โซรอสได้ขยายความแนวคิดของเค้าโดยการเขียนอธิบายลงในหนังสือ "เล่นแร่แปรธาตุทางการเงิน "
concept of reflexivity
-เป็นเหตุการที่ Participant มีความนึกคิด ที่มีความสัมพันธ์ 2 ทาง (ไป-กลับ) ระหว่าง ความนึกคิดของ participant และ สถานการณ์ที่ participant เข้าไปมีส่วนร่วม
-ในทางหนึ่ง(Fn. A) Participant เสาะแสวงหา , ต้องการเข้าใจความเป็นจริง
-แต่อีกทาง(Fn. B) Participant ต้องการผลลัพท์ที่ตนต้องการ
ซึ่งฟังก์ชั่นทั้งสองนี้ ทำงานในทิศทางที่ตรงกันข้าม
* ใน cognitive fn. ความจริงเป็นสิ่งที่โจทย์ให้มา
* Participating fn. ความเข้าใจของ participant เป็นค่าคงที่
( Participant fn = ฟังก์ชันของการมีส่วนร่วมของ participant ในสถานการณ์ที่เกิดขึ้น )
ทั้งสอง Fn. นี้สามารถข้องเกี่ยวกันได้โดยการ Render (แปลความ) ซึ่งกันและกัน ว่าอะไรเป็นสารตั้งต้นจริงๆ(สิ่งที่โจทย์ให้มา) ซึ่งทั้ง2 fn.นี้จะพึ่งพาซึ่งกันและกัน
การแทรกแซงของ Fn. ทั้งสองในลักษณะนี้ เราเรียกว่า reflexivity
Soros ให้จินตภาพของ reflexivity เป็น loop ผลลัพท์ (feed back loop) ระหว่าง Participant fn. (ความเข้าใจของ participant ) และ Cognitive fn. (เหตุการณ์ที่ participant มีส่วนร่วมอยู่ )
* Reflexivity จะสะท้อนถึง ความเข้าใจ/ความนึกคิดของ participant ที่ไม่สมบูรณ์ ซึ่งตอกย้ำว่า การกระทำของพวกเขาจะนำไปสู่ผลลัพท์ที่พวกเขาไม่ได้คาดหวังไว้
ธรรมชาติของการแทรกแซงระหว่าง cognitive และ participating Fn. นั้นไม่ใช่เรื่องง่าย ซึ่งนัยสำคัญของการแทรกแซงนี้ยังไม่สามารถทำความเข้าใจได้อย่างสมบูรณ์ (ตัวโซรอสเองก็ยังทำความเข้าใจได้ไม่สมบูรณ์เ่ช่นกัน)
-กระบวนการ/วิธีการ ที่สัมผัสของเราทำงาน รูปแบบรากฐานของภาษาที่เราใช้ และปัจจัยอื่นๆอีกมากมาย ที่รวมเข้าด้วยกันเพื่อสะท้อน(แสดง) ให้เห็นว่าความเข้าใจของเรานั้นไม่สมบูรณ์
*แต่กระนั้น ความไม่สมบูรณ์ อันเป็นผลมาจาก reflexivity นั้นมีความจำเนาะเจาะจงมากกว่า และยังต้องการการอธิบายเพิ่มเติม ความสมไม่บูรณ์ที่ว่านี่เองที่ต้องยกมากล่าวถึง เพราะพวกเรานั่นเองต่างก็เป็น participant ในสถานการณ์ต่างๆ
*แต่เมื่อเราอยู่ในบทบาทของผู้สังเกตุการณ์จากภายนอก (out side observer) ตัวเรานั้นจะมีความสามารถในการชี้แจงสิ่งที่ สองคล้อง/สัมพันธ์ กับ ข้อเท็จจริง หรือ ไม่สอดคล้อง/ไม่สัมพันธ์ กับข้อเท็จจริง ได้โดยไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง
*เมื่อเราอยู่ในบทบาท participant การกระทำของเราจะเปลี่ยนแปลง/กระทบ ต่อสถานการณ์ที่เราจะพยามจะเข้าใจ ซึ่งจะส่งผลให้เราไม่สามารถ อิงการตัดสินใจของเราไว้บนความรู้ของเราได้
Soros 's note (อันนี้เป็น short note -ของเค้านะครับ)
* เมื่อเป็น participant พฤติกรรม/การกระทำของเรา จะส่งผลโดยตรงต่อสถานการณ์ที่เราจะพยามทำความเข้าใจ ทำให้การตัดสินใจ/ความนึกคิดของเราไม่ได้มาจากความรู้สึกนึกคิดของเราโดยตรง
A. เราอาจมีความรอบรู้ในหลายๆเรื่อง เรายิ่งมีมีโอกาสที่จะตัดสินใจได้ถูกมากขึ้น แต่ ความรู้เพียงอย่างเดียว ไม่เพียงพอต่อการต่อการตัดสินใจ เพราะบางที เราก็กำลังเผชิญหน้ากับสถาการณ์ที่ไม่สามารถทำความเข้าใจได้ ในแง่ของการคัดสรรข้อเท็จจริง ที่จำเป็นต่อการสนับสุนความรู้ให้เป็นจริง
* ซึ่งโดยความเป็นจริงแล้ว A. เป้นมุมมองของ participant ต่อเหตุการณ์หรือสถานการณ์นั้นๆ ถ้ามุมมองของ participant สอดคล้องกับสถานการณ์/เหตุการณ์ที่ดำเนินอย สถานการณ์ หรือ เหตุการณ์นั้นก็จะไม่เป็นสิ่งลึกลับหรือไร้ทางออกแต่อย่างใด และ participant ก็สามารถที่จะกระทำการต่อไปได้บนรากฐานของความรู้ของตน (knownledge basis)
* แต่บางทีเหตุการณ์หาได้เป็นเช่นนี้ไม่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนั้นไม่สามารถที่จะทำความเข้าใจได้ เพราะมุมมอง/การแยกแยะ ของ participant นั้นไม่สอดคล้องกับ เหตุการณ์/สถานการณ์
*Participant จะติดอยู่ในวังวน ของผลลัพทืที่เป้น Loop ---> โซรอสเรียกว่า Reflexivity ความพยามของ participant ในการทำความเข้าใจ logic ได้ีบีบบังคับให้ participant (หรือพวกเรา) แม้แต่ observer เข้าสู่ circular logic
มาต่อกันคราวหน้านะครับ
ถอดรหัสความคิดโซรอส2 (ภาคโซรอสขยายความ)
- mudleygroup
- Verified User
- โพสต์: 26
- ผู้ติดตาม: 0
ถอดรหัสความคิดโซรอส2 (ภาคโซรอสขยายความ)
โพสต์ที่ 1
- mudleygroup
- Verified User
- โพสต์: 26
- ผู้ติดตาม: 0
ถอดรหัสความคิดโซรอส2 (ภาคโซรอสขยายความ)
โพสต์ที่ 3
ภาค3 ผมเอามาเขียนต่อในกระทู้นี้ดีกว่ามั้ยครับ เกรงใจเค้าจังเลย เดี่ยวมาทำกระทู้เค้ารกหมดครับ