ใครรู้จัก อัตราส่วน p/e ทางการเงินบ้าง มีเรื่องจะถาม ช่วยหน
-
- Verified User
- โพสต์: 65
- ผู้ติดตาม: 0
คำถามเพิ่มเติมคราบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ
โพสต์ที่ 3
อย่างเช่นถ้าบริษัทนึงต้องการแตกหุ้นเพื่อที่จะเพิ่มจำนวนหุ้น เพราะเขาต้องการที่จะทำให้ราคาตลาดของหุ้น ลดลง
-------------อย่างนี้ ก็เรียกว่า เมื่อเพิ่มหุ้นจะทำให้ราคาตลาดลดลง-----------
แต่ถ้าดูที่อัตราส่วน p/e =ราคาตลาด/[กำไรสุทธิ/จำนวนหุ้น]
เมื่อดูตามหลัดคณิศาสตร์แล้ว จะเห็นว่า เมื่อ จำนวนหุ้นเพิ่ม แล้ว epsจะลด
แล้วp/e จะเพิ่ม
-------- อย่างงี้ เรียกว่า จำนวนหุ้นเพิ่มทำให้ ราคาตลาดเพิ่ม-------------------
ก็เลย งงงงงงงงงงงงงงงงงงงงง เพราะมันขัดแย้ง กัน ด้วยประการฉะนี้แล---------------------------------------------------------------------------------------
-------------อย่างนี้ ก็เรียกว่า เมื่อเพิ่มหุ้นจะทำให้ราคาตลาดลดลง-----------
แต่ถ้าดูที่อัตราส่วน p/e =ราคาตลาด/[กำไรสุทธิ/จำนวนหุ้น]
เมื่อดูตามหลัดคณิศาสตร์แล้ว จะเห็นว่า เมื่อ จำนวนหุ้นเพิ่ม แล้ว epsจะลด
แล้วp/e จะเพิ่ม
-------- อย่างงี้ เรียกว่า จำนวนหุ้นเพิ่มทำให้ ราคาตลาดเพิ่ม-------------------
ก็เลย งงงงงงงงงงงงงงงงงงงงง เพราะมันขัดแย้ง กัน ด้วยประการฉะนี้แล---------------------------------------------------------------------------------------
วัฒนา
-
- Verified User
- โพสต์: 65
- ผู้ติดตาม: 0
แล้วถ้าราคาตลาดไม่เปลี่ยนแปลงเขาจะแตกหุ้นไปเพื่ออะไรล่ะคราบ
โพสต์ที่ 5
จะสังเกตุได้ว่าราคาตลาดไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงเลย---------------------------------------------------------------------
แล้วถ้าราคาตลาดไม่เปลี่ยนแปลงเขาจะแตกหุ้นไปเพื่ออะไรล่ะคราบ
แล้วถ้าราคาตลาดไม่เปลี่ยนแปลงเขาจะแตกหุ้นไปเพื่ออะไรล่ะคราบ
วัฒนา
-
- Verified User
- โพสต์: 3763
- ผู้ติดตาม: 0
Re: แล้วถ้าราคาตลาดไม่เปลี่ยนแปลงเขาจะแตกหุ้นไปเพื่ออะไรล่ะค
โพสต์ที่ 6
อย่างที่บอกครับ ในมุมมองของมูลค่าของบริษัทนั้นจะไม่ได้เปลี่ยนแปลงเลย ที่เปลี่ยนแปลงคือมุมมองของนักลงทุนครับ นักลงทุนหลายคนจะมีการนำปัจจัยเรื่องสภาพคล่องของหุ้นมาเป็นตัวตัดสินใจการลงทุนด้วยครับ การแตกหุ้นนั้นบางครั้งทำไปเพื่อที่จะให้ดูเสมือนว่าผู้ถือหุ้นมีจำนวนหุ้นมากขึ้นซึ่งอาจจะช่วยชักนำให้เกิดปริมาณการซื้อขายที่มากขึ้นdinnn เขียน:จะสังเกตุได้ว่าราคาตลาดไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงเลย---------------------------------------------------------------------
แล้วถ้าราคาตลาดไม่เปลี่ยนแปลงเขาจะแตกหุ้นไปเพื่ออะไรล่ะคราบ
ลองนึกดูเล่นๆ นะครับ มีสองบริษัทที่มีทุกอย่างเหมือนกันจดทะเบียนอยู่ในตลาดฯ ต่างกันเพียงแค่บริษัทนึงนักลงทุนสามารถซื้อขายราคาได้ตลอดเวลา กับ อีกบริษัทต้องรอซื้อ ขายเฉพาะตอน Call Market เท่านั้น นักลงทุนส่วนใหญ่อยากจะลงทุนกับบริษัทไหนมากกว่ากันครับ?
