UBA
-
- Verified User
- โพสต์: 47266
- ผู้ติดตาม: 0
UBA
โพสต์ที่ 1
ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ ยื่นไฟลิ่งขาย IPO 170 ล้านหุ้น-เข้า mai ใช้ขยายธุรกิจ-คืนเงินกู้
ข่าวหุ้น-การเงิน Thursday June 23, 2022 13:23 —สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ)
บมจ.ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ (UBA) ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวน (ไฟลิ่ง) ต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เพื่อเสนอขายหุ้นสามัญต่อประชาชนทั่วไปครั้งแรก (IPO) จำนวน 170 ล้านหุ้น คิดเป็น 28.33% ของจำนวนหุ้นสามัญที่จำหน่ายแล้วทั้งหมดของบริษัทภายหลังการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนในครั้งนี้ มูลค่าที่ตราไว้ (พาร์) หุ้นละ 0.50 บาท และจะเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (mai) โดยมี บริษัท แคปปิตอล วัน พาร์ทเนอร์ จำกัด เป็นที่ปรึกษาทางการเงิน
ยูทิลิตี้ บิสิเนส ฯ ดำเนินธุรกิจในการให้บริการจัดการเดินระบบและบำรุงรักษาแบบครบวงจร (Integrated Operation and Maintenance หรือ "IOM") พร้อมทั้งการบริการให้คำปรึกษา ออกแบบ ก่อสร้าง และติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ ตามความต้องการของลูกค้า เพื่อสนับสนุนธุรกิจบริหารจัดการน้ำแบบครบวงจร
บริษัทจะนำเงินที่ได้จากการเสอนขายหลักทรัพย์ครั้งนี้ไปใช้เป็นเงินลงทุนพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System)รองรับการขยายตัวของธุรกิจ, ใช้ในการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างสินค้าและบริการใหม่ ,ใช้ปรับปรุงเครื่องจักร , ใช้ชำระคืนเงินกู้จากสถาบันการเงิน และใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินธุรกิจ
ข่าวหุ้น-การเงิน Thursday June 23, 2022 13:23 —สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ)
บมจ.ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ (UBA) ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวน (ไฟลิ่ง) ต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เพื่อเสนอขายหุ้นสามัญต่อประชาชนทั่วไปครั้งแรก (IPO) จำนวน 170 ล้านหุ้น คิดเป็น 28.33% ของจำนวนหุ้นสามัญที่จำหน่ายแล้วทั้งหมดของบริษัทภายหลังการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนในครั้งนี้ มูลค่าที่ตราไว้ (พาร์) หุ้นละ 0.50 บาท และจะเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (mai) โดยมี บริษัท แคปปิตอล วัน พาร์ทเนอร์ จำกัด เป็นที่ปรึกษาทางการเงิน
ยูทิลิตี้ บิสิเนส ฯ ดำเนินธุรกิจในการให้บริการจัดการเดินระบบและบำรุงรักษาแบบครบวงจร (Integrated Operation and Maintenance หรือ "IOM") พร้อมทั้งการบริการให้คำปรึกษา ออกแบบ ก่อสร้าง และติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ ตามความต้องการของลูกค้า เพื่อสนับสนุนธุรกิจบริหารจัดการน้ำแบบครบวงจร
บริษัทจะนำเงินที่ได้จากการเสอนขายหลักทรัพย์ครั้งนี้ไปใช้เป็นเงินลงทุนพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System)รองรับการขยายตัวของธุรกิจ, ใช้ในการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างสินค้าและบริการใหม่ ,ใช้ปรับปรุงเครื่องจักร , ใช้ชำระคืนเงินกู้จากสถาบันการเงิน และใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินธุรกิจ
-
- Verified User
- โพสต์: 47266
- ผู้ติดตาม: 0
Re: UBA
โพสต์ที่ 2
(เพิ่มเติม) ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ ยื่นไฟลิ่งขาย IPO 170 ล้านหุ้น-เข้า mai ใช้ขยายธุรกิจ-คืนเงินกู้
ข่าวหุ้น-การเงิน Thursday June 23, 2022 14:03 —สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ)
บมจ.ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ (UBA) ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวน (ไฟลิ่ง) ต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เพื่อเสนอขายหุ้นสามัญต่อประชาชนทั่วไปครั้งแรก (IPO) จำนวน 170 ล้านหุ้น คิดเป็น 28.33% ของจำนวนหุ้นสามัญที่จำหน่ายแล้วทั้งหมดของบริษัทภายหลังการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนในครั้งนี้ มูลค่าที่ตราไว้ (พาร์) หุ้นละ 0.50 บาท และจะเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (mai) โดยมี บริษัท แคปปิตอล วัน พาร์ทเนอร์ จำกัด เป็นที่ปรึกษาทางการเงิน
บริษัทจะนำเงินที่ได้จากการเสนอขายหลักทรัพย์ครั้งนี้ไปใช้เป็นเงินลงทุนพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System)รองรับการขยายตัวของธุรกิจ, ใช้ในการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างสินค้าและบริการใหม่ ,ใช้ปรับปรุงเครื่องจักร , ใช้ชำระคืนเงินกู้จากสถาบันการเงิน และใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินธุรกิจ
UBA ดำเนินธุรกิจในการให้บริการจัดการเดินระบบและบำรุงรักษาแบบครบวงจร (Integrated Operation and Maintenance หรือ "IOM") พร้อมทั้งการบริการให้คำปรึกษา ออกแบบ ก่อสร้าง และติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ ตามความต้องการของลูกค้า เพื่อสนับสนุนธุรกิจบริหารจัดการน้ำแบบครบวงจร โดยสามารถให้บริการได้ครอบคลุมใน 3 กลุ่มผลิตภัณฑ์การให้บริการ ได้แก่ งานระบบบำบัดน้ำเสีย งานอุโมงค์ระบายน้ำ และงานระบบน้ำประปา
ปัจจุบัน บริษัทฯ เป็นผู้ให้บริการจัดการน้ำเสียเอกชนรายใหญ่ที่สุดของกรุงเทพมหานคร (อ้างอิงตามรายงานประจำปี สำนักงานจัดการคุณภาพน้ำ ปี 2563) และเป็นบริษัทเอกชนเพียงรายเดียวที่ได้รับให้ดูแลงานอุโมงค์ระบายน้ำให้กับกรุงเทพมหานคร โดยที่ผ่านมาบริษัทฯ ได้ดำเนินการโครงการให้กับกรุงเทพมหานครมาต่อเนื่องแล้ว จำนวน 7 โครงการ มูลค่าโครงการรวมกว่า 4,300 ล้านบาท และอยู่ระหว่างการดำเนินการอีก 3 โครงการ มูลค่าโครงการรวมกว่า 2,400 ล้านบาท
รายได้ของบริษัทจำแนกตามประเภทรายได้ สามารถแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ 1) รายได้จากบริการ ซึ่งเกิดจากการให้บริการจัดการเดินระบบและบำรุงรักษาแบบครบวงจร (IOM) และการให้บริการงานวิศวกรรม และจัดหาอุปกรณ์ ได้แก่ การออกแบบให้คำปรึกษา การก่อสร้างพื้นที่ในการติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ และการจัดซื้อ ติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ และ 2) รายได้จากการขาย ซึ่งเกิดจากการขายสินค้า และ 3) รายได้อื่น เช่น ดอกเบี้ยตามสัญญา ดอกเบี้ยรับ กำไรจากการขายสินทรัพย์ และยอดรับคืนเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เป็นต้น
โครงสร้างผู้ถือหุ้นของบริษัท ณ วันที่ 31 มี.ค.65 ได้แก่ บมจ.เนาวรัตน์พัฒนาการ (NWR) ถืออยู่ 60.00% หลังการขาย IPO สัดส่วนถือหุ้นจะอยู่ที่ 43.00% บมจ. สยามอีสต์ โซลูชั่น (SE) ถืออยู่ 40% หลังขายหุ้น IPO สัดส่วนลดเหลือ 28.67%
