การคำนวณหา Margin Safety
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 11444
- ผู้ติดตาม: 1
การคำนวณหา Margin Safety
โพสต์ที่ 5
ลองอ่านกระทู้เก่าๆ ใน ห้องคลังกระทู้คุณค่า ดูก่อนนะครับ
http://www.thaivi.com/webboard/viewtopic.php?t=5372
http://www.thaivi.com/webboard/viewtopic.php?t=1975
http://www.thaivi.com/webboard/viewtopic.php?t=5372
http://www.thaivi.com/webboard/viewtopic.php?t=1975
จงอยู่เหนือความดี อย่าหลงความดี
-
- Verified User
- โพสต์: 1455
- ผู้ติดตาม: 0
การคำนวณหา Margin Safety
โพสต์ที่ 6
พี่ chatchai ครับ ขอบคุณมากนะครับ ที่ช่วยแนะนำให้ครับ หลายคำถามที่ไปเพราะ ทุกครั้งที่ผมจะซื้อหุ้น ผมจะนึกถึงราคา และตัวเลขของราคาหุ้น ( แบบว่าตลอด 4 เดือน ที่ผ่านมาตอนซื้อหุ้น จะดูราคาอย่างเดียว โดยไม่เคยสนใจปัจจัยพื้นฐานต่างๆ แต่พอช่วงนีได้รับคำแนะนำจากเพื่อนเรื่องการลงแนว VI ก็สนใจ มาศึกษาแต่ก็ยังติดกับราคาหุ้น พอพูดว่าต้องดูปัจจัยพื้นฐานบ้าง intrinsic value บ้าง และอีกหลายๆอย่าง ก็จะนึกว่า มันคืออะไร ราคาอยู่ตรงไหน ช่วงนี้ก็เริ่มศึกษาอย่างจริงจัง ว่ามันคืออะไร เริ่มหาหนังสืออ่าน เข้าอบรม กาวิเคราะห์การเงินบ้าง (กับ อ.มน ) ไปอบรมมาไม่เขาใจก็โทร ถาม อ. มน บ้าง โดนดุบ้าง สอนหลายรอบแล้วยังไม่เข้าอีก แต่ก็เข้าใจ อ. มน ครับ เพราะเขา อยากให้ผมมีความรู้ และผมก็จะไม่ท้อครับ และจะศึกษาหาความรู้ต่อไปจนความจะเข้าใจและประสพความสำเร็จ และถึงเป้าหมาย กับคำว่า อิสระภาพทางการเงินครับ ) ขอบคุณ อีกครั้งนะครับ พี่ chatchai และ อ.มน และ พี่ ๆ ท่านอื่น ที่ช่วยแนะนำ ครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 1746
- ผู้ติดตาม: 0
การคำนวณหา Margin Safety
โพสต์ที่ 8
เวลาที่คุณจะซื้อหุ้น หรือกิจการ หรืออะไรก็ตาม การซื้ออย่างมีสติ คือรู้ว่า "มูลค่า" และ "ราคา" ของสิ่งนั้น ๆ มีความแตกต่างกันอย่างไร
ยกตัวอย่างเช่น มีคนถือแบ๊ง 10 บาทมาต่อหน้าคุณ แล้วบอกว่า ขายให้ 12 บาทเอามั๊ย แน่นอนว่า คุณก็ต้องไม่เอา เพราะว่า "มูลค่า" ของ แบ๊ง 10 ใบนั้น มีค่าน้อยกว่า "ราคา" ของมัน
แต่ถ้าแบ๊ง 10 ใบนั้น เป็นเลข 9 ก 99999999 ล่ะ แน่นอนว่าคุณต้องรีบคว้าไว้ทันที ที่มีคนจะขายคุณในราคา 12 บาท ถึงแม้ว่าธนบัตรใบนั้นสามารถใช้จ่ายตามกฏหมายได้เพียง 10 บาท เพราะคุณรู้ว่า "มูลค่า" ที่อยู่ในธนบัตรตัวเลขนั้น มีค่ามากกว่า 12 บาทอยู่ลิบลับ
