยวงศ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายธุรกิจรายย่อย ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย
กล่าวเปิดงานสัมมนาว่า การลงทุนเป็นเรื่องที่สำคัญ มีการจัดสัมมนาเรื่องลงทุนกันทุกสัปดาห์
มีสินทรัพย์ที่จะลงทุนทุกอย่าง ผู้เข้าฟังสัมมนาจะได้มุมมองใหม่ที่แตกต่างกันจากวิทยากรทุกท่าน
อยากฝาก การลงทุนไม่ใช่คัดเลือกตราสารเท่านั้น ให้มองเป้าหมายการลงทุนด้วย
การใส่ใจในเรื่องการวางเป้าหมายในการลงทุน ไม่ใช่เรื่องยาก แต่ต้องใส่ใจ
ซึ่งจะทำให้เราเห็นว่าการลงทุนของเราเหมาะสมแค่ไหน ไม่อยากให้ดูเฉพาะผลตอบแทนเท่านั้น
วันนี้สัมมนาจะพูดถึงมุมมองของตลาด หัวข้อน่าตื่นเต้น หลังจากฟังเสร็จให้ดูแผนการลงทุนด้วยว่า
เป้าหมายเราอยู่ที่ตรงไหนด้วยครับ ขอบคุณครับ
เริ่มเข้างานสัมมนา
ดร ไพบูลย์พูดถึงหัวข้อสัมมนาช่วงบ่าย
เรื่องการเรียนMBA มีคนจบMBAมาพูดให้ฟัง
หัวข้อที่สอง คุยเรื่อง Megatrend กระทบต่อเราอย่างไร
คนที่ไม่ได้มาร่วมงาน ก็สามารถชมจาก FB liveได้ครับ
Moneytalk@SET ครั้งต่อไปวันที่ 16 กย 2560
เน้นการลงทุนในต่างประเทศโดยเฉพาะ
สมัยก่อนคนไปเมืองนอก คนไปส่งต้องมอบพวงมาลัยกับคนที่ไปซึ่งใส่สูท
พอลงจากเครื่องบิน ก็ต้องถอดสูทเก็บไว้ ไม่ได้ใช้ต่อ
แต่สมัยนี้ไม่ต้องทำแบบนั้น
ดังนั้นการลงทุนในต่างประเทศเป็นเรื่องน่าสนใจ
บล CIMB จะมาพูดการลงทุนในเวียดนาม
และ ดร นิเวศน์ซึ่งลงทุนในเวียดนาม ก็มาเป็นวิทยากรด้วย
ดร นิเวศน์ลงทุนในตลาดหุ้นเวียดนามมากว่า 3 ปี หุ้นที่ลงทุน100 กว่าหลักทรัพย์
วิทยากรท่านที่สอง คุณกัญชุญา (Kanchuya Sukdheva) หรือ คุณอุ๋ม เป็น Investment bankerที่เชี่ยวชาญ
หุ้นเวียดนาม ลงทุน50%ในหุ้นเวียดนาม เคยเป็นวิทยากรสำหรับหุ้นเวียดนามมาหลายครั้ง
ท่านต่อมาคือ คุณ วิน พรหมแพทย์ ซึ่งเป็นวิทยากรครั้งนี้ก็มาพูดด้วย
คนสุดท้าย เป็นคนต่างชาติ
คุณเกษม พันธ์รัตนมาลา Head of research มาช่วยแปลและพูดในงานด้วย
อ เสน่ห์กับผมมาเป็นผู้ดำเนินรายการ
หัวข้อที่สอง การลงทุนในหุ้นต่างประเทศ เหมาะกับใคร
จองวันที่ 9 กันยายน 2560 ที่ Facebook Moneytalk
วันนี้จะคุยกันถึงเรื่อง
“ลงทุน ยุค 4.0 รุ่ง หรือ ร่วง"
และ "ฟันธงหุ้นเด่น กองทุนดัง โค้งสุดท้ายครึ่งปีหลัง"
อาจารย์เสน่ห์ เริ่มก่อน