ในปี 62-64 บริษัทมีรายได้รวม 432 ล้านบาท 532 ล้านบาท และ 533 ล้านบาทตามลำดับ งวด 3 เดือนปี 65 มีรายได้รวม 112 ล้านบาท
กำไรสุทธิของบริษัทฯ ในช่วงปี 62-64 และงวดสามเดือนแรกปี 65 เท่ากับ 18.30 ล้านบาท 43.43 ล้านบาท 52.35 ล้านบาท และ 13.37 ล้านบาท ตามลำดับ หรือคิดเป็นอัตรากำไรสุทธิเท่ากับ 4.23% 8.16% 9.82% และ 9.41% ตามลำดับ
ทั้งนี้ บริษัทฯ มีนโยบายในการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราไม่ต่ำกว่า 30.00% ของกำไรสุทธิหลังหักภาษีจากงบเฉพาะกิจการ และหลังหักเงินสำรองต่างๆ ทุกประเภทตามกฎหมายกำหนดในแต่ละปี
ข่าวหุ้น-การเงิน Thursday June 23, 2022 14:03 —สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ)
บมจ.ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ (UBA) ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวน (ไฟลิ่ง) ต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เพื่อเสนอขายหุ้นสามัญต่อประชาชนทั่วไปครั้งแรก (IPO) จำนวน 170 ล้านหุ้น คิดเป็น 28.33% ของจำนวนหุ้นสามัญที่จำหน่ายแล้วทั้งหมดของบริษัทภายหลังการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนในครั้งนี้ มูลค่าที่ตราไว้ (พาร์) หุ้นละ 0.50 บาท และจะเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (mai) โดยมี บริษัท แคปปิตอล วัน พาร์ทเนอร์ จำกัด เป็นที่ปรึกษาทางการเงิน
บริษัทจะนำเงินที่ได้จากการเสนอขายหลักทรัพย์ครั้งนี้ไปใช้เป็นเงินลงทุนพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System)รองรับการขยายตัวของธุรกิจ, ใช้ในการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างสินค้าและบริการใหม่ ,ใช้ปรับปรุงเครื่องจักร , ใช้ชำระคืนเงินกู้จากสถาบันการเงิน และใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินธุรกิจ
UBA ดำเนินธุรกิจในการให้บริการจัดการเดินระบบและบำรุงรักษาแบบครบวงจร (Integrated Operation and Maintenance หรือ "IOM") พร้อมทั้งการบริการให้คำปรึกษา ออกแบบ ก่อสร้าง และติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ ตามความต้องการของลูกค้า เพื่อสนับสนุนธุรกิจบริหารจัดการน้ำแบบครบวงจร โดยสามารถให้บริการได้ครอบคลุมใน 3 กลุ่มผลิตภัณฑ์การให้บริการ ได้แก่ งานระบบบำบัดน้ำเสีย งานอุโมงค์ระบายน้ำ และงานระบบน้ำประปา
ปัจจุบัน บริษัทฯ เป็นผู้ให้บริการจัดการน้ำเสียเอกชนรายใหญ่ที่สุดของกรุงเทพมหานคร (อ้างอิงตามรายงานประจำปี สำนักงานจัดการคุณภาพน้ำ ปี 2563) และเป็นบริษัทเอกชนเพียงรายเดียวที่ได้รับให้ดูแลงานอุโมงค์ระบายน้ำให้กับกรุงเทพมหานคร โดยที่ผ่านมาบริษัทฯ ได้ดำเนินการโครงการให้กับกรุงเทพมหานครมาต่อเนื่องแล้ว จำนวน 7 โครงการ มูลค่าโครงการรวมกว่า 4,300 ล้านบาท และอยู่ระหว่างการดำเนินการอีก 3 โครงการ มูลค่าโครงการรวมกว่า 2,400 ล้านบาท
รายได้ของบริษัทจำแนกตามประเภทรายได้ สามารถแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ 1) รายได้จากบริการ ซึ่งเกิดจากการให้บริการจัดการเดินระบบและบำรุงรักษาแบบครบวงจร (IOM) และการให้บริการงานวิศวกรรม และจัดหาอุปกรณ์ ได้แก่ การออกแบบให้คำปรึกษา การก่อสร้างพื้นที่ในการติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ และการจัดซื้อ ติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ และ 2) รายได้จากการขาย ซึ่งเกิดจากการขายสินค้า และ 3) รายได้อื่น เช่น ดอกเบี้ยตามสัญญา ดอกเบี้ยรับ กำไรจากการขายสินทรัพย์ และยอดรับคืนเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เป็นต้น
โครงสร้างผู้ถือหุ้นของบริษัท ณ วันที่ 31 มี.ค.65 ได้แก่ บมจ.เนาวรัตน์พัฒนาการ (NWR) ถืออยู่ 60.00% หลังการขาย IPO สัดส่วนถือหุ้นจะอยู่ที่ 43.00% บมจ. สยามอีสต์ โซลูชั่น (SE) ถืออยู่ 40% หลังขายหุ้น IPO สัดส่วนลดเหลือ 28.67%
ในปี 62-64 บริษัทมีรายได้รวม 432 ล้านบาท 532 ล้านบาท และ 533 ล้านบาทตามลำดับ งวด 3 เดือนปี 65 มีรายได้รวม 112 ล้านบาท
กำไรสุทธิของบริษัทฯ ในช่วงปี 62-64 และงวดสามเดือนแรกปี 65 เท่ากับ 18.30 ล้านบาท 43.43 ล้านบาท 52.35 ล้านบาท และ 13.37 ล้านบาท ตามลำดับ หรือคิดเป็นอัตรากำไรสุทธิเท่ากับ 4.23% 8.16% 9.82% และ 9.41% ตามลำดับ
ทั้งนี้ บริษัทฯ มีนโยบายในการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราไม่ต่ำกว่า 30.00% ของกำไรสุทธิหลังหักภาษีจากงบเฉพาะกิจการ และหลังหักเงินสำรองต่างๆ ทุกประเภทตามกฎหมายกำหนดในแต่ละปี
-
- Verified User
- โพสต์: 47266
- ผู้ติดตาม: 0
Re: UBA
โพสต์ที่ 3
UBA : บริษัท ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ จำกัด (มหาชน)
ประเภทธุรกิจ ดำเนินธุรกิจในการให้บริการจัดการเดินระบบและบำรุงรักษาแบบครบวงจร พร้อมทั้งมีการบริการให้คำปรึกษา ออกแบบ ก่อสร้าง และติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ ตามความต้องการของลูกค้า เพื่อสนับสนุนธุรกิจบริหารจัดการน้ำแบบครบวงจร
ตลาดรอง ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (mai)
กลุ่มอุตสาหกรรม
บริการ
สถานะ
Filing
จำนวนหุ้นที่ IPO
170,000,000 หุ้น
ระยะเวลาเสนอขายหุ้น n/a
ราคา IPO n/a
ราคา PAR 0.50 บาท
วันที่เริ่มซื้อขาย n/a
ที่ปรึกษาทางการเงิน
บริษัท แคปปิตอล วัน พาร์ทเนอร์ จำกัด
ข้อมูล Filing
www.uba.co.th
ประเภทธุรกิจ ดำเนินธุรกิจในการให้บริการจัดการเดินระบบและบำรุงรักษาแบบครบวงจร พร้อมทั้งมีการบริการให้คำปรึกษา ออกแบบ ก่อสร้าง และติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ ตามความต้องการของลูกค้า เพื่อสนับสนุนธุรกิจบริหารจัดการน้ำแบบครบวงจร
ตลาดรอง ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ (mai)
กลุ่มอุตสาหกรรม
บริการ
สถานะ
Filing
จำนวนหุ้นที่ IPO
170,000,000 หุ้น
ระยะเวลาเสนอขายหุ้น n/a
ราคา IPO n/a
ราคา PAR 0.50 บาท
วันที่เริ่มซื้อขาย n/a
ที่ปรึกษาทางการเงิน
บริษัท แคปปิตอล วัน พาร์ทเนอร์ จำกัด
ข้อมูล Filing
www.uba.co.th
-
- Verified User
- โพสต์: 47266
- ผู้ติดตาม: 0
Re: UBA
โพสต์ที่ 4
https://market.sec.or.th/public/ipos/IP ... 29&lang=th
หนังสือชี้ชวนตราสารทุน
รายละเอียดตราสาร
ผู้ออกหลักทรัพย์ : บริษัท ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ จำกัด (มหาชน)
ผู้เสนอขายหลักทรัพย์ : บริษัท ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ จำกัด (มหาชน)
วันที่ยื่น Filing version แรก : -
วันที่แก้ไข Filing ครั้งล่าสุด (วันที่นับ 1 Filing) : -
วันที่ Filing มีผลบังคับใช้ : -
วันที่เริ่มต้นการเสนอขาย : -
วันที่สิ้นสุดการเสนอขาย : -
ประเภทหลักทรัพย์ : หุ้นสามัญ
ประเภทการเสนอขาย : การเสนอขายหลักทรัพย์ครั้งแรกต่อประชาชน
ที่ปรึกษาทางการเงิน/ผู้ควบคุม : บริษัท แคปปิตอล วัน พาร์ทเนอร์ จำกัด / N.A.
