ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 211
หลักทรัพย์ YUASA
หัวข้อข่าว ชี้แจงขาดทุนสุทธิของบริษัทฯสำหรับงวดไตรมาสที่ 3 ประจำปี 2550
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:43:15
ที่ CEO/037/2007
วันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
เรื่อง ชี้แจงขาดทุนสุทธิของบริษัทฯ สำหรับงวดไตรมาสที่ 3 ประจำปี 2550
เรียน กรรมการและผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัท ยัวซ่าแบตเตอรี่ ประเทศไทย จำกัด (มหาชน) ขอเรียนชี้แจงผลประกอบการประจำ
ไตรมาสที่ 3 ของปี 2550 ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ดังนี้
ในไตรมาสที่ 3 ของปี 2550 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีผลประกอบการเป็นขาดทุนสุทธิ 26.41 ล้านบาท
หรือคิดเป็นผลขาดทุน 0.25 บาทต่อหุ้น ขาดทุนลดลง 21.79 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 45.21เมื่อเทียบกับไตรมาส
เดียวกันของปีก่อน ซึ่งมีผลขาดทุนสุทธิ 48.20 ล้านบาท ทั้งนี้มีรายละเอียดโดยภาพรวมดังนี้คือ
1. ด้านรายได้ บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีรายได้รวมทั้งสิ้น 540.84 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกัน
ของปีที่ผ่านมาร้อยละ 31.37 แบ่งเป็นรายได้จากการขายจำนวน 525.81 ล้านบาท และรายได้อื่นจำนวน 15.03 ล้าน
บาท สำหรับรายได้จากการขายนั้นมียอดเพิ่มขึ้นกว่า 126.47 ล้านบาท มาจากราคาขายและปริมาณการขายที่ปรับ
สูงขึ้นตั้งแต่ปีที่ผ่านมา
2. ด้านต้นทุนขาย บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีต้นทุนขาย 486.42 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 89.94 ต่อยอด
รายได้รวม สัดส่วนดังกล่าวเพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีที่ผ่านมา ซึ่งมีอัตราร้อยละ 87.46 ต่อยอดรายได้รวม
เนื่องมาจากราคาตะกั่วที่เพิ่มสูงขึ้นในช่วงปีที่ผ่านมา ในขณะที่ยังไม่สามารถปรับราคาขายให้ชดเชยต้นทุนที่เพิ่มขึ้น
ได้
3. ด้านค่าใช้จ่ายบริษัทฯ และบริษัทย่อย มีค่าใช้จ่ายรวม 70.41 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 21.02 เมื่อเทียบกับ
ช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา เนื่องจากการตัดจ่ายค่าเผื่อผลขาดทุนจากการตรวจนับสิ้นค้าคงเหลือ จำนวน 25.98
ล้านบาท
บริษัทใคร่ขอชี้แจงความคืบหน้าการตรวจสอบกรณีส่วนต่างจากการตรวจนับสินค้าคงคลังในไตรมาสที่ 3 ปี
2549 หลัง จากที่ได้แต่งตั้งให้บริษัทผู้สอบบัญชีภายนอกเข้ามาทําการตรวจสอบหาสาเหตุบริษัทได้รับรายงาน
ผลสรุปสุดท้ายอย่างเป็นทางการจากบุคคลภายยอกในไตรมาสสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2550 ปัจจุบันบริษัทได้
จัดทำแผนปฏิบัติการเกี่ยวกับการควบคุมสินค้าคงเหลือที่เหมาะสม บริษัทได้ปรับปรุงให้ดีขึ้นแล้วตั้งแต่เดือนกันยายน
2550 และบริษัทจะติดตามผลของแผนปฏิบัติการเป็นระยะๆ
นอกจากนั้น ในระหว่างไตรมาสสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550 บริษัทพบว่าผลต่างระหว่างต้นทุนมาตรฐาน
และต้นทุนจริงของบัญชีงานระหว่างทำที่เกิดขึ้นตั้งแต่ปี 2547 จนถึงเดือน สิงหาคม 2550 จำนวน 54.97 ล้านบาท
ไม่ได้ถูกปันส่วนไปยังบัญชีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างถูกต้อง จึงได้ปรับปรุงในงบการเงินระหว่างกาลสำหรับงวดเก้ า
เดือนสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ
ขอแสดงความนับถือ
(นายคัทซึมิ นากาโตะ)
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
หัวข้อข่าว ชี้แจงขาดทุนสุทธิของบริษัทฯสำหรับงวดไตรมาสที่ 3 ประจำปี 2550