Impossible is Nothing
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 14784
- ผู้ติดตาม: 1
ใครรู้จัก อัตราส่วน p/e ทางการเงินบ้าง มีเรื่องจะถาม ช่วยหน
โพสต์ที่ 8
หุ้นทั้งบริษัท มูลค่า 100 ล้าน มี 10 ล้านหุ้น หุ้นละ 10 บาท กำไร 20 ล้าน
pe คือราคาทั้งบริษัท / กำไร เท่ากับ 100/20 เท่ากับ 5
ราคาในตลาดเท่ากับ 100/10 เท่ากับ 10 บาท
eps เท่ากับ 20/10 เท่ากับ 2 บาท
pe ก็คือ 10/2 เท่ากับ 5 บาท
สมมุติว่า แตกหุ้น เป็น 20 ล้านหุ้น ราคาในตลาดจะเหลือ 100 ล้าน/20 เท่ากับ 5 บาท
ในขณะที่ eps ก็เท่ากับ 20/20 เท่ากับ 1 บาท
pe ก็เท่ากับ 5/1 เท่ากับ 5 อยู่ดีครับ
เวลาผมคำนวณ pe เพื่อไม่ให้สับสน เพราะหุ้น บางครั้ง มีการเพิ่ม หรือลด และ อยู่ในระหว่างจดทะเบียน ทำให้ เราสับสน
ก็ใช้วิธี ทั้งบริษัทราคาเท่าไร หารด้วย กำไรปีนั้น ก็จะได้ pe ครับ
pe คือราคาทั้งบริษัท / กำไร เท่ากับ 100/20 เท่ากับ 5
ราคาในตลาดเท่ากับ 100/10 เท่ากับ 10 บาท
eps เท่ากับ 20/10 เท่ากับ 2 บาท
pe ก็คือ 10/2 เท่ากับ 5 บาท
สมมุติว่า แตกหุ้น เป็น 20 ล้านหุ้น ราคาในตลาดจะเหลือ 100 ล้าน/20 เท่ากับ 5 บาท
ในขณะที่ eps ก็เท่ากับ 20/20 เท่ากับ 1 บาท
pe ก็เท่ากับ 5/1 เท่ากับ 5 อยู่ดีครับ
เวลาผมคำนวณ pe เพื่อไม่ให้สับสน เพราะหุ้น บางครั้ง มีการเพิ่ม หรือลด และ อยู่ในระหว่างจดทะเบียน ทำให้ เราสับสน
ก็ใช้วิธี ทั้งบริษัทราคาเท่าไร หารด้วย กำไรปีนั้น ก็จะได้ pe ครับ
- Sumotin
- Verified User
- โพสต์: 1141
- ผู้ติดตาม: 0
ใครรู้จัก อัตราส่วน p/e ทางการเงินบ้าง มีเรื่องจะถาม ช่วยหน
โพสต์ที่ 9
P/E คือ อัตราส่วน ราคาตลาดต่อEPS ถ้าเพิ่มหุ้น โดยการออกหุ้นใหม่ จะทำให้ EPS ต่ำลง เพราะมีจำนวนหุ้นเพิ่มขึ้น โดยส่วนแบ่งต่อคน อาจจะไม่เท่าเดิม เช่น วอร์ หรือ มีการออกหุ้นเพิ่ม โดยมากจะมอง ในทางไม่ดี เพราะว่าทำไม บริษัทต้องเพิ่มทุนในเมื่อ มีทางอื่นให้ทำเช่นกู้เพิ่ม ส่วนนี้จะทำให้ EPS ต่ำลง และทำให้เกิดการลดลงของราคา หุ้น ด้วย ซึ่ง ค่า P/E ก็จะไม่เปลี่ยนแปลงมาก
ถ้าตามทางคณิตศาสตร์ EPS ลด จะทำให้ P/E เพิ่ม แต่ไม่ใช่ราคาตลาดเพิ่มเพราะ ราคาตลาดคือ P ซึ่งสมมติให้คงที่ ทางคณิตศาสตร์
แต่ถ้าเป็นการ แตก par จะไม่เกิด การเปลี่ยน ของ P/E เช่นกัน เพราะ ทันทีที่ประการ ราคาก็ลดลง ตาม อัตราส่วน ที่แตก par ไป ทำให้ P/E ส่วนใหญ่จะคงที่ในตอนแรก
หลังจากนั้น ราคาจะสูงขึ้น โดยส่วนใหญ่เพราะ การแตก par เป็นการเพิ่ม liqiudity และ ส่วนใหญ่จะแตก par ในช่วงที่ ธุรกิจของ บริษัทดี อย่างเช่นปีที่แล้ว RS ก็พึ่งทำไป ที่ turnaround ราคาตอนแรก par 5 วิ่งจาก 15--->25 ได้ แล้วก็แตก เหลือ par 1 เป็น 3-->5.5-->now 4.8