หนังสือชี้ชวนตราสารทุน
รายละเอียดตราสาร
ผู้ออกหลักทรัพย์ : บริษัท ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ จำกัด (มหาชน)
ผู้เสนอขายหลักทรัพย์ : บริษัท ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ จำกัด (มหาชน)
วันที่ยื่น Filing version แรก : -
วันที่แก้ไข Filing ครั้งล่าสุด (วันที่นับ 1 Filing) : -
วันที่ Filing มีผลบังคับใช้ : -
วันที่เริ่มต้นการเสนอขาย : -
วันที่สิ้นสุดการเสนอขาย : -
ประเภทหลักทรัพย์ : หุ้นสามัญ
ประเภทการเสนอขาย : การเสนอขายหลักทรัพย์ครั้งแรกต่อประชาชน
ที่ปรึกษาทางการเงิน/ผู้ควบคุม : บริษัท แคปปิตอล วัน พาร์ทเนอร์ จำกัด / N.A.
-
- Verified User
- โพสต์: 5620
- ผู้ติดตาม: 1
Re: UBA
โพสต์ที่ 5
ก.ล.ต.นับหนึ่งไฟลิ่ง ยูทิลิตี้ บิสิเนส เตรียมขาย IPO 170 ล้านหุ้น พร้อมเข้าเทรด mai ภายในปีนี้
By
Ben.benjawan
October 25, 2022
Ben.benjawan
บริษัท ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ จำกัด (UBA) เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้เริ่มนับหนึ่งแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวนของ UBA เป็นที่เรียบร้อย
UBA ได้ยื่นเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก (IPO) จำนวน 170,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ (พาร์) หุ้นละ 0.50 บาท หรือคิดเป็น 28.33% ของจำนวนหุ้นสามัญที่ออกและเรียกชำระแล้วทั้งหมดของบริษัท ภายหลังการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนครั้งนี้ และจะเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ (mai) หมวดธุรกิจ กลุ่มบริการ
บริษัทประกอบธุรกิจในการให้บริการจัดการน้ำ เดินระบบ และบำรุงรักษาแบบครบวงจร (Integrated Operation and Maintenance หรือ IOM) พร้อมทั้งการบริการให้คำปรึกษา ออกแบบ ก่อสร้าง และติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ ตามความต้องการของลูกค้า โดยครอบคลุมการให้บริการใน 3 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ งานระบบบำบัดน้ำเสีย อุโมงค์ระบายน้ำ และระบบน้ำประปา
อีกทั้งปัจจุบัน บริษัทเป็นผู้ให้บริการจัดการน้ำเสียเอกชนรายใหญ่ที่สุดของกรุงเทพมหานคร (อ้างอิงตามรายงานประจำปี สำนักงานจัดการคุณภาพน้ำ ปี 2563) และเป็นบริษัทเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญในงานบริหารจัดการเดินระบบ และบำรุงรักษาอุโมงค์ระบายน้ำให้กับกรุงเทพมหานคร โดยที่ผ่านมาบริษัทฯ ได้ดำเนินการโครงการให้กับกรุงเทพมหานครมาต่อเนื่องแล้ว จำนวน 7 โครงการ มูลค่าโครงการรวมกว่า 4 พันล้านบาท และปัจจุบันบริษัทมีงานอยู่ระหว่างการดำเนินการ (Backlog) ณ ไตรมาส 2/65 มูลค่ารวมกว่า 1.61 พันล้านบาท
นายสมชาติ สังหิตกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ จำกัด (UBA) เปิดเผยว่า การเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ (mai) ในครั้งนี้ นับเป็นก้าวสำคัญในการขยายธุรกิจ เพื่อเพิ่มโอกาสในการเติบโตในอนาคตอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการลงทุนโครงการในอนาคต รวมถึงมีเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ เพื่อสร้างความแข็งแกร่งทางด้านการเงิน อีกทั้งการระดมทุนในครั้งนี้ ยังเป็นการเปิดโอกาสให้นักลงทุนและประชาชนทั่วไปได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการต่อยอดความสำเร็จของ UBA อีกด้วย
อย่างไรก็ตามนอกเหนือจากการเป็นผู้ให้บริการจัดการเดินระบบและบำรุงรักษาอย่างครบวงจรที่มีลูกค้าเป็นกรุงเทพมหานคร บริษัทยังมีโอกาสขยายงานเพิ่มเติมสู่โครงการอุโมงค์ระบายน้ำและโครงการระบบบำบัดน้ำเสียขนาดใหญ่ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีแผนขยายการลงทุนต่อเนื่องถึงปี 80
สำหรับวัตถุประสงค์การใช้เงินที่ได้จากการระดมทุนในครั้งนี้ เพื่อลงทุนพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System) วิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างสินค้าและบริการใหม่ ซื้อและปรับปรุงเครื่องจักร ชำระคืนเงินกู้จากสถาบันการเงิน และเป็นเงินทุนหมุนเวียนในการขยายธุรกิจในอนาคต
ภาพรวมผลประกอบการของบริษัทในปี 62-64 มีรายได้รวมจำนวน 432.40 ล้านบาท 532.69 ล้านบาท 533.59 ล้านบาท ตามลำดับ และมีกำไรสุทธิจำนวน 18.30 ล้านบาท 43.43 ล้านบาท 52.35 ล้านบาท คิดเป็นเป็นอัตรากำไรสุทธิ 4.23%, 8.15%, 9.81% และงวด 6 เดือนแรกปี 65 บริษัทมีรายได้รวม 327.18 ล้านบาท และมีกำไรสุทธิจำนวน 30.83 ล้านบาท คิดเป็นอัตรากำไรสุทธิ 9.42%
ปัจจัยที่สนับสนุนให้รายได้ที่เพิ่มขึ้นในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา ด้วยบริษัทได้รับงานสัญญาของกรุงเทพมหานครในงานโครงการบริหารจัดการน้ำ เดินระบบและบำรุงรักษาแบบครบวงจร (IOM) ในโครงการโรงบำบัดน้ำเสีย 2 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการเดินระบบ บำรุงรักษา และบริหารจัดการโรงควบคุมคุณภาพน้ำหนองแขม-ทุ่งครุ ระยะที่ 4 ในปี 2563 2)
โครงการเดินระบบ บำรุงรักษา และบริหารจัดการ โรงควบคุมคุณภาพดินแดง ระยะที่ 4 ในปี 64 และโครงการอุโมงค์ระบายน้ำ 1 โครงการ ในปี 64 ได้แก่ โครงการเดินระบบ บำรุงรักษา และบริหารจัดการอุโมงค์ระบายน้ำจากบึงมักกะสันสู่แม่น้ำเจ้าพระยา ระยะที่ 3 ประกอบกับบริษัทได้มุ่งเน้นขยายงานใหม่ไปยังกลุ่มลูกค้าอื่นๆ รวมถึงกลุ่มลูกค้าเอกชนในหลากหลายอุตสาหกรรม
ทั้งนี้เพื่อเพิ่มฐานลูกค้าให้มีความหลากหลายและลดการพึ่งพิงลูกค้ารายใดรายหนึ่ง บริษัทยังมุ่งมั่นขยายงานด้านการให้บริการงานด้านวิศวกรรมและจัดหาอุปกรณ์ เพื่อให้บริษัทฯ มีการบริการที่ครบวงจร และเพิ่มโอกาสขยายงานด้าน IOM ของบริษัทมากขึ้น ปัจจุบันบริษัทมีกำไรสุทธิสูงขึ้น เนื่องจากมีอัตรากำไรขั้นต้นที่สูงขึ้นประกอบกับบริษัทสามารถบริหารจัดการค่าใช้จ่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข่าวอื่นที่เกี่ยวข้อง : บมจ.ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์
By