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:43:15
ที่ CEO/037/2007
วันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
เรื่อง ชี้แจงขาดทุนสุทธิของบริษัทฯ สำหรับงวดไตรมาสที่ 3 ประจำปี 2550
เรียน กรรมการและผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัท ยัวซ่าแบตเตอรี่ ประเทศไทย จำกัด (มหาชน) ขอเรียนชี้แจงผลประกอบการประจำ
ไตรมาสที่ 3 ของปี 2550 ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย ดังนี้
ในไตรมาสที่ 3 ของปี 2550 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีผลประกอบการเป็นขาดทุนสุทธิ 26.41 ล้านบาท
หรือคิดเป็นผลขาดทุน 0.25 บาทต่อหุ้น ขาดทุนลดลง 21.79 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 45.21เมื่อเทียบกับไตรมาส
เดียวกันของปีก่อน ซึ่งมีผลขาดทุนสุทธิ 48.20 ล้านบาท ทั้งนี้มีรายละเอียดโดยภาพรวมดังนี้คือ
1. ด้านรายได้ บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีรายได้รวมทั้งสิ้น 540.84 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกัน
ของปีที่ผ่านมาร้อยละ 31.37 แบ่งเป็นรายได้จากการขายจำนวน 525.81 ล้านบาท และรายได้อื่นจำนวน 15.03 ล้าน
บาท สำหรับรายได้จากการขายนั้นมียอดเพิ่มขึ้นกว่า 126.47 ล้านบาท มาจากราคาขายและปริมาณการขายที่ปรับ
สูงขึ้นตั้งแต่ปีที่ผ่านมา
2. ด้านต้นทุนขาย บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีต้นทุนขาย 486.42 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 89.94 ต่อยอด
รายได้รวม สัดส่วนดังกล่าวเพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีที่ผ่านมา ซึ่งมีอัตราร้อยละ 87.46 ต่อยอดรายได้รวม
เนื่องมาจากราคาตะกั่วที่เพิ่มสูงขึ้นในช่วงปีที่ผ่านมา ในขณะที่ยังไม่สามารถปรับราคาขายให้ชดเชยต้นทุนที่เพิ่มขึ้น
ได้
3. ด้านค่าใช้จ่ายบริษัทฯ และบริษัทย่อย มีค่าใช้จ่ายรวม 70.41 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 21.02 เมื่อเทียบกับ
ช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา เนื่องจากการตัดจ่ายค่าเผื่อผลขาดทุนจากการตรวจนับสิ้นค้าคงเหลือ จำนวน 25.98
ล้านบาท
บริษัทใคร่ขอชี้แจงความคืบหน้าการตรวจสอบกรณีส่วนต่างจากการตรวจนับสินค้าคงคลังในไตรมาสที่ 3 ปี
2549 หลัง จากที่ได้แต่งตั้งให้บริษัทผู้สอบบัญชีภายนอกเข้ามาทําการตรวจสอบหาสาเหตุบริษัทได้รับรายงาน
ผลสรุปสุดท้ายอย่างเป็นทางการจากบุคคลภายยอกในไตรมาสสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2550 ปัจจุบันบริษัทได้
จัดทำแผนปฏิบัติการเกี่ยวกับการควบคุมสินค้าคงเหลือที่เหมาะสม บริษัทได้ปรับปรุงให้ดีขึ้นแล้วตั้งแต่เดือนกันยายน
2550 และบริษัทจะติดตามผลของแผนปฏิบัติการเป็นระยะๆ
นอกจากนั้น ในระหว่างไตรมาสสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550 บริษัทพบว่าผลต่างระหว่างต้นทุนมาตรฐาน
และต้นทุนจริงของบัญชีงานระหว่างทำที่เกิดขึ้นตั้งแต่ปี 2547 จนถึงเดือน สิงหาคม 2550 จำนวน 54.97 ล้านบาท
ไม่ได้ถูกปันส่วนไปยังบัญชีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างถูกต้อง จึงได้ปรับปรุงในงบการเงินระหว่างกาลสำหรับงวดเก้ า
เดือนสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ
ขอแสดงความนับถือ
(นายคัทซึมิ นากาโตะ)
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 212
หลักทรัพย์ BSBM
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:38:39
BSBM2550/018
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
บริษัท บางสะพานบาร์มิล จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 17,718 8,455 127,353 186,386