ลงทุน 4.0 ทำให้รุ่ง หรือ โรย วิทยากรคงพูดว่าทำให้รุ่งแน่นอน
เราต้องย้ายการลงทุนจากหุ้นร่วงมาในหุ้นที่รุ่ง
บางคนลงทุนในหุ้น 1.0 เป็นหุ้นสมัยแรกที่ซื้อขายโดยใช้การเคาะกระดาน
ดร ไพบูลย์ก็ทำงานในช่วงนั้น มีการวิพากย์หุ้นด้วย ทำงานพร้อมกับรับราชการ
นี่คือที่มาของการลงทุนยุค1.0 หรือยุค Trader
ยุค 2.0 เป็นยุคของ marketing และ บริษัทหลักทรัพย์เกิดขึ้นมากมาย เริ่มมีระบบคอมพิวเตอร์
ช่วงนั้น ดร ไพบูลย์ เริ่มมาทำรายการ moneytalk
ยุคการลงทุน 3.0 เป็นยุค Online trading
เป็นช่องทางการลงทุนonline และ เริ่มการลงทุนในต่างประเทศ
ส่วนยุค 4.0 มีการใช้Robotมาลงทุนแทน และมี AI มาช่วยในการลงทุน
มีเรื่อง Big data เข้ามาด้วย ลงทุนต่างประเทศ และ คนจากต่างประเทศก็มาลงทุนในไทยด้วย
ทุกวันนี้เราพยายามเลือกTaxi แต่Taxiเลือกคนต่างประเทศแทน
อ เสน่ห์ บอกว่า การเลือกผู้โดยสาร เหมือนการเลือกหุ้น เขาจะดูว่าผู้โดยสารที่จะรับนั้นคุ้มไหม
เดี๋ยวนี้คนขับก็ดูคนเรียกด้วย เวลาหุ้นตก อย่าไปรับ เพราะไม่มีทริบให้แน่
เวลาเรียกTaxi แล้วเขาปฏิเสธ เราไม่หงุดหงิด แต่ปิดประตูไม่สนิท แล้วเขาหงุดหงิดเอง 555
แนะนำวิทยากรคนแรก
คุณวิน เคยบริหารพอร์ต 1.3 ล้านล้านบาทที่ประกันสังคม พร้อมทีมงาน 20 คน
ทำมา10กว่าปี ก่อนมาร่วมงานกับ บลจ CIMB principle
วิทยากรท่านต่อมา คุณกุลฉัตรเป็นหลานคุณอภัย จันทวิมล อดีต รมตว่าการกระทรวงศึกษาที่ควรเลียนแบบ
ท่านดำรงตำแหน่งต่อจาก หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
ท่านต่อไป ผอ บล CIMB ประเทศไทย มหาชน คุณณัฐวัฒน์ อ้นรัตน์
เริ่มเข้าเนื้อหาสัมมนา
เริ่มจากภาพใหญ่ ทิศทางของเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทย
คุณกุลฉัตร เริ่มพูดคนแรก
สภาพคล่องของโลกยังมีค่อนข้างเยอะ
เงินจากธนาคารกลางยังอัดฉีดอยู่ ยกเว้น FED ซึ่งหยุดอัดฉีดไปแล้ว
ธนาคารกลางของECB , BOJ ยังเพิ่มสภาพคล่องอยู่
เงินจะวิ่งไปหาสินทรัพย์ที่ให้ผลตอบแทนดี
สภาพคล่องใน6-12เดือนข้างหน้ายังดีอยู่ เงินวิ่งไปหาสินทรัพย์เสี่ยงคือหุ้นเหมือนเดิม
หุ้นยังไปต่อได้ในอนาคต
เราดูพื้นฐานของเศรษฐกิจโลกยังไปต่อได้ ค่อยๆโตขึ้นอย่างมั่นคง
ยังมีเงินผลักดันดัชนีให้ไปต่อได้