Ben.benjawan
October 25, 2022
Ben.benjawan
บริษัท ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ จำกัด (UBA) เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้เริ่มนับหนึ่งแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวนของ UBA เป็นที่เรียบร้อย
UBA ได้ยื่นเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก (IPO) จำนวน 170,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ (พาร์) หุ้นละ 0.50 บาท หรือคิดเป็น 28.33% ของจำนวนหุ้นสามัญที่ออกและเรียกชำระแล้วทั้งหมดของบริษัท ภายหลังการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนครั้งนี้ และจะเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ (mai) หมวดธุรกิจ กลุ่มบริการ
บริษัทประกอบธุรกิจในการให้บริการจัดการน้ำ เดินระบบ และบำรุงรักษาแบบครบวงจร (Integrated Operation and Maintenance หรือ IOM) พร้อมทั้งการบริการให้คำปรึกษา ออกแบบ ก่อสร้าง และติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ ตามความต้องการของลูกค้า โดยครอบคลุมการให้บริการใน 3 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ งานระบบบำบัดน้ำเสีย อุโมงค์ระบายน้ำ และระบบน้ำประปา
อีกทั้งปัจจุบัน บริษัทเป็นผู้ให้บริการจัดการน้ำเสียเอกชนรายใหญ่ที่สุดของกรุงเทพมหานคร (อ้างอิงตามรายงานประจำปี สำนักงานจัดการคุณภาพน้ำ ปี 2563) และเป็นบริษัทเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญในงานบริหารจัดการเดินระบบ และบำรุงรักษาอุโมงค์ระบายน้ำให้กับกรุงเทพมหานคร โดยที่ผ่านมาบริษัทฯ ได้ดำเนินการโครงการให้กับกรุงเทพมหานครมาต่อเนื่องแล้ว จำนวน 7 โครงการ มูลค่าโครงการรวมกว่า 4 พันล้านบาท และปัจจุบันบริษัทมีงานอยู่ระหว่างการดำเนินการ (Backlog) ณ ไตรมาส 2/65 มูลค่ารวมกว่า 1.61 พันล้านบาท
นายสมชาติ สังหิตกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ จำกัด (UBA) เปิดเผยว่า การเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ (mai) ในครั้งนี้ นับเป็นก้าวสำคัญในการขยายธุรกิจ เพื่อเพิ่มโอกาสในการเติบโตในอนาคตอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการลงทุนโครงการในอนาคต รวมถึงมีเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ เพื่อสร้างความแข็งแกร่งทางด้านการเงิน อีกทั้งการระดมทุนในครั้งนี้ ยังเป็นการเปิดโอกาสให้นักลงทุนและประชาชนทั่วไปได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการต่อยอดความสำเร็จของ UBA อีกด้วย
อย่างไรก็ตามนอกเหนือจากการเป็นผู้ให้บริการจัดการเดินระบบและบำรุงรักษาอย่างครบวงจรที่มีลูกค้าเป็นกรุงเทพมหานคร บริษัทยังมีโอกาสขยายงานเพิ่มเติมสู่โครงการอุโมงค์ระบายน้ำและโครงการระบบบำบัดน้ำเสียขนาดใหญ่ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีแผนขยายการลงทุนต่อเนื่องถึงปี 80
สำหรับวัตถุประสงค์การใช้เงินที่ได้จากการระดมทุนในครั้งนี้ เพื่อลงทุนพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System) วิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างสินค้าและบริการใหม่ ซื้อและปรับปรุงเครื่องจักร ชำระคืนเงินกู้จากสถาบันการเงิน และเป็นเงินทุนหมุนเวียนในการขยายธุรกิจในอนาคต
ภาพรวมผลประกอบการของบริษัทในปี 62-64 มีรายได้รวมจำนวน 432.40 ล้านบาท 532.69 ล้านบาท 533.59 ล้านบาท ตามลำดับ และมีกำไรสุทธิจำนวน 18.30 ล้านบาท 43.43 ล้านบาท 52.35 ล้านบาท คิดเป็นเป็นอัตรากำไรสุทธิ 4.23%, 8.15%, 9.81% และงวด 6 เดือนแรกปี 65 บริษัทมีรายได้รวม 327.18 ล้านบาท และมีกำไรสุทธิจำนวน 30.83 ล้านบาท คิดเป็นอัตรากำไรสุทธิ 9.42%
ปัจจัยที่สนับสนุนให้รายได้ที่เพิ่มขึ้นในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา ด้วยบริษัทได้รับงานสัญญาของกรุงเทพมหานครในงานโครงการบริหารจัดการน้ำ เดินระบบและบำรุงรักษาแบบครบวงจร (IOM) ในโครงการโรงบำบัดน้ำเสีย 2 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการเดินระบบ บำรุงรักษา และบริหารจัดการโรงควบคุมคุณภาพน้ำหนองแขม-ทุ่งครุ ระยะที่ 4 ในปี 2563 2)
โครงการเดินระบบ บำรุงรักษา และบริหารจัดการ โรงควบคุมคุณภาพดินแดง ระยะที่ 4 ในปี 64 และโครงการอุโมงค์ระบายน้ำ 1 โครงการ ในปี 64 ได้แก่ โครงการเดินระบบ บำรุงรักษา และบริหารจัดการอุโมงค์ระบายน้ำจากบึงมักกะสันสู่แม่น้ำเจ้าพระยา ระยะที่ 3 ประกอบกับบริษัทได้มุ่งเน้นขยายงานใหม่ไปยังกลุ่มลูกค้าอื่นๆ รวมถึงกลุ่มลูกค้าเอกชนในหลากหลายอุตสาหกรรม
ทั้งนี้เพื่อเพิ่มฐานลูกค้าให้มีความหลากหลายและลดการพึ่งพิงลูกค้ารายใดรายหนึ่ง บริษัทยังมุ่งมั่นขยายงานด้านการให้บริการงานด้านวิศวกรรมและจัดหาอุปกรณ์ เพื่อให้บริษัทฯ มีการบริการที่ครบวงจร และเพิ่มโอกาสขยายงานด้าน IOM ของบริษัทมากขึ้น ปัจจุบันบริษัทมีกำไรสุทธิสูงขึ้น เนื่องจากมีอัตรากำไรขั้นต้นที่สูงขึ้นประกอบกับบริษัทสามารถบริหารจัดการค่าใช้จ่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข่าวอื่นที่เกี่ยวข้อง : บมจ.ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์
วินัย + แผนการ + ลงรายละเอียด => ขุดหุ้น
fb fanpage : https://www.facebook.com/stockinvestigator
fb fanpage : https://www.facebook.com/stockinvestigator
-
- Verified User
- โพสต์: 5620
- ผู้ติดตาม: 1
Re: UBA
โพสต์ที่ 7
วันที่/เวลา06 ธ.ค. 2565 09:00:02
หัวข้อข่าวสรุปผลการดำเนินงานของ บจ. ประจำปี (F45) (ตรวจสอบแล้ว)
หลักทรัพย์UBA
แหล่งข่าวUBA
รายละเอียดแบบเต็มคลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดรายละเอียดข่าวรูปแบบเต็ม
แบบสรุปผลการดำเนินงาน (F45)
บริษัท ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ จำกัด (มหาชน)
(หน่วย : พันบาท)
งบการเงิน
12 เดือน
ตรวจสอบ
สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
ปี 2564 2563
กำไร (ขาดทุน) 52,351 43,433
ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นข