ตามที่ผมเข้าใจครับผิดถูกประการใดเสริมได้ ครับ
ถ้าตามทางคณิตศาสตร์ EPS ลด จะทำให้ P/E เพิ่ม แต่ไม่ใช่ราคาตลาดเพิ่มเพราะ ราคาตลาดคือ P ซึ่งสมมติให้คงที่ ทางคณิตศาสตร์
แต่ถ้าเป็นการ แตก par จะไม่เกิด การเปลี่ยน ของ P/E เช่นกัน เพราะ ทันทีที่ประการ ราคาก็ลดลง ตาม อัตราส่วน ที่แตก par ไป ทำให้ P/E ส่วนใหญ่จะคงที่ในตอนแรก
หลังจากนั้น ราคาจะสูงขึ้น โดยส่วนใหญ่เพราะ การแตก par เป็นการเพิ่ม liqiudity และ ส่วนใหญ่จะแตก par ในช่วงที่ ธุรกิจของ บริษัทดี อย่างเช่นปีที่แล้ว RS ก็พึ่งทำไป ที่ turnaround ราคาตอนแรก par 5 วิ่งจาก 15--->25 ได้ แล้วก็แตก เหลือ par 1 เป็น 3-->5.5-->now 4.8
ตามที่ผมเข้าใจครับผิดถูกประการใดเสริมได้ ครับ
- Sumotin
- Verified User
- โพสต์: 1141
- ผู้ติดตาม: 0
ใครรู้จัก อัตราส่วน p/e ทางการเงินบ้าง มีเรื่องจะถาม ช่วยหน
โพสต์ที่ 10
เสริมอีกนิด จากที่นายถาม คือเค้าต้องการลดราคาหุ้นโดยการ เพิ่มจำนวนหุ้น แต่เค้าไม่ได้พูดถึงการเปลี่ยนแปลงของ P/E เพราะ ฉะนั้นนายก็ต้อง set ค่า P/E คงที่ สิ ค่าที่เปลี่ยนไป ก็จะเป็น ค่า P ที่เนื่องมาจาก EPS ที่เปลี่ยนไป ค่า P/E จะไม่มีทางเพิ่มขึ้น ยกเว้น นายจะไป fix ค่า P ให้มันคงที่ ซึ่งในความเป็นจริง มันเป็นไปไม่ได้ เพราะไม่มีใคร จะ ยอมซื้อหุ้นที่ โดนส่วนแบ่งมากกว่าเดิมในราคาเท่าเดิม หนะ OK ยัง
- Mon money
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 3134
- ผู้ติดตาม: 0
ใครรู้จัก อัตราส่วน p/e ทางการเงินบ้าง มีเรื่องจะถาม ช่วยหน
โพสต์ที่ 11
นี่แน่ะ ไอ้เสีย...
การเพิ่มจำนวนหุ้นด้วยการแตกparนั้น เป็นการหวังว่าจะเพิ่ม Supplyให้กับหุ้นนั้นๆ แต่กำไรมันไม่ได้เพิ่มตามจำนวนหุ้นที่แตกออกมากำไรสุทธิมันเท่าเดิม การทำอย่างนี้บ้างก็สมหวัง ราคาขึ้น(PE เพิ่มชึ้น)เพราะซื้อง่ายขายคล่อง บ้างก็ไม่สมหวัง(PE เท่าเดิม หรือลดลง)
การเพิ่มจำนวนหุ้นอีกแบบหนึ่งคือไม่แตกpar แต่เพิ่มทุน เพิ่มจำนวนหุ้นเข้าไปอีก อันนี้ทำให้กำไรต่อหุ้น ลดลง ถ้าราคาไม่เปลี่ยนแปลง PE จะสูงขึ้น
การเพิ่มจำนวนหุ้นด้วยการแตกparนั้น เป็นการหวังว่าจะเพิ่ม Supplyให้กับหุ้นนั้นๆ แต่กำไรมันไม่ได้เพิ่มตามจำนวนหุ้นที่แตกออกมากำไรสุทธิมันเท่าเดิม การทำอย่างนี้บ้างก็สมหวัง ราคาขึ้น(PE เพิ่มชึ้น)เพราะซื้อง่ายขายคล่อง บ้างก็ไม่สมหวัง(PE เท่าเดิม หรือลดลง)
การเพิ่มจำนวนหุ้นอีกแบบหนึ่งคือไม่แตกpar แต่เพิ่มทุน เพิ่มจำนวนหุ้นเข้าไปอีก อันนี้ทำให้กำไรต่อหุ้น ลดลง ถ้าราคาไม่เปลี่ยนแปลง PE จะสูงขึ้น
เป็นบุญหนักหนาเหลือเกินที่ได้เกิดมาเป็นคนไทย เป็นคนไทยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