ดร ไพบูลย์ถามคุณกุลฉัตรว่าสภาพคล่องที่พูด เงินเข้าหุ้นทั่วโลกหรือเข้าแค่บางที่
คุณกุลฉัตรตอบว่า เงินไปทั่วโลก จาก US,EU,JP เข้าหาสินทรัพย์ที่มีโอกาสทำกำไรได้
ทิศทางก่อนหน้าไหลไปที่อเมริกา เนื่องมาจากการเก็งกำไรเลือกตั้ง
ย้อนไปตอนเลือกตั้ง เงิน$แข็ง แสดงว่ามีการเก็งกำไร
ตอนนี้กลับทาง เงินไหลกลับออกจากUS ไปยังเศรษฐกิจของประเทศที่ยังโต
เช่น EU ,Emerging market เศรษฐกิจดีขึ้น เงินจึงไหลไปทางนี้
อ เสน่ห์ถาม เงินไหลไปหุ้นและตราสารหนี้เป็นสัดส่วนอย่างไร
คำตอบคือ ดอกเบี้ยเปลี่ยนแปลงไปเป็นขาขึ้น ดังนั้นคนจากswitchจากตราสารหนี้ไปหุ้น
แต่ขึ้นกับสภาวะเศรษฐกิจด้วย ต้องติดตามเรื่องทรัพป์ ปีนี้คิดว่าดอกเบี้ยไม่ขึ้นอีก
จะเห็นอนาคตเงินอาจไหลกลับไปที่สหรัฐ
คุณณัฐวัฒน์มองว่า เงินจากต่างประเทศ หรือ Fund flow เวลาเข้าหุ้นไทย เมื่อก่อนดัชนีจะขึ้น200จุด
แต่เงินต่างประเทศไม่มาตลาดหุ้นหลายปีแล้ว แต่เข้าตลาดตราสารหนี้แทน
เงินต่างประเทศเข้ามา 2 แบบ คือ ระยะสั้น และ ระยะยาว
ระยะสั้น จะเข้าหน ออกหนในหนึ่งปี ทำให้ดัชนีอยู่ในช่วงแกว่งตัวอยู่ในช่วง 1,400-1,600 จุด
เราเจอแบบนี้มาสองถึงสามปีแล้ว
พอดัชนีถึง1,600 จุด ต่างชาติก็ถอยออก และ มารับที่1,400จุด
ขณะที่ไม่มีหุ้นก็สามารถshortหุ้นแทน แต่ตอนนี้ต่างชาติคิดอยู่6เดือนแล้ว ยังไม่เข้ามาและหุ้นไม่ไปไหน
เงินที่ขายยังอยู่ที่ตราสารหนี้ และ ส่วนนึงไปลงทุนในหุ้นอินโดนีเซียและหุ้นฟิลิปปินส์ แต่ตอนนี้หุ้นทั้ง
สองประเทศอยู่ในระดับที่สูง ทำให้หุ้นไทยน่าสนใจมากขึ้นเพราะไม่ค่อยขึ้นมาเลยในช่วง7เดือนนับจากต้นปี
ตอนนี้ถ้าเงินไหลจากUS มีโอกาสมาไทยมาก
ตอนนี้ถ้าต่างชาติเข้ามา ก็จะมาดูว่าตลาดหุ้นตัวไหนต่ำมากจะเข้ามาเก็บ
แต่ต้องเป็นช่วงที่มีผลประกอบการไม่ดี ถึงทำให้หุ้นตกแรง เป็นเวลาที่เก็บหุ้น
ปีนี้ผมเห็นว่าตลาดหุ้นดีกว่า เพราะผมทำงานอยู่ในบริษัทหลักทรัพย์ สรุปหุ้นมีโอกาสขึ้น
ที่ผ่านมาหุ้นdefensive เช่น หุ้นโรงไฟฟ้า หุ้นปันผล หรือ หุ้นโครงสร้างพื้นฐาน
ขึ้น10%กว่า ซึ่งเป็นธรรมชาติของหุ้นกลุ่มนี้ที่ขึ้นไม่เยอะ ลงไม่เยอะ
แต่หุ้นในครึ่งปีหลัง หุ้นที่ตกหนักน่าสนใจมากกว่า
หุ้นที่ถูกทุบว่าตายหรือยัง ถ้าดิ้นอยู่ แสดงว่ายังไปได้
คุณวิน ผู้บริหารกองทุนรวม มองว่าปีนี้แปลก เศรษฐกิจโลกฟื้นพร้อมๆกัน แต่เรารู้สึกว่ามันไม่ดี