องบริษัทใหญ่ *
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 9.07 10.86
ต่อหุ้น (บาท)
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไข
หมายเหตุ
*สำหรับงบการเงินรวม
โปรดดูงบการเงินฉบับเต็มประกอบ ก่อนการตัดสินใจลงทุน
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบการเงิน
ฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ ___________________________
( นางนภัสวรรณ วัฒนศิริชัยกุล )
ผู้จัดการฝ่ายการเงินและบัญชี
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
หัวข้อข่าวสรุปผลการดำเนินงานของ บจ. ประจำปี (F45) (ตรวจสอบแล้ว)
หลักทรัพย์UBA
แหล่งข่าวUBA
รายละเอียดแบบเต็มคลิกที่นี่เพื่อดาวน์โหลดรายละเอียดข่าวรูปแบบเต็ม
แบบสรุปผลการดำเนินงาน (F45)
บริษัท ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ จำกัด (มหาชน)
(หน่วย : พันบาท)
งบการเงิน
12 เดือน
ตรวจสอบ
สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
ปี 2564 2563
กำไร (ขาดทุน) 52,351 43,433
ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นข
องบริษัทใหญ่ *
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 9.07 10.86
ต่อหุ้น (บาท)
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไข
หมายเหตุ
*สำหรับงบการเงินรวม
โปรดดูงบการเงินฉบับเต็มประกอบ ก่อนการตัดสินใจลงทุน
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบการเงิน
ฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ ___________________________
( นางนภัสวรรณ วัฒนศิริชัยกุล )
ผู้จัดการฝ่ายการเงินและบัญชี
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
วินัย + แผนการ + ลงรายละเอียด => ขุดหุ้น
fb fanpage : https://www.facebook.com/stockinvestigator
fb fanpage : https://www.facebook.com/stockinvestigator
-
- Verified User
- โพสต์: 5620
- ผู้ติดตาม: 1
Re: UBA
โพสต์ที่ 8
สรุปข้อมูลสนเทศ
https://classic.set.or.th/set/pdfnews.d ... sequence=0
https://classic.set.or.th/set/pdfnews.d ... sequence=0
วินัย + แผนการ + ลงรายละเอียด => ขุดหุ้น
fb fanpage : https://www.facebook.com/stockinvestigator
fb fanpage : https://www.facebook.com/stockinvestigator
-
- Verified User
- โพสต์: 5620
- ผู้ติดตาม: 1
Re: UBA
โพสต์ที่ 9
วินัย + แผนการ + ลงรายละเอียด => ขุดหุ้น
fb fanpage : https://www.facebook.com/stockinvestigator
fb fanpage : https://www.facebook.com/stockinvestigator
-
- Verified User
- โพสต์: 5620
- ผู้ติดตาม: 1
Re: UBA
โพสต์ที่ 10
วินัย + แผนการ + ลงรายละเอียด => ขุดหุ้น
fb fanpage : https://www.facebook.com/stockinvestigator
fb fanpage : https://www.facebook.com/stockinvestigator
-
- Verified User
- โพสต์: 5620
- ผู้ติดตาม: 1
Re: UBA
โพสต์ที่ 12
วินัย + แผนการ + ลงรายละเอียด => ขุดหุ้น
fb fanpage : https://www.facebook.com/stockinvestigator
fb fanpage : https://www.facebook.com/stockinvestigator
-
- Verified User
- โพสต์: 5620
- ผู้ติดตาม: 1
Re: UBA
โพสต์ที่ 14
วินัย + แผนการ + ลงรายละเอียด => ขุดหุ้น
fb fanpage : https://www.facebook.com/stockinvestigator
fb fanpage : https://www.facebook.com/stockinvestigator
-
- Verified User
- โพสต์: 5620
- ผู้ติดตาม: 1
Re: UBA
โพสต์ที่ 15
ข้อมูลแบบรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของผู้บริหาร (แบบ 59) (จำนวนรายการที่พบ 3 รายการ)
ชื่อบริษัท ชื่อผู้บริหาร ความสัมพันธ์ * ประเภทหลักทรัพย์ วันที่ได้มา/จำหน่าย จำนวน ราคา วิธีการได้มา/จำหน่าย หมายเหตุ
ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ จำกัด (มหาชน) บมจ.(UBA) นางสาว อรสา วิมลเฉลา ผู้รายงาน หุ้นสามัญ 08/12/2565 500,000 2.38 ขาย
Link
ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ จำกัด (มหาชน) บมจ.(UBA) นาย เกริก ลีเกษม ผู้รายงาน หุ้นสามัญ 07/12/2565 3,076,300 2.48 ขาย
Link
ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ จำกัด (มหาชน) บมจ.(UBA) นาย ธีรเดช ตังประพฤทธิ์กุล ผู้รายงาน หุ้นสามัญ 07/12/2565 398,000 2.55 ขาย
Link
ชื่อบริษัท ชื่อผู้บริหาร ความสัมพันธ์ * ประเภทหลักทรัพย์ วันที่ได้มา/จำหน่าย จำนวน ราคา วิธีการได้มา/จำหน่าย หมายเหตุ
ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ จำกัด (มหาชน) บมจ.(UBA) นางสาว อรสา วิมลเฉลา ผู้รายงาน หุ้นสามัญ 08/12/2565 500,000 2.38 ขาย
Link
ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ จำกัด (มหาชน) บมจ.(UBA) นาย เกริก ลีเกษม ผู้รายงาน หุ้นสามัญ 07/12/2565 3,076,300 2.48 ขาย
Link
ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ์ จำกัด (มหาชน) บมจ.(UBA) นาย ธีรเดช ตังประพฤทธิ์กุล ผู้รายงาน หุ้นสามัญ 07/12/2565 398,000 2.55 ขาย
Link
วินัย + แผนการ + ลงรายละเอียด => ขุดหุ้น
fb fanpage : https://www.facebook.com/stockinvestigator
fb fanpage : https://www.facebook.com/stockinvestigator
-
- Verified User
- โพสต์: 5620
- ผู้ติดตาม: 1
Re: UBA
โพสต์ที่ 16
ขอรบกวนแอดมินย้ายกระทู้นี้เข้าไปอยู่ในห้อง ร้อยคนร้อยหุ้นด้วยครับ
วินัย + แผนการ + ลงรายละเอียด => ขุดหุ้น
fb fanpage : https://www.facebook.com/stockinvestigator
fb fanpage : https://www.facebook.com/stockinvestigator
-
- Verified User
- โพสต์: 5620
- ผู้ติดตาม: 1
Re: UBA
โพสต์ที่ 17
วินัย + แผนการ + ลงรายละเอียด => ขุดหุ้น
fb fanpage : https://www.facebook.com/stockinvestigator
fb fanpage : https://www.facebook.com/stockinvestigator
-
- Verified User
- โพสต์: 5620
- ผู้ติดตาม: 1
Re: UBA
โพสต์ที่ 18
ชัชชาติ รีดค่าบำบัดน้ำเสีย ธุรกิจโรงแรม-โรงงานจ่ายอ่วม
วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2566 - 07:02 น.
