เงินออม=เงินลงทุน
-
- Verified User
- โพสต์: 18364
- ผู้ติดตาม: 1
เงินออม=เงินลงทุน
โพสต์ที่ 1
เมื่อวานไปอ่านเจอในเศรษฐศาสตร์มหภาคกล่าวถึงเรื่องการออมในแง่ที่ว่าเงินออม=เงินลงทุนทุกเหตุการณ์
แต่อ่านไปอ่านมายิ่งงง
เพราะเจออันที่ขัดแย้งในเรื่องที่ว่า
ยิ่งออมมาทำให้เศรษฐกิจไม่เจริญเติบโต
ไงเป็นแบบนั้นไปได้ล่ะเนี่ย
ทำให้สับสนว่า เงินออม=เงินลงทุน มันจริงหรือ
แต่อ่านไปอ่านมายิ่งงง
เพราะเจออันที่ขัดแย้งในเรื่องที่ว่า
ยิ่งออมมาทำให้เศรษฐกิจไม่เจริญเติบโต
ไงเป็นแบบนั้นไปได้ล่ะเนี่ย
ทำให้สับสนว่า เงินออม=เงินลงทุน มันจริงหรือ
- สุมาอี้
- Verified User
- โพสต์: 4576
- ผู้ติดตาม: 0
เงินออม=เงินลงทุน
โพสต์ที่ 4
ถ้าเศรษฐกิจเป็นระบบปิด เงินออมเท่ากับเงินลงทุนเสมอครับ
ถ้าเป็นระบบเปิด เงินออมในประเทศบวกเงินทุนไหลเข้าจากต่างประเทศเท่ากับเงินลงทุนเสมอครับ
การออมมากๆ จะช่วยดึงดอกเบี้ยให้ต่ำเป็นการส่งเสริมการลงทุนจึงเป็นประโยชน์ต่ออัตราการเติบโตของเศรษฐกิจในระยะยาวครับ
ถ้าเป็นระบบเปิด เงินออมในประเทศบวกเงินทุนไหลเข้าจากต่างประเทศเท่ากับเงินลงทุนเสมอครับ
การออมมากๆ จะช่วยดึงดอกเบี้ยให้ต่ำเป็นการส่งเสริมการลงทุนจึงเป็นประโยชน์ต่ออัตราการเติบโตของเศรษฐกิจในระยะยาวครับ
http://dekisugi.net
ไม่ค่อยได้เช็ค PM เลยครับ ต้องการติดต่อผม อีเมลไปที่ [email protected] จะชัวร์กว่าครับ
ไม่ค่อยได้เช็ค PM เลยครับ ต้องการติดต่อผม อีเมลไปที่ [email protected] จะชัวร์กว่าครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 5786
- ผู้ติดตาม: 0
Re: เงินออม=เงินลงทุน
โพสต์ที่ 5
All investment in new capital goods must be financed in some manner. In a closed economy without trade or international capital flows, the funding for investment would be provided entirely by the country's national saving. By definition, national saving is the sum of saving done by households (for example, through contributions to employer-sponsored 401k accounts) and saving done by businesses (in the form of retained earnings) less any budget deficit run by the government (which is a use rather than a source of saving).miracle เขียน:เมื่อวานไปอ่านเจอในเศรษฐศาสตร์มหภาคกล่าวถึงเรื่องการออมในแง่ที่ว่าเงินออม=เงินลงทุนทุกเหตุการณ์
แต่อ่านไปอ่านมายิ่งงง
เพราะเจออันที่ขัดแย้งในเรื่องที่ว่า
ยิ่งออมมาทำให้เศรษฐกิจไม่เจริญเติบโต
ไงเป็นแบบนั้นไปได้ล่ะเนี่ย
ทำให้สับสนว่า เงินออม=เงินลงทุน มันจริงหรือ
http://www.federalreserve.gov/boarddocs ... efault.htm
"Winners never quit, and quitters never win."