คล้ายกับความรู้สึกของเราว่า เหมือนฝนตกไม่ทั่วฟ้า ทรัมป์จะมาคนส่วนใหญ่ไม่อยากเลือกเพราะไม่คิดว่า
ได้ประโยชน์ ส่วนคนไทย มองว่ายังไม่ดี เลยไม่กล้าลงทุน
ปีนี้ตลาดไม่ไปไหน ลงทุนหุ้นไม่มีกำไร
แต่กองทุนรวม CIMB Principle Equity Dividend Income Fund (iDIV) ขึ้น 7% นับจากต้นปี
เราได้อับเกรด 5 ดาวจาก Morningstar เพราะเราลงทุน 3 theme
(หมายเหตุ หุ้นที่แสดงเป็นหุ้นที่เคยลงทุนในอดีตณ สิ้นเดือนมิย 17 เพื่อการศึกษา)
1. Consumer Finance รัฐบาลปราบปรามเงินกู้นอกระบบ ทำให้มีคนมากู้บริษัทพวกนี้ซึ่งโต30%ต่อปี
เราชอบหุ้นกลุ่มนี้เพราะคนกู้เอาไปประกอบอาชีพ เช่น เอารถกระบะที่ค้ำประกันไปประกอบอาชีพ
จะกัดฟันผ่อน ไม่อยากให้โดยยึด ทำให้ NPL ต่ำมาก เช่น SAWAD
2. Tourism นักท่องเที่ยวจีนมามาก รวมถึง รัสเซีย และ ยุโรปเริ่มกลับมาไทย
คนอินเดียมาแต่งงานในเมืองไทย ค่าใช้จ่ายต่องาน 20-30 ล้านบาท ค่าปะรำพิธีงาน 10 ล้านบาท
เราชอบสนามบิน ซึ่งไม่มีคู่แข่ง และค่าธรรมเนียมรวมอยู่ในค่าโดยสารแล้ว
โรงแรม ค้าปลีกบางส่วน ก็ได้ประโยชน์ ยกเว้น สายการบิน ซึ่งมีคู่แข่งเยอะถ้าน้ำมันขึ้น โดยกระทบ
หุ้นที่เคยลงทุนได้แก่ CPALL,MINT,AOT
3. Infrastructure Investments
มีdelayการประมูล ทำให้ราคาหวือหวาตามข่าวมากไปหน่อย
กลุ่มนี้ที่เคยลงทุนเช่น TPIPP
เรามีทีมเยี่ยมบริษัท200กว่าบริษัท ไป20 บริษัท อาจเจอบริษัทที่ดีแค่ 1 บริษัทเอง
เราเลือกหุ้นเป็นรายตัว และมาrankตามความชอบ ไม่เน้นตามกลุ่ม
ปีที่แล้วเกาหลีใต้แย่ เพราะ Samsungซึ่งมีmarket capสูงผลประกอบการแย่
แต่ไทยปีนี้ ต่างชาติเข้าไปในประเทศที่แย่เป็นSentimentเฉยๆ
ดังนั้นปลายปีเราจะดูดีขึ้น หลังจากชาวบ้านขึ้นไปแล้ว
ดร ไพบูลย์ถามคุณกุลฉัตร นอกจากเศรษฐกิจ สภาพคล่องเยอะแล้ว ยังมีปัจจัยอื่นหรือไม่
คุณกุลฉัตรตอบว่า นอกจาก3 ปัจจัยแรก บรรยากาศของเศรษฐกิจ การลงทุนเป็นอย่างไร
เศรษฐกิจอเมริกาโต แต่ความโตสะท้อนในดัชนีไปสักพัก เราจะเห็น S&P500 ขึ้นมาสักพัก
วันนี้มีการปรับฐานบ้าง เราต้องดูว่าปัจจัยพื้นฐาน Valuation หุ้นUS ค่อนข้างตึงตัว
ไม่เพิ่มน้ำหนัก แต่focus บางตัว
EU,JP valuation ดูถูกกว่า หรือ น่าซื้อมากกว่า US
เราชอบ EU,JP มากกว่า US
เราเลือก Non US มากกว่า US