ชัชชาติ บำบัดน้ำเสีย
“ชัชชาติ” เตรียมเก็บค่าบำบัดน้ำเสียในรอบ 19 ปี นำร่องจัดเก็บกลุ่มประเภทที่ 3 ใช้น้ำเกิน 2 พันลูกบาศก์เมตรต่อวัน เผย “โรงงาน-โรงแรม-มิกซ์ยูส” เฉพาะ 22 เขต รวม 1,146 แห่งอ่วม ส่วนประเภท 2 บ้านพัก-คอนโดฯรอด คาดลงนามยกร่างประกาศข้อบัญญัติกลางปีนี้ บิ๊ก กทม.จี้แผนงานก่อสร้างโรงบำบัดน้ำเสียแห่งใหม่ต้องคุ้มค่าและใช้ได้จริง
กรุงเทพมหานคร (กทม.) มีข้อบัญญัติที่จะจัดเก็บค่าธรรมเนียมการบำบัดน้ำเสียตั้งแต่ปี 2547 ในยุคนายสมัคร สุนทรเวช เป็นผู้ว่าราชการ กทม. แต่จนถึงวันนี้รวมระยะเวลา 19 ปี กทม.ยังไม่เคยจัดเก็บค่าธรรมเนียมดังกล่าว ล่าสุดมาถึงยุคนายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ เป็นผู้ว่าฯ กทม. มีนโยบายจะดำเนินการเรื่องนี้อย่างจริงจัง
กทม.เริ่มนับหนึ่ง
นายวิศณุ ทรัพย์สมพล รองผู้ว่าราชการ กทม. เปิดเผย “ประชาชาติธุรกิจ” ว่า ปัจจุบัน กทม. โดยสำนักการระบายน้ำอยู่ระหว่างการยกร่างประกาศข้อบัญญัติการจัดเก็บค่าธรรมเนียมการบำบัดน้ำเสียเป็นครั้งแรก ซึ่งจะลงนามโดยผู้ว่าราชการ กทม.คนปัจจุบัน ภายในเดือนมิถุนายน 2566 และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมนั้นจะเริ่มภายหลังจากมีประกาศลงนามผู้ว่าราชการ กทม.แล้ว 60 วัน
ทั้งก่อนหน้านี้ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมในรายละเอียดข้อบัญญัติดังกล่าว โดยกำหนดสาระสำคัญของแหล่งกำเนิดน้ำเสียแต่ละประเภท จากเดิม 12 ประเภท เหลือเพียง 3 ประเภท ได้แก่
แหล่งกำเนิดน้ำเสียประเภทที่ 1 แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1.บ้านเรือนที่พักอาศัย 2.อาคารชุด หรือคอนโดมิเนียม อพาร์ตเมนต์ หอพัก อัตราค่าธรรมเนียมจัดเก็บ 2 บาทต่อลูกบาศก์เมตร
แหล่งกำเนิดน้ำเสียประเภทที่ 2 แบ่งเป็น 5 ประเภทคือ 1.หน่วยงานของรัฐ อาคารทำการของหน่วยงานรัฐ 2.มูลนิธิ ศาสนสถาน 3.โรงพยาบาลและสถานพยาบาล 4.โรงเรียน 5.สถานประกอบการที่มีการใช้น้ำไม่เกิน 2,000 ลูกบาศก์เมตร อัตราค่าธรรมเนียมอยู่ที่ 4 บาทต่อลูกบาศก์เมตร
แหล่งกำเนิดน้ำเสียประเภทที่ 3 แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ 1.โรงแรม 2.โรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน และสถานประกอบการที่มีการใช้น้ำเกิน 2,000 ลูกบาศก์เมตรต่อเดือน อัตราค่าธรรมเนียม 8 บาทต่อลูกบาศก์เมตร
“การจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียครั้งนี้จะเก็บเฉพาะแหล่งกำเนิดน้ำเสียประเภทที่ 3 คือ กลุ่มโรงแรม โรงงาน และโครงการขนาดใหญ่ โดยเฉพาะ mixed use ซึ่งเป็นสถานประกอบการที่ใช้น้ำเป็นจำนวนมาก คือเดือนหนึ่งเกิน 2,000 ลูกบาศก์เมตร อัตราจัดเก็บอยู่ที่ 8 บาทต่อลูกบาศก์เมตร” นายวิศณุกล่าว และว่า
ปกติโครงการขนาดใหญ่จะต้องมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเองอยู่แล้ว ซึ่งถือเป็นต้นทุนการบริหารจัดการรายปีที่มีราคาสูงกว่าการจ่ายค่าบำบัดน้ำเสียให้กับ กทม. ดังนั้น การจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของ กทม.จึงเป็นหนึ่งในทางเลือกของผู้ประกอบการด้วย
“ส่วนประเภทอื่น ๆ เช่น บ้านพักที่อยู่อาศัย หรือแหล่งกำเนิดน้ำเสียประเภทที่ 1 นั้น ปัจจุบัน กทม.ยังไม่มีแนวคิดจัดเก็บ จะนำร่องกลุ่มประเภทที่ 3 ก่อน”
ทั้งนี้ เพื่อลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมต่อส่วนรวมและประชาชนทั่วไป และในเบื้องต้นคาดว่า กทม.จะสามารถจัดเก็บรายได้ส่วนนี้ต่อปีอยู่ที่ประมาณ 70 ล้านบาท
โดยทางสำนักการระบายน้ำ กทม. กำลังจัดทำร่างประกาศฉบับดังกล่าว พร้อมจัดเตรียมข้อมูลแหล่งกำเนิดน้ำเสียแต่ละประเภท รวมถึงการจัดทำบันทึกข้อตกลงกับการประปานครหลวง (กปน.) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลประกอบ และได้ประสานงานกับกองจัดเก็บรายได้ของ กทม. เพื่อพัฒนาระบบการจ่ายค่าธรรมเนียมด้วยวิธีการอิเล็กทรอนิกส์
ข้อบัญญัติฉบับแรกของปี 2547 มีสาระสำคัญระบุไว้ว่า การจัดเก็บค่าธรรมเนียมการบำบัดน้ำเสียจะมีอัตราเฉลี่ยอยู่ที่ 2-4 บาทต่อลูกบาศก์เมตร ตามแต่ประเภทของกลุ่มผู้ปล่อยน้ำเสีย ซึ่งแบ่งออกเป็น 12 ประเภท และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมนี้จะเก็บเฉพาะผู้ที่อยู่ในพื้นที่ที่มีโรงบำบัดน้ำเสียของ กทม.ตั้งอยู่ กรณีที่แหล่งกำเนิดน้ำเสียมีการบำบัดน้ำเสียอยู่แล้วจะได้รับการยกเว้นการจัดเก็บ
เผย 1,146 แห่งที่ต้องจ่าย
นางสาวเกศรัชฎา กลั่นกรอง ผู้อำนวยการ สำนักงานจัดการคุณภาพน้ำ สำนักการระบายน้ำ กทม. เปิดเผย “ประชาชาติธุรกิจ” เพิ่มเติมว่า การจัดเก็บค่าธรรมเนียมครั้งนี้จะจัดเก็บเฉพาะแหล่งกำเนิดน้ำเสียประเภทที่ 3 และไม่ได้เก็บทั่วทุกพื้นที่ของ กทม. แต่เป็นการจัดเก็บตามพื้นที่ที่มีระบบบำบัดน้ำสียของ กทม.ตั้งอยู่ ซึ่งปัจจุบันมีพื้นที่ครอบคลุม 22 เขต จากการสำรวจล่าสุดพบว่าแหล่งกำเนิดน้ำเสียประเภทที่ 3 มีทั้งสิ้น 1,146 แห่ง
ซึ่งทางสำนักงานอยู่ระหว่างการจัดทำแบบคู่ขนาน กล่าวคือ การเร่งแก้ไขร่างประกาศเพื่อจัดเก็บค่าธรรมเนียมการบำบัดน้ำเสีย โดยเฉพาะรายที่มีระบบการบำบัดน้ำเสียของตนเองนั้น ร่างที่เคยเสนอไปครั้งแรกจะให้ส่งผลตรวจสอบการบำบัดน้ำเสียทุก ๆ 1 เดือน หรือวงรอบของการจัดเก็บค่าธรรมเนียมการบำบัดน้ำเสีย ซึ่งส่งผลต่อภาระค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ จะปรับเปลี่ยนให้ส่งผลทดสอบคุณภาพน้ำในทุก 3 หรือ 6 เดือนแทน
ด้านการทำบันทึกข้อตกลงร่วมกับ กปน.นั้น อยู่ระหว่างการตรวจร่าง คาดว่าจะแล้วเสร็จในเวลาใกล้เคียงกับการออกประกาศ
แจงข้อมูลโรงบำบัดน้ำเสีย