- leaderinshadow
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 1765
- ผู้ติดตาม: 0
เงินออม=เงินลงทุน
โพสต์ที่ 9
น่าจะอยู่ที่ผลตอบแทนของเงินที่ออมนั้นๆหรือเปล่าครับ
เช่น
ฝากแบงค์
ดอกเบี้ยออมทรัพย์ 0.75%
เงิน 1 ล้าน จะสร้างรายได้ให้ปีละ 7,500 บาท
ดอกเบี้ยฝากประจำ 4%
เงินออม 1 ล้าน จะสร้างรายได้ให้ปีละ 40,000บาท
ซื้อตราสารหนี้ ผลตอบแทน 5-7%
เงิน 1 ล้าน จะสร้างรายได้ให้ปีละ 5-7 หมื่นบาท
ลงทุนแบบ VI ให้ตอบแทน 15-30 %
เงิน 1 ล้าน จะสร้างผลตอบแทนให้ 1.5-3 แสนบาท
ลงทุนในธุรกิจหรือทำธุรกิจเอง แบบให้ผลตอบแทนสูงกว่า 20 %
เงิน 1 ล้าน จะสร้างรายได้ให้ไม่ต่ำกว่าปีละ 200,000 บาท
แถมเกิดการจ้างงาน สร้างรายได้ขึ้นอีกด้วย
ส่วนในทางเศรษฐศาสตร์มหภาค การคิด GDP ในด้านของรายจ่ายคือ
C+I+G+(X-M)
ซึ่งเงินออม=เงินลงทุน (I = investment)
เพราะเงินที่เราเหลือจากการบริโภคก็คือเงินออม และเงินออมของเราก็จะนำไปฝากแบงค์
และแบงค์ก็จะนำเงินฝากของเราไปลงทุนต่อ ดังนั้นเงินออมของเราก็คือเงินลงทุนในระบบเศรษฐกิจนั่นเอง
แต่การที่เราออมมากเกินไป จะไปทำให้ตัว C หรือการบริโภคที่ลดลง
เมื่อการบริโภคลดลง ก็จะกระทบกับตัว I เพราะนักธุรกิจจะลงทุนในธุรกิจเพือตอบสนองการบริโภค ดังนั้นเมื่อการบริโภคชะลอตัวลง นักธุรกิจก็จะไม่ลงทุนเพิ่ม
เมื่อนักลงทุนไม่ลงทุนเพิ่ม ก็ไม่ต้องไปกู้แบงค์ เมื่อแบงค์ปล่อยกู้ไม่ได้
เงินก็จะดองอยู่ในแบงค์ ไม่เกิดการหมุนเวียนหรือเกิดการสร้างรายได้ขึ้นมา
ซึ่งแบงค์ก็ต้องลดดอกเบี้ย เพื่อให้ต้นทุนเงินฝากลดลง ซึ่งก็ส่งผลให้ผลตอบแทนในการของเงินฝากลดลง
และเมื่อผลตอบแทนลดก็จะส่งผลให้รายได้ของผู้ฝากเงิน ลดลงด้วยประการฉะนี้
ถ้าผิดพลาดประการใด ก็ขอคำชี้แนะเพิ่มเติมด้วยนะครับ
-----------------------
เช่น
ฝากแบงค์
ดอกเบี้ยออมทรัพย์ 0.75%
เงิน 1 ล้าน จะสร้างรายได้ให้ปีละ 7,500 บาท
ดอกเบี้ยฝากประจำ 4%
เงินออม 1 ล้าน จะสร้างรายได้ให้ปีละ 40,000บาท
ซื้อตราสารหนี้ ผลตอบแทน 5-7%
เงิน 1 ล้าน จะสร้างรายได้ให้ปีละ 5-7 หมื่นบาท
ลงทุนแบบ VI ให้ตอบแทน 15-30 %
เงิน 1 ล้าน จะสร้างผลตอบแทนให้ 1.5-3 แสนบาท
ลงทุนในธุรกิจหรือทำธุรกิจเอง แบบให้ผลตอบแทนสูงกว่า 20 %
เงิน 1 ล้าน จะสร้างรายได้ให้ไม่ต่ำกว่าปีละ 200,000 บาท
แถมเกิดการจ้างงาน สร้างรายได้ขึ้นอีกด้วย
ส่วนในทางเศรษฐศาสตร์มหภาค การคิด GDP ในด้านของรายจ่ายคือ