Emerging market (EM) หรือ ตลาดเกิดใหม่ รวมไทย ยุโรปฝั่งตะวันออก จีน
น่าสนใจเมื่อเทียบกับ5 ปีแล้ว ตอนนี้เศรษฐกิจโตค่อนข้างเยอะ
ส่วนใหญ่พึ่งพาน้ำมัน ราคาน้ำมันเริ่มจะนิ่ง ทำให้เศรษฐกิจของEM ไม่ค่อยผันผวน
เศรษฐกิจ แข็งแรง และ ค่าเงินแข็งแรงขึ้น
วันนี้มุมมองเปลี่ยน ชอบEmerging marketที่ตกไปค่อนข้างเยอะ
เอเชียน่าจะเหมาะสม ดูพื้นฐาน เศรษฐกิจ เป็นภูมิภาคย่อยที่แข็งแรง และการเมืองนิ่งยกเว้นเกาหลีเหนือ
รอบล่าสุด หุ้นเกาหลีใต้ขึ้นทั้งที่เกาหลีเหนือทดสอบนิวเคลีย
ดูอัตราการเติบโตเศรษฐกิจของเอเชียโตดี เช่น ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย
ดูเวียดนาม อยู่ตลาดชายขอบ (Frontier Market)น่าสนใจ ตลาดค่อยๆขยาย ถ้าสามารถเลือกส่วนที่ดีลงทุนได้
สรุปคือเราไม่เพิ่มน้ำหนักการลงทุนใน US แต่มาลงเพิ่ม EU , JP , emerging market รวมAsia
จีนปัจจุบันแก้ไขปัญหาไปมาก เริ่มเอาอยู่สำหรับปัญหา มีโอกาสทำกำไรสูง
ส่วนอินเดียก็น่าสนใจ
ประเทศออสเตรเลีย มีจุดเด่น infrastructureที่แข็งแรง ให้รายได้สม่ำเสมอ
รวมถึงนิวซีแลนด์
เราเลือกที่ธุรกิจ และ การขยายของเศรษฐกิจกระทบด้านไหนของธุรกิจ
มาต่อที่คุณ เปี๊ยก หลังสค ทำอย่างไร
คุณณัฐวัฒิบอกว่า ยุค 3.0 เรามีproductซื้อขายหุ้น โดยเลือกหุ้นขนาดใหญ่และขนาดกลาง
ตอนนี้เรามี Line @cimbs เราสามารถkey ชื่อหุ้นได้เลย
และฟัง live สดทุกเช้า จากนักวิเคราะห์ที่มีความเชี่ยวชาญ
จากกราฟ แนวโน้มปีนี้ดัชนีไม่ไปไหน แต่ตอนเดือน พย มีการเลือกว่าดัชนีจะขึ้นหรือลง
เพราะการเลือกตั้งเริ่มชัดเจนขึ้น
ต่างชาติจะเลือกข้าง ดังนั้นเดือนพย ดัชนีจะเริ่มขึ้น และ ปีหน้าเป็นขาขึ้นเต็มตัว
พอเราเห็นภาพว่าจะซื้อตัวไหนได้
กลยุทธ์ช่วงนี้ คือ Switching ขายตัวไม่ดี มาซื้อตัวที่ดี ทำให้เราได้หุ้นชั้นดีมาอยู่ในport
หุ้นช่วงแรกที่ขึ้นจะเป็นหุ้นขนาดกลาง ไม่ใช่หุ้นขนาดใหญ่
คำแนะนำสำหรับ คนที่ซื้อหุ้นราคา 3 บาทเหลือราคาร่วงลงมาเหลือแค่ 0.50 บาทให้เก็บไว้
แนะนำว่าไม่ต้องขาย แนะซื้อTMB ราคา2.50 บาท ดังนั้นหุ้นที่ติด ถ้าขายเงินที่ได้ก็ไม่พอมาซื้อTMB
ดู หุ้นSCB,KTB ซึ่งโดนทุบหนัก น่าสนใจและมีปันผลตลอดด้วย
Themeการลงทุนจะเปลี่ยน จะใช้ข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อลงทุน