รายงานข่าวจาก กทม.เปิดเผยว่า ปัจจุบัน กทม.มีโรงบำบัดน้ำเสียที่เปิดใช้งานอยู่ 8 โรง มีศักยภาพบำบัดน้ำเสียวันละ 1,112,000 ลูกบาศก์เมตร มีปริมาณน้ำเข้าระบบรวม 868,276 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และใช้งบประมาณในการเดินระบบบำบัดน้ำเสีย 700 ล้านบาทต่อปี ครอบคลุมเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย สัมพันธวงศ์ บางรัก พระนคร ยานนาวา สาทร บางรัก บางคอแหลม หนองแขม ภาษีเจริญ บางแค ทุ่งครุ ราษฎร์บูรณะ จอมทอง ปทุมวัน ราชเทวี ดุสิต พญาไท ดินแดง ห้วยขวาง และบางซื่อ
อยู่ระหว่างก่อสร้าง 2 ที่คือ โรงบำบัดน้ำเสียธนบุรี ครอบคลุมพื้นที่เขตบางพลัด บางกอกน้อย บางกอกใหญ่ และบางส่วนของเขตตลิ่งชัน การก่อสร้างมี 2 สัญญา วงเงิน 5,325,298,000 บาท มีศักยภาพบำบัดน้ำเสีย 160,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และเหลืออีก 1 สัญญาอยู่ระหว่างจัดซื้อจัดจ้าง
และโรงบำบัดน้ำเสียมีนบุรี ระยะที่ 1 ครอบคลุมพื้นที่เขตมีนบุรี อยู่ระหว่างก่อสร้าง วงเงิน 618,250,000 บาท มีศักยภาพบำบัดน้ำเสีย 10,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และโรงบำบัดน้ำเสียมีนบุรี ระยะที่ 2 อยู่ระหว่างขอจัดสรรงบประมาณประจำปี 2567
นอกจากนี้ ยังมีโครงการก่อสร้างโรงบำบัดน้ำเสียในแผนอีก 4 โรงคือ โรงบำบัดน้ำเสียคลองเตย บึงหนองบอน ดอนเมือง และสายไหม
ทบทวนแผนก่อสร้าง
นายวิศณุกล่าวต่ออีกว่า ในเบื้องต้นโรงบำบัดน้ำเสียที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างนั้น กทม.ไม่สามารถทบทวนได้ แต่จะกำกับงานให้แล้วเสร็จตามแผนและใช้งานได้จริง ส่วนโรงบำบัดน้ำเสียที่ยังไม่ได้ทำสัญญานั้น กทม.อยู่ระหว่างหารือเพราะปัจจุบันในการเปิดใช้โรงบำบัดน้ำเสียทั้ง 8 แห่งนั้น มีการใช้งาน 78% กทม.จึงต้องทบทวนการเร่งใช้ศักยภาพของโรงบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ให้เต็มที่ควบคู่ไปด้วย โดยจะปรับแผนการขยายพื้นที่โรงบำบัดน้ำเสียแห่งใหม่ให้มีขนาดพอเหมาะ เพื่อประหยัดงบประมาณไปพร้อม ๆ กัน
เผยงบฯ 4 พันล้าน
รายงานข่าวระบุอีกว่า โรงบำบัดน้ำเสีย 8 แห่ง ที่มีการจ้างเอกชนเดินเครื่องจักรบำบัดน้ำเสีย วงเงิน 4,235,949,000 บาทนั้น ประกอบด้วย
1.โรงบำบัดน้ำเสียหนองแขมและทุ่งครุ จ้างปี 2562-2567 วงเงิน 860,799,000 บาท
2.โรงบำบัดน้ำเสียบางซื่อ จ้างตั้งแต่ปี 2562-2567 วงเงิน 735,350,000 บาท
3.โรงบำบัดน้ำเสียช่องนนทรี จ้างปี 2562-2568 วงเงิน 982,500,000 บาท
4.โรงบำบัดน้ำเสียดินแดง จ้างปี 2564-2569 วงเงิน 982,500,000 บาท
5.โรงบำบัดน้ำเสียจตุจักร จ้างปี 2564-2569 วงเงิน 674,800,000 บาท
อย่างไรก็ตาม รองผู้ว่าฯ กทม.ย้ำว่า “กทม.ต้องเร่งดำเนินการให้โรงบำบัดน้ำเสียสามารถใช้งานได้เต็มประสิทธิภาพ เพื่อให้คุ้มค่ากับงบประมาณจริง ๆ”
วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2566 - 07:02 น.
ชัชชาติ บำบัดน้ำเสีย
“ชัชชาติ” เตรียมเก็บค่าบำบัดน้ำเสียในรอบ 19 ปี นำร่องจัดเก็บกลุ่มประเภทที่ 3 ใช้น้ำเกิน 2 พันลูกบาศก์เมตรต่อวัน เผย “โรงงาน-โรงแรม-มิกซ์ยูส” เฉพาะ 22 เขต รวม 1,146 แห่งอ่วม ส่วนประเภท 2 บ้านพัก-คอนโดฯรอด คาดลงนามยกร่างประกาศข้อบัญญัติกลางปีนี้ บิ๊ก กทม.จี้แผนงานก่อสร้างโรงบำบัดน้ำเสียแห่งใหม่ต้องคุ้มค่าและใช้ได้จริง
กรุงเทพมหานคร (กทม.) มีข้อบัญญัติที่จะจัดเก็บค่าธรรมเนียมการบำบัดน้ำเสียตั้งแต่ปี 2547 ในยุคนายสมัคร สุนทรเวช เป็นผู้ว่าราชการ กทม. แต่จนถึงวันนี้รวมระยะเวลา 19 ปี กทม.ยังไม่เคยจัดเก็บค่าธรรมเนียมดังกล่าว ล่าสุดมาถึงยุคนายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ เป็นผู้ว่าฯ กทม. มีนโยบายจะดำเนินการเรื่องนี้อย่างจริงจัง
กทม.เริ่มนับหนึ่ง
นายวิศณุ ทรัพย์สมพล รองผู้ว่าราชการ กทม. เปิดเผย “ประชาชาติธุรกิจ” ว่า ปัจจุบัน กทม. โดยสำนักการระบายน้ำอยู่ระหว่างการยกร่างประกาศข้อบัญญัติการจัดเก็บค่าธรรมเนียมการบำบัดน้ำเสียเป็นครั้งแรก ซึ่งจะลงนามโดยผู้ว่าราชการ กทม.คนปัจจุบัน ภายในเดือนมิถุนายน 2566 และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมนั้นจะเริ่มภายหลังจากมีประกาศลงนามผู้ว่าราชการ กทม.แล้ว 60 วัน
ทั้งก่อนหน้านี้ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมในรายละเอียดข้อบัญญัติดังกล่าว โดยกำหนดสาระสำคัญของแหล่งกำเนิดน้ำเสียแต่ละประเภท จากเดิม 12 ประเภท เหลือเพียง 3 ประเภท ได้แก่
แหล่งกำเนิดน้ำเสียประเภทที่ 1 แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1.บ้านเรือนที่พักอาศัย 2.อาคารชุด หรือคอนโดมิเนียม อพาร์ตเมนต์ หอพัก อัตราค่าธรรมเนียมจัดเก็บ 2 บาทต่อลูกบาศก์เมตร
แหล่งกำเนิดน้ำเสียประเภทที่ 2 แบ่งเป็น 5 ประเภทคือ 1.หน่วยงานของรัฐ อาคารทำการของหน่วยงานรัฐ 2.มูลนิธิ ศาสนสถาน 3.โรงพยาบาลและสถานพยาบาล 4.โรงเรียน 5.สถานประกอบการที่มีการใช้น้ำไม่เกิน 2,000 ลูกบาศก์เมตร อัตราค่าธรรมเนียมอยู่ที่ 4 บาทต่อลูกบาศก์เมตร
แหล่งกำเนิดน้ำเสียประเภทที่ 3 แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ 1.โรงแรม 2.โรงงานตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน และสถานประกอบการที่มีการใช้น้ำเกิน 2,000 ลูกบาศก์เมตรต่อเดือน อัตราค่าธรรมเนียม 8 บาทต่อลูกบาศก์เมตร
“การจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียครั้งนี้จะเก็บเฉพาะแหล่งกำเนิดน้ำเสียประเภทที่ 3 คือ กลุ่มโรงแรม โรงงาน และโครงการขนาดใหญ่ โดยเฉพาะ mixed use ซึ่งเป็นสถานประกอบการที่ใช้น้ำเป็นจำนวนมาก คือเดือนหนึ่งเกิน 2,000 ลูกบาศก์เมตร อัตราจัดเก็บอยู่ที่ 8 บาทต่อลูกบาศก์เมตร” นายวิศณุกล่าว และว่า
