ขอถามเรื่อง constant-growth DDM
-
- Verified User
- โพสต์: 5
- ผู้ติดตาม: 0
ขอถามเรื่อง constant-growth DDM
โพสต์ที่ 1
จากสูตร V =Dps1/(k-g) อ่ะค่ะ
มีโอกาสมั้ยคะที่ g >= k
สาเหตุเพราะอะไรหรอคะ
มีโอกาสมั้ยคะที่ g >= k
สาเหตุเพราะอะไรหรอคะ
-
- Verified User
- โพสต์: 1301
- ผู้ติดตาม: 0
ขอถามเรื่อง constant-growth DDM
โพสต์ที่ 3
มีครับ อย่างเช่น growth stock ที่จ่ายปันผล ในวันข้างหน้าปันผลคงมีความเติบโตสูงตามความเติบโตของบริษัท อย่งบางกิจการในไทยเองก็มีหุ้นที่มีอัตราการเติบโตของปันผลสูงมาก อย่าง hmproเคยจ่าย 0.03 มาเป็น 0.12 ในระยะเวลา 4-5ปี ลองคำนวณ cagr ก็น่าจะไม่ต่ำกว่า 30% ด่อปีมั้ง เอาเข้าสูตร ddm ก็กลายเป็นหุ้นไม่มีค่าทันที
จริงๆ DDM เหมาะกับกิจการที่ค่อนข้างนิ่งๆ ไม่เหมาะกับกิจการที่มีการเติบโตสูง
จริงๆ DDM เหมาะกับกิจการที่ค่อนข้างนิ่งๆ ไม่เหมาะกับกิจการที่มีการเติบโตสูง
-
- Verified User
- โพสต์: 1301
- ผู้ติดตาม: 0
ขอถามเรื่อง constant-growth DDM
โพสต์ที่ 5
ใช่ครับ g ต้องใช้ระยะยาว แต่ประเด็นสำคัญก็คือ DDM ไม่ได้เป็นเครื่องมือที่เหมาะกับทุกหุ้น นั่นเป็นเรื่องที่สำคัญกว่าที่ต้องเข้าใจ
-
- Verified User
- โพสต์: 5
- ผู้ติดตาม: 0
รบกวนถามต่อหน่อยนะคะ
โพสต์ที่ 6
คืออยากรู้ว่า ถ้าจะใช้ GDP growth หรือ nominal growth rate ในเชิง macroeconomic มาอธิบายจะได้มั้ยคะ
-
- Verified User
- โพสต์: 1301
- ผู้ติดตาม: 0
ขอถามเรื่อง constant-growth DDM
โพสต์ที่ 7
ไม่น่าจะเกี่ยว เพราะเรากำลังประเมินมูลค่าบริษัท
ลองอธิบายเพิ่มอีกนิดซิว่า จะนำ gdp มาเกี่ยวข้องยังไง
ลองอธิบายเพิ่มอีกนิดซิว่า จะนำ gdp มาเกี่ยวข้องยังไง
-
- Verified User
- โพสต์: 5
- ผู้ติดตาม: 0
ขอถามเรื่อง constant-growth DDM
โพสต์ที่ 8
ก็คือ ถ้าnominal growth rate high, market interest rate high, then g is also high. ยังงี้เกีนวมั้ยคะ
-
- Verified User
- โพสต์: 1301
- ผู้ติดตาม: 0
ขอถามเรื่อง constant-growth DDM
โพสต์ที่ 9
ถ้า market interest high ค่า r หรือ k ในที่นี้ ก็จะสูงขึ้นอีก ใช่มั้ย
-
- Verified User
- โพสต์: 384
- ผู้ติดตาม: 0
ขอถามเรื่อง constant-growth DDM
โพสต์ที่ 10
เท่าที่ดูสูตรนี้ก็สำหรับ k>g อยู่แล้วนิ
การคิดมูลค่ากิจการจกากเงินปันผล
กรณีอัตราการเพิ่มคงที่
Dt=D0(1+g)^t
P0=Sum D0(1+g)^t/(1+k)^t
ถ้า k>g จะได้
SUM (1+g)^t/(1+k)^t = (1+g)/k-g
เพราะงั้น
P0 = D0(1+g)/k-g
= D1/k-g
การคิดมูลค่ากิจการจกากเงินปันผล
กรณีอัตราการเพิ่มคงที่
Dt=D0(1+g)^t
P0=Sum D0(1+g)^t/(1+k)^t
ถ้า k>g จะได้
SUM (1+g)^t/(1+k)^t = (1+g)/k-g
เพราะงั้น
P0 = D0(1+g)/k-g
= D1/k-g
-
- Verified User
- โพสต์: 384
- ผู้ติดตาม: 0
Re: รบกวนถามต่อหน่อยนะคะ
โพสต์ที่ 12
ก็ไม่น่าจะมีปัญหานี่ครับsmsherryag เขียน:คืออยากรู้ว่า ถ้าจะใช้ GDP growth หรือ nominal growth rate ในเชิง macroeconomic มาอธิบายจะได้มั้ยคะ
จะประเมิณยอดขายในอนาคตใช่ไหมครับ
แต่ข้อมูลก็ให้มันใช้ได้แล้วกันครับ