หุ้นปันผลจะขึ้น เช่น รพ บำรุงราษฏร์ พลังsocialเป็นตัวผลัก เพราะคนพม่าเป็นโรคระบาดมารักษาเยอะ
IVL เป้าหมาย 54 บาท เราเล่นหุ้นยุค 4.0 เราก็key ivl จะรู้ว่าสาเหตุที่ทำไมต้องซื้อ
แต่ต้องdiscount 20% ซึ่งเหลือแค่ 40กว่าบาท ดังนั้นเล่นได้เพราะราคาตลาดแค่30กว่าบาทเอง
ตอนนี้ซื้อง่ายแต่ขายยาก
แนะนำ CK ซึ่งอยู่ในกลุ่มรับเหมาก่อสร้าง ช่วง 2H17 ทำ infrastructure
นอกจากซื้อไม่เกิน discount 20% จาก target price แล้ว ต้องดูกราฟด้วย
แต่ถ้าตลาดดี ก็ใช้ราคาเป้าหมายได้เลย เพราะราคาอาจขึ้นเกินราคาเป้าหมาย
ใช้กราฟ โดยใส่ค่าเฉลี่ยเข้าไป ถ้าหุ้นอยู่ใต้เส้นค่าเฉลี่ยต้องรอก่อน ให้กำไร
จากการดำเนินงานเข้ามา เดี๋ยวราคาก็ขึ้นมาเอง
แต่ถ้าหุ้นอยู่เหนือเส้นเฉลี่ย และนานเกิน 6 เดือน แสดงว่าดี
ดร ไพบูลย์ เสริม บริษัทลูกของCKมีmarket cap รวมกันมากกว่า market cap ของ CKอีก
ราคาเป้าแรก 29-30 บาท เราก็ได้ 10% แล้วทำสองรอบ ผลตอบแทนก็ใช้ได้แล้วครับ
ผมมีพอร์ตที่ลงทุนตามmarketing ได้return 10% แต่พอร์ตหุ้นปันผลได้return 15% ต่อปี
คุณ วิน ขอฝากเรื่องการจัดพอร์ตลงทุนผ่านกองทุนรวม
มีการจัดพอร์ตเป็น 5 แบบ ตามความเสี่ยง
จาก very conservative จนถึง Growth ซึ่งผลตอบแทนคาดหวัง
จาก 2% ถึง 7% ในกรณี Base case
เราต้องจัดสัดส่วนตามความต้องการผลตอบแทนและความเสี่ยงที่ยอมรับได้
แต่ต้องลงทุนระยะยาว
กองทุนที่ได้รางวัล 5 ดาวจาก Morningstar มีทั้งหมด 60 กองทุน แต่อยู่กับเรา 10 กองทุน
คุณกุลฉัตรเน้นไปทางยุโรป และ ญี่ปุ่น
เรามี4 Theme
1. Global infrastructure เช่นหุ้นสนามบิน ทางด่วน
2. Global GREITS ลงทุนอสังหาทั่วโลก เช่น US, EU , JP เน้น Logistic ที่อเมริกา
อัตราการเช่าเกือบเต็ม และ Resident ที่ยุโรป
3. GOPP เช่น Amazon หรือ บริษัทติวสอบเข้าในประเทศจีน แต่จดทะเบียนในUS, Tencent
4. GSA เน้นหุ้นลงทุนในสุขภาพกับยา เน้นลงทุนในหุ้นเครื่องมือแพทย์
บริษัทที่ผลิตหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด มีรายได้ค่าmaintenance จากหุ่น 3,000 ตัว
เราเลือกหุ้นรายตัว และ เน้นยุโรป และ อเมริกา
สุดท้ายขอขอบคุณวิทยากรทุกท่าน และ ผู้ดำเนินรายการ ดร ไพบูลย์ อาจารย์เสน่ห์
รวมถึงทีมงานMoneytalkทุกท่านครับ