ปกติโครงการขนาดใหญ่จะต้องมีระบบบำบัดน้ำเสียของตนเองอยู่แล้ว ซึ่งถือเป็นต้นทุนการบริหารจัดการรายปีที่มีราคาสูงกว่าการจ่ายค่าบำบัดน้ำเสียให้กับ กทม. ดังนั้น การจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของ กทม.จึงเป็นหนึ่งในทางเลือกของผู้ประกอบการด้วย
“ส่วนประเภทอื่น ๆ เช่น บ้านพักที่อยู่อาศัย หรือแหล่งกำเนิดน้ำเสียประเภทที่ 1 นั้น ปัจจุบัน กทม.ยังไม่มีแนวคิดจัดเก็บ จะนำร่องกลุ่มประเภทที่ 3 ก่อน”
ทั้งนี้ เพื่อลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมต่อส่วนรวมและประชาชนทั่วไป และในเบื้องต้นคาดว่า กทม.จะสามารถจัดเก็บรายได้ส่วนนี้ต่อปีอยู่ที่ประมาณ 70 ล้านบาท
โดยทางสำนักการระบายน้ำ กทม. กำลังจัดทำร่างประกาศฉบับดังกล่าว พร้อมจัดเตรียมข้อมูลแหล่งกำเนิดน้ำเสียแต่ละประเภท รวมถึงการจัดทำบันทึกข้อตกลงกับการประปานครหลวง (กปน.) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลประกอบ และได้ประสานงานกับกองจัดเก็บรายได้ของ กทม. เพื่อพัฒนาระบบการจ่ายค่าธรรมเนียมด้วยวิธีการอิเล็กทรอนิกส์
ข้อบัญญัติฉบับแรกของปี 2547 มีสาระสำคัญระบุไว้ว่า การจัดเก็บค่าธรรมเนียมการบำบัดน้ำเสียจะมีอัตราเฉลี่ยอยู่ที่ 2-4 บาทต่อลูกบาศก์เมตร ตามแต่ประเภทของกลุ่มผู้ปล่อยน้ำเสีย ซึ่งแบ่งออกเป็น 12 ประเภท และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมนี้จะเก็บเฉพาะผู้ที่อยู่ในพื้นที่ที่มีโรงบำบัดน้ำเสียของ กทม.ตั้งอยู่ กรณีที่แหล่งกำเนิดน้ำเสียมีการบำบัดน้ำเสียอยู่แล้วจะได้รับการยกเว้นการจัดเก็บ
เผย 1,146 แห่งที่ต้องจ่าย
นางสาวเกศรัชฎา กลั่นกรอง ผู้อำนวยการ สำนักงานจัดการคุณภาพน้ำ สำนักการระบายน้ำ กทม. เปิดเผย “ประชาชาติธุรกิจ” เพิ่มเติมว่า การจัดเก็บค่าธรรมเนียมครั้งนี้จะจัดเก็บเฉพาะแหล่งกำเนิดน้ำเสียประเภทที่ 3 และไม่ได้เก็บทั่วทุกพื้นที่ของ กทม. แต่เป็นการจัดเก็บตามพื้นที่ที่มีระบบบำบัดน้ำสียของ กทม.ตั้งอยู่ ซึ่งปัจจุบันมีพื้นที่ครอบคลุม 22 เขต จากการสำรวจล่าสุดพบว่าแหล่งกำเนิดน้ำเสียประเภทที่ 3 มีทั้งสิ้น 1,146 แห่ง
ซึ่งทางสำนักงานอยู่ระหว่างการจัดทำแบบคู่ขนาน กล่าวคือ การเร่งแก้ไขร่างประกาศเพื่อจัดเก็บค่าธรรมเนียมการบำบัดน้ำเสีย โดยเฉพาะรายที่มีระบบการบำบัดน้ำเสียของตนเองนั้น ร่างที่เคยเสนอไปครั้งแรกจะให้ส่งผลตรวจสอบการบำบัดน้ำเสียทุก ๆ 1 เดือน หรือวงรอบของการจัดเก็บค่าธรรมเนียมการบำบัดน้ำเสีย ซึ่งส่งผลต่อภาระค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ จะปรับเปลี่ยนให้ส่งผลทดสอบคุณภาพน้ำในทุก 3 หรือ 6 เดือนแทน
ด้านการทำบันทึกข้อตกลงร่วมกับ กปน.นั้น อยู่ระหว่างการตรวจร่าง คาดว่าจะแล้วเสร็จในเวลาใกล้เคียงกับการออกประกาศ
แจงข้อมูลโรงบำบัดน้ำเสีย
รายงานข่าวจาก กทม.เปิดเผยว่า ปัจจุบัน กทม.มีโรงบำบัดน้ำเสียที่เปิดใช้งานอยู่ 8 โรง มีศักยภาพบำบัดน้ำเสียวันละ 1,112,000 ลูกบาศก์เมตร มีปริมาณน้ำเข้าระบบรวม 868,276 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และใช้งบประมาณในการเดินระบบบำบัดน้ำเสีย 700 ล้านบาทต่อปี ครอบคลุมเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย สัมพันธวงศ์ บางรัก พระนคร ยานนาวา สาทร บางรัก บางคอแหลม หนองแขม ภาษีเจริญ บางแค ทุ่งครุ ราษฎร์บูรณะ จอมทอง ปทุมวัน ราชเทวี ดุสิต พญาไท ดินแดง ห้วยขวาง และบางซื่อ
อยู่ระหว่างก่อสร้าง 2 ที่คือ โรงบำบัดน้ำเสียธนบุรี ครอบคลุมพื้นที่เขตบางพลัด บางกอกน้อย บางกอกใหญ่ และบางส่วนของเขตตลิ่งชัน การก่อสร้างมี 2 สัญญา วงเงิน 5,325,298,000 บาท มีศักยภาพบำบัดน้ำเสีย 160,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และเหลืออีก 1 สัญญาอยู่ระหว่างจัดซื้อจัดจ้าง
และโรงบำบัดน้ำเสียมีนบุรี ระยะที่ 1 ครอบคลุมพื้นที่เขตมีนบุรี อยู่ระหว่างก่อสร้าง วงเงิน 618,250,000 บาท มีศักยภาพบำบัดน้ำเสีย 10,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และโรงบำบัดน้ำเสียมีนบุรี ระยะที่ 2 อยู่ระหว่างขอจัดสรรงบประมาณประจำปี 2567
นอกจากนี้ ยังมีโครงการก่อสร้างโรงบำบัดน้ำเสียในแผนอีก 4 โรงคือ โรงบำบัดน้ำเสียคลองเตย บึงหนองบอน ดอนเมือง และสายไหม
ทบทวนแผนก่อสร้าง
นายวิศณุกล่าวต่ออีกว่า ในเบื้องต้นโรงบำบัดน้ำเสียที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างนั้น กทม.ไม่สามารถทบทวนได้ แต่จะกำกับงานให้แล้วเสร็จตามแผนและใช้งานได้จริง ส่วนโรงบำบัดน้ำเสียที่ยังไม่ได้ทำสัญญานั้น กทม.อยู่ระหว่างหารือเพราะปัจจุบันในการเปิดใช้โรงบำบัดน้ำเสียทั้ง 8 แห่งนั้น มีการใช้งาน 78% กทม.จึงต้องทบทวนการเร่งใช้ศักยภาพของโรงบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ให้เต็มที่ควบคู่ไปด้วย โดยจะปรับแผนการขยายพื้นที่โรงบำบัดน้ำเสียแห่งใหม่ให้มีขนาดพอเหมาะ เพื่อประหยัดงบประมาณไปพร้อม ๆ กัน
เผยงบฯ 4 พันล้าน
รายงานข่าวระบุอีกว่า โรงบำบัดน้ำเสีย 8 แห่ง ที่มีการจ้างเอกชนเดินเครื่องจักรบำบัดน้ำเสีย วงเงิน 4,235,949,000 บาทนั้น ประกอบด้วย
1.โรงบำบัดน้ำเสียหนองแขมและทุ่งครุ จ้างปี 2562-2567 วงเงิน 860,799,000 บาท
2.โรงบำบัดน้ำเสียบางซื่อ จ้างตั้งแต่ปี 2562-2567 วงเงิน 735,350,000 บาท
3.โรงบำบัดน้ำเสียช่องนนทรี จ้างปี 2562-2568 วงเงิน 982,500,000 บาท
4.โรงบำบัดน้ำเสียดินแดง จ้างปี 2564-2569 วงเงิน 982,500,000 บาท
5.โรงบำบัดน้ำเสียจตุจักร จ้างปี 2564-2569 วงเงิน 674,800,000 บาท
อย่างไรก็ตาม รองผู้ว่าฯ กทม.ย้ำว่า “กทม.ต้องเร่งดำเนินการให้โรงบำบัดน้ำเสียสามารถใช้งานได้เต็มประสิทธิภาพ เพื่อให้คุ้มค่ากับงบประมาณจริง ๆ”
วินัย + แผนการ + ลงรายละเอียด => ขุดหุ้น
fb fanpage : https://www.facebook.com/stockinvestigator
fb fanpage : https://www.facebook.com/stockinvestigator