เช่น ธุรกิจนี้มีสัดส่วนการเติบโตที่ผ่านมาเทียบกับ GDP แล้วเป็นอย่างไร
แล้วบริษัทมีส่วนแบ่งตลาดเท่าไหร่
ถ้า GDP โตเท่านี้ น่าจะเป็นอย่างนี้ๆ ก็คิดว่าพอได้นะครับ
ถ้าให้แนะนำก็แบ่งเป็น worst case, normal case, best case ของ GDPก็จะดูดีนะครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 384
- ผู้ติดตาม: 0
ขอถามเรื่อง constant-growth DDM
โพสต์ที่ 13
DDM เกิดขึ้นในยุคที่สองของการคิดหาราคาหุ้น
ยุคแรกเป็นการใช้ technical เช่น mean ของราคาหุ้นในอดีต, ทฤษีดาวส์
ในยุคนี้ไม่ค่อยสนใจ fundamental กัน
ยุคที่สอง เริ่มสนใจ fundamental คนเริ่มคิดว่าถ้าเรามีเงินเหลือจะนำไปฝากแบงค์เพื่อดอกเบี้ย การถือหุ้นก็เช่นกัน เราต้องการดอกเบี้ยจากการถือหุ้นซึ่งก็คือเงินปันผล
สูตรง่ายสุดของ DDM ก็คือ D/r หรือ (D/k) สำหรับ zero growth rate case
ยุคที่สามเป็นพวก CAPM, APT
ข้อเสียของการใช้ DDM คือ ต้อง"เดา"สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตในระยะยาวมากซึ่งอาจผิดพลาดได้ง่าย ในบางกรณีถ้าผู้บริหารตัดสินใจไม่ปันผลเพราะต้องการจะให้ราคาหุ้นเพิ่มขึ้นจากการมีสินทรัพย์เพิ่มขึ้น DDM ก็หาค่าไม่ได้แล้ว อย่างไรก็ตามการมีนโยบายการจ่ายปันผลก็ช่วยได้มาก
และค่า r ที่นำมาคิดลดต้องเหมาะสมเพราะเป็นค่าคงที่ การใช้อัตราดอกเบี้ยปัจจุบันซึ่งขึ้นๆลงๆจึงไม่เหมาะสม การใช้อัตราดอกเบี้ยจากพันธบัตรรัฐบาลระยะยาว เช่น 10 ปี จึงน่าจะเหมาะสมกว่า
ในปี 1990 มีคนเคยวิจัยความแม่นยำของราคาหุ้นจริง เทียบกับราคาที่คิดโดย DDM พบว่ามีความผิดพลาดถึง 88%
ยุคแรกเป็นการใช้ technical เช่น mean ของราคาหุ้นในอดีต, ทฤษีดาวส์
ในยุคนี้ไม่ค่อยสนใจ fundamental กัน
ยุคที่สอง เริ่มสนใจ fundamental คนเริ่มคิดว่าถ้าเรามีเงินเหลือจะนำไปฝากแบงค์เพื่อดอกเบี้ย การถือหุ้นก็เช่นกัน เราต้องการดอกเบี้ยจากการถือหุ้นซึ่งก็คือเงินปันผล
สูตรง่ายสุดของ DDM ก็คือ D/r หรือ (D/k) สำหรับ zero growth rate case
ยุคที่สามเป็นพวก CAPM, APT
ข้อเสียของการใช้ DDM คือ ต้อง"เดา"สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตในระยะยาวมากซึ่งอาจผิดพลาดได้ง่าย ในบางกรณีถ้าผู้บริหารตัดสินใจไม่ปันผลเพราะต้องการจะให้ราคาหุ้นเพิ่มขึ้นจากการมีสินทรัพย์เพิ่มขึ้น DDM ก็หาค่าไม่ได้แล้ว อย่างไรก็ตามการมีนโยบายการจ่ายปันผลก็ช่วยได้มาก
และค่า r ที่นำมาคิดลดต้องเหมาะสมเพราะเป็นค่าคงที่ การใช้อัตราดอกเบี้ยปัจจุบันซึ่งขึ้นๆลงๆจึงไม่เหมาะสม การใช้อัตราดอกเบี้ยจากพันธบัตรรัฐบาลระยะยาว เช่น 10 ปี จึงน่าจะเหมาะสมกว่า
ในปี 1990 มีคนเคยวิจัยความแม่นยำของราคาหุ้นจริง เทียบกับราคาที่คิดโดย DDM พบว่ามีความผิดพลาดถึง 88%
-
- Verified User
- โพสต์: 5
- ผู้ติดตาม: 0
ขอถามเรื่อง constant-growth DDM
โพสต์ที่ 14
ขอบคุณพี่ๆทุกๆคนที่ช่วยกันตอบคำถามนี้น้า
เรื่องการลงทุนนี้เป็นอะไรที่เข้าใจยากเหมือนกันนะคะ
ขนาดมีหนังสือ อ่านแล้วก็ยังงงๆ
เรื่องการลงทุนนี้เป็นอะไรที่เข้าใจยากเหมือนกันนะคะ
ขนาดมีหนังสือ อ่านแล้วก็ยังงงๆ