Margin of Safety คือการที่คุณวิเคราะห์ "มูลค่า" ของสิ่งที่คุณกำหนด (ในที่นี้คือหุ้น) แล้วเมื่อคุณได้มูลค่านั้นแล้ว คุณก็กลับไปมองว่า "ราคา" ของหุ้นตัวที่คุณสนใจนั้น ตลาดให้ "ราคา" ไว้ที่เท่าไหร่
ถ้า "ราคา" ที่ตลาดให้ไว้ ต่ำกว่าตัวเลข "มูลค่า" ที่คุณประเมินได้มาก ก็คือว่า หุ้นตัวนั้น มี Margin of Safety สูง เพราะถือว่ามูลค่าที่คุณประเมินได้ยังมากกว่า "ราคา" ที่ตลาดให้ ดังนั้น ถ้าเกิดเหตุการณ์ที่หุ้นจะลงไปอีก จึงถือเป็น "โอกาสในการซื้อ" มากกว่าเป็นการติดดอย ในที่นี้ให้สมมติว่า คุณประเมินมูลค่าได้อย่างถูกต้อง
ในทางกลับกัน ถ้า "ราคา" ที่ตลาดให้ไว้ สูงกว่า "มูลค่า" ที่คุณประเมินได้ ก็ถือว่า หุ้นตัวนั้น ไม่มี Margin of Safety เพราะว่า ราคาตลาดนั้น ได้สะท้อนมูลค่าหุ้นไปหมดแล้ว และอาจจะสะท้อนมากเกินไป ในกรณีที่หุ้นมี "ราคา" สูงกว่า "มูลค่า" ที่ประเมินได้ไปเยอะ
ดังนั้น การที่จะบอกว่า หุ้นตัวใดตัวหนึ่ง มี Margin of Safety มากน้อยอย่างไร จึงอยู่ที่วิธีการประเมิน "มูลค่า" ของกิจการ หรือหุ้นนั้น ๆ ซึ่งแต่ละคนก็มีวิธีคิดแตกต่างกันออกไป ไม่ว่าจะเป็นการคิดง่าย ๆ ด้วย PE Ratio เทียบกับ ตลาดโดยรวม หรือคิดอย่างลึกซึ้งเช่น วิธี Discount Cash Flow (DCF) ของกิจการแล้วนำมาประเมินมูลค่า หรือแม้แต่นำเศรษฐศาตร์จุลภาคมหภาคมาคิดคำนวณแล้วคาดหมายอนาคต หรือ Trend ของกิจการหรืออุตสหกรรม ก็แล้วแต่ว่าใครจะคิดกันไป
ดังนั้น ก่อนที่คุณ RONNAPUM จะได้ Margin of Safety คุณจะต้องแยกความแตกต่างของ "มูลค่าที่แท้จริง" หรือ Intrinsic Value กับ "ราคา" หรือ Price ของหุ้นให้ได้ก่อนนะครับ
ยกตัวอย่างเช่น มีคนถือแบ๊ง 10 บาทมาต่อหน้าคุณ แล้วบอกว่า ขายให้ 12 บาทเอามั๊ย แน่นอนว่า คุณก็ต้องไม่เอา เพราะว่า "มูลค่า" ของ แบ๊ง 10 ใบนั้น มีค่าน้อยกว่า "ราคา" ของมัน
แต่ถ้าแบ๊ง 10 ใบนั้น เป็นเลข 9 ก 99999999 ล่ะ แน่นอนว่าคุณต้องรีบคว้าไว้ทันที ที่มีคนจะขายคุณในราคา 12 บาท ถึงแม้ว่าธนบัตรใบนั้นสามารถใช้จ่ายตามกฏหมายได้เพียง 10 บาท เพราะคุณรู้ว่า "มูลค่า" ที่อยู่ในธนบัตรตัวเลขนั้น มีค่ามากกว่า 12 บาทอยู่ลิบลับ
Margin of Safety คือการที่คุณวิเคราะห์ "มูลค่า" ของสิ่งที่คุณกำหนด (ในที่นี้คือหุ้น) แล้วเมื่อคุณได้มูลค่านั้นแล้ว คุณก็กลับไปมองว่า "ราคา" ของหุ้นตัวที่คุณสนใจนั้น ตลาดให้ "ราคา" ไว้ที่เท่าไหร่