C+I+G+(X-M)
ซึ่งเงินออม=เงินลงทุน (I = investment)
เพราะเงินที่เราเหลือจากการบริโภคก็คือเงินออม และเงินออมของเราก็จะนำไปฝากแบงค์
และแบงค์ก็จะนำเงินฝากของเราไปลงทุนต่อ ดังนั้นเงินออมของเราก็คือเงินลงทุนในระบบเศรษฐกิจนั่นเอง
แต่การที่เราออมมากเกินไป จะไปทำให้ตัว C หรือการบริโภคที่ลดลง
เมื่อการบริโภคลดลง ก็จะกระทบกับตัว I เพราะนักธุรกิจจะลงทุนในธุรกิจเพือตอบสนองการบริโภค ดังนั้นเมื่อการบริโภคชะลอตัวลง นักธุรกิจก็จะไม่ลงทุนเพิ่ม
เมื่อนักลงทุนไม่ลงทุนเพิ่ม ก็ไม่ต้องไปกู้แบงค์ เมื่อแบงค์ปล่อยกู้ไม่ได้
เงินก็จะดองอยู่ในแบงค์ ไม่เกิดการหมุนเวียนหรือเกิดการสร้างรายได้ขึ้นมา
ซึ่งแบงค์ก็ต้องลดดอกเบี้ย เพื่อให้ต้นทุนเงินฝากลดลง ซึ่งก็ส่งผลให้ผลตอบแทนในการของเงินฝากลดลง
และเมื่อผลตอบแทนลดก็จะส่งผลให้รายได้ของผู้ฝากเงิน ลดลงด้วยประการฉะนี้
ถ้าผิดพลาดประการใด ก็ขอคำชี้แนะเพิ่มเติมด้วยนะครับ
-----------------------
- picatos
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 3352
- ผู้ติดตาม: 1
เงินออม=เงินลงทุน
โพสต์ที่ 10
เท่าที่เข้าใจ
ในระบบปิด
GDP = C + I + G
แต่ GDP = Income ของทั้งระบบ
และ GDP = Income after tax ของ Private + Income ของ Government
ซึ่ง Income ของ Goverment = Tax
ขอเรียก Income after tax ของ Private ว่า Income
สุดท้าย
GDP = Income(1-Saving) + Income*Saving + Tax
GDP = C + I + G
นอกจากนี้ interest rate ในเศรษฐศาสตร์มีตัวเดียว คือ r
ซึ่ง r จาก Saving จะเท่ากับ r ของ Investment
อีกทั้ง definition ของ Saving กับ Investment ในหลักเศรษฐศาสตร์นี่ ไม่เหมือนกับหลักการลงทุนครับ
ไม่แน่ใจว่าเข้าใจถูกรึเปล่านะครับ ลองเปิด ๆ หนังสือดูละกัน
ในระบบปิด
GDP = C + I + G
แต่ GDP = Income ของทั้งระบบ
และ GDP = Income after tax ของ Private + Income ของ Government
ซึ่ง Income ของ Goverment = Tax
ขอเรียก Income after tax ของ Private ว่า Income
สุดท้าย
GDP = Income(1-Saving) + Income*Saving + Tax
GDP = C + I + G
นอกจากนี้ interest rate ในเศรษฐศาสตร์มีตัวเดียว คือ r
ซึ่ง r จาก Saving จะเท่ากับ r ของ Investment
อีกทั้ง definition ของ Saving กับ Investment ในหลักเศรษฐศาสตร์นี่ ไม่เหมือนกับหลักการลงทุนครับ
ไม่แน่ใจว่าเข้าใจถูกรึเปล่านะครับ ลองเปิด ๆ หนังสือดูละกัน