ถ้า "ราคา" ที่ตลาดให้ไว้ ต่ำกว่าตัวเลข "มูลค่า" ที่คุณประเมินได้มาก ก็คือว่า หุ้นตัวนั้น มี Margin of Safety สูง เพราะถือว่ามูลค่าที่คุณประเมินได้ยังมากกว่า "ราคา" ที่ตลาดให้ ดังนั้น ถ้าเกิดเหตุการณ์ที่หุ้นจะลงไปอีก จึงถือเป็น "โอกาสในการซื้อ" มากกว่าเป็นการติดดอย ในที่นี้ให้สมมติว่า คุณประเมินมูลค่าได้อย่างถูกต้อง
ในทางกลับกัน ถ้า "ราคา" ที่ตลาดให้ไว้ สูงกว่า "มูลค่า" ที่คุณประเมินได้ ก็ถือว่า หุ้นตัวนั้น ไม่มี Margin of Safety เพราะว่า ราคาตลาดนั้น ได้สะท้อนมูลค่าหุ้นไปหมดแล้ว และอาจจะสะท้อนมากเกินไป ในกรณีที่หุ้นมี "ราคา" สูงกว่า "มูลค่า" ที่ประเมินได้ไปเยอะ
ดังนั้น การที่จะบอกว่า หุ้นตัวใดตัวหนึ่ง มี Margin of Safety มากน้อยอย่างไร จึงอยู่ที่วิธีการประเมิน "มูลค่า" ของกิจการ หรือหุ้นนั้น ๆ ซึ่งแต่ละคนก็มีวิธีคิดแตกต่างกันออกไป ไม่ว่าจะเป็นการคิดง่าย ๆ ด้วย PE Ratio เทียบกับ ตลาดโดยรวม หรือคิดอย่างลึกซึ้งเช่น วิธี Discount Cash Flow (DCF) ของกิจการแล้วนำมาประเมินมูลค่า หรือแม้แต่นำเศรษฐศาตร์จุลภาคมหภาคมาคิดคำนวณแล้วคาดหมายอนาคต หรือ Trend ของกิจการหรืออุตสหกรรม ก็แล้วแต่ว่าใครจะคิดกันไป
ดังนั้น ก่อนที่คุณ RONNAPUM จะได้ Margin of Safety คุณจะต้องแยกความแตกต่างของ "มูลค่าที่แท้จริง" หรือ Intrinsic Value กับ "ราคา" หรือ Price ของหุ้นให้ได้ก่อนนะครับ
- cryptonian_man
- Verified User
- โพสต์: 585
- ผู้ติดตาม: 0
การคำนวณหา Margin Safety
โพสต์ที่ 9
สุดยอดครับ
ขอบคุณพี่มาดแมนครับ
เขาว่า "หลังจากปากพองจากการดื่มนมร้อน เราจะเป่าโยเกิร์ตให้เย็นก่อนตักเข้าปาก"
แต่ทำไมตรูไม่เข็ด เคาะขวาไวตลอดเนี่ย
แต่ทำไมตรูไม่เข็ด เคาะขวาไวตลอดเนี่ย
- dino
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 1286
- ผู้ติดตาม: 1
การคำนวณหา Margin Safety
โพสต์ที่ 11
akekarat เขียน:เวลาที่คุณจะซื้อหุ้น หรือกิจการ หรืออะไรก็ตาม การซื้ออย่างมีสติ คือรู้ว่า "มูลค่า" และ "ราคา" ของสิ่งนั้น ๆ มีความแตกต่างกันอย่างไร
ยกตัวอย่างเช่น มีคนถือแบ๊ง 10 บาทมาต่อหน้าคุณ แล้วบอกว่า ขายให้ 12 บาทเอามั๊ย แน่นอนว่า คุณก็ต้องไม่เอา เพราะว่า "มูลค่า" ของ แบ๊ง 10 ใบนั้น มีค่าน้อยกว่า "ราคา" ของมัน
แต่ถ้าแบ๊ง 10 ใบนั้น เป็นเลข 9 ก 99999999 ล่ะ แน่นอนว่าคุณต้องรีบคว้าไว้ทันที ที่มีคนจะขายคุณในราคา 12 บาท ถึงแม้ว่าธนบัตรใบนั้นสามารถใช้จ่ายตามกฏหมายได้เพียง 10 บาท เพราะคุณรู้ว่า "มูลค่า" ที่อยู่ในธนบัตรตัวเลขนั้น มีค่ามากกว่า 12 บาทอยู่ลิบลับ
Margin of Safety คือการที่คุณวิเคราะห์ "มูลค่า" ของสิ่งที่คุณกำหนด (ในที่นี้คือหุ้น) แล้วเมื่อคุณได้มูลค่านั้นแล้ว คุณก็กลับไปมองว่า "ราคา" ของหุ้นตัวที่คุณสนใจนั้น ตลาดให้ "ราคา" ไว้ที่เท่าไหร่
ถ้า "ราคา" ที่ตลาดให้ไว้ ต่ำกว่าตัวเลข "มูลค่า" ที่คุณประเมินได้มาก ก็คือว่า หุ้นตัวนั้น มี Margin of Safety สูง เพราะถือว่ามูลค่าที่คุณประเมินได้ยังมากกว่า "ราคา" ที่ตลาดให้ ดังนั้น ถ้าเกิดเหตุการณ์ที่หุ้นจะลงไปอีก จึงถือเป็น "โอกาสในการซื้อ" มากกว่าเป็นการติดดอย ในที่นี้ให้สมมติว่า คุณประเมินมูลค่าได้อย่างถูกต้อง
ในทางกลับกัน ถ้า "ราคา" ที่ตลาดให้ไว้ สูงกว่า "มูลค่า" ที่คุณประเมินได้ ก็ถือว่า หุ้นตัวนั้น ไม่มี Margin of Safety เพราะว่า ราคาตลาดนั้น ได้สะท้อนมูลค่าหุ้นไปหมดแล้ว และอาจจะสะท้อนมากเกินไป ในกรณีที่หุ้นมี "ราคา" สูงกว่า "มูลค่า" ที่ประเมินได้ไปเยอะ
ดังนั้น การที่จะบอกว่า หุ้นตัวใดตัวหนึ่ง มี Margin of Safety มากน้อยอย่างไร จึงอยู่ที่วิธีการประเมิน "มูลค่า" ของกิจการ หรือหุ้นนั้น ๆ ซึ่งแต่ละคนก็มีวิธีคิดแตกต่างกันออกไป ไม่ว่าจะเป็นการคิดง่าย ๆ ด้วย PE Ratio เทียบกับ ตลาดโดยรวม หรือคิดอย่างลึกซึ้งเช่น วิธี Discount Cash Flow (DCF) ของกิจการแล้วนำมาประเมินมูลค่า หรือแม้แต่นำเศรษฐศาตร์จุลภาคมหภาคมาคิดคำนวณแล้วคาดหมายอนาคต หรือ Trend ของกิจการหรืออุตสหกรรม ก็แล้วแต่ว่าใครจะคิดกันไป
ดังนั้น ก่อนที่คุณ RONNAPUM จะได้ Margin of Safety คุณจะต้องแยกความแตกต่างของ "มูลค่าที่แท้จริง" หรือ Intrinsic Value กับ "ราคา" หรือ Price ของหุ้นให้ได้ก่อนนะครับ
- cryptonian_man
- Verified User
- โพสต์: 585
- ผู้ติดตาม: 0
การคำนวณหา Margin Safety
โพสต์ที่ 13
... เขียน:พี่ akekarat นี่มาดแมนจริงๆ
กำ ผมเบลอนี่หว่า :shock: :shock:
ขอโทษที่ akekarat ด้วยครับ ช่วงนี้ปล่อยไก่บ่อยจังเรา
ปล่อยหมูไปหลายครอกเลยเบลออ่ะครับ :oops:
เขาว่า "หลังจากปากพองจากการดื่มนมร้อน เราจะเป่าโยเกิร์ตให้เย็นก่อนตักเข้าปาก"
แต่ทำไมตรูไม่เข็ด เคาะขวาไวตลอดเนี่ย
แต่ทำไมตรูไม่เข็ด เคาะขวาไวตลอดเนี่ย