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.02 0.01 0.11 0.16
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นายวีระวิทย์ ดุละลัมพะ )
ตำแหน่ง รองกรรมการผู้จัดการ
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:38:39
BSBM2550/018
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
บริษัท บางสะพานบาร์มิล จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 17,718 8,455 127,353 186,386
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.02 0.01 0.11 0.16
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นายวีระวิทย์ ดุละลัมพะ )
ตำแหน่ง รองกรรมการผู้จัดการ
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news12/11/07
โพสต์ที่ 213
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
Date: 2007-11-12 18:23:14
Source: SET
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
บริษัท พลาสติค และหีบห่อไทย จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 18,211 12,745 53,368 36,363
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.18 0.13 0.53 0.36
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
Date: 2007-11-12 18:23:14
Source: SET
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
บริษัท พลาสติค และหีบห่อไทย จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 18,211 12,745 53,368 36,363
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.18 0.13 0.53 0.36
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 214
หลักทรัพย์ BSBM
หัวข้อข่าว ชี้แจงผลการดำเนินงานสำหรับงวดไตรมาสสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:38:31
BSBM 2550/019
วันที่ 12 พฤศจิกายน 2550
เรื่อง ชี้แจงผลการดำเนินงานสำหรับงวดไตรมาส สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550
เรียน กรรมการและผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัท บางสะพานบาร์มิล จำกัด (มหาชน) ขอชี้แจงผลการดำเนินงานของบริษัท ฯ สำหรับงวด
ไตรมาส สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550 ซึ่งได้รับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ดังนี้
(ล้านบาท) ไตรมาสที่3/2550 ไตรมาสที่3/2549
รายได้รวม 280 815
กำไรสุทธิ 17.7 8.5
การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมาจากปัจจัยสำคัญ ดังนี้
ก) รายได้: บริษัทมีรายได้ในไตรมาสที่สามของปี 2550 รวมทั้งสิ้น 280 ล้านบาท ในจำนวนนี้
เป็นรายได้จากการขาย 276 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 65.6 เนื่องจากมียอดขายลด
ลงจากสาเหตุสำคัญ 2 ประการ กล่าวคือ ปริมาณความต้องการใช้เหล็กเส้นในประเทศที่ยังคงตกต่ำ โดยได้รับ
ผลกระทบจากการขยายตัวของภาคการลงทุนที่ลดลง ในไตรมาสนี้บริษัทมียอดขาย รวม 14,140 ตัน ลดลง
จากปีก่อนร้อยละ 68.4 ประกอบกับปัญหาทางด้านอุปทานของเหล็กแท่งเล็กในตลาดโลกซึ่งยังคงเกิดสภาวะ
ที่ขาดแคลนจากมาตรการทางด้านภาษีเพื่อจำกัดการส่งออกเหล็กของประเทศจีนเป็นสำคัญ
ข) ค่าใช้จ่ายและผลกำไร: จากการที่ราคาเหล็กเส้นปรับตัวสูงขึ้นกว่าร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับช่วง
เดียวกันของปีก่อน ในขณะที่ต้นทุนขายของบริษัทเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อยเนื่องจากส่วนใหญ่เป็นสินค้าที่ผลิต
จากวัตถุดิบที่มีอยู่ในสต็อก จึงทำให้อัตรากำไรขั้นต้นในไตรมาสที่สามของปีนี้ดีขึ้นจากปีก่อนมาก โดยเพิ่มขึ้น
จากร้อยละ 3.1 ในปีก่อนมาอยู่ที่ร้อยละ 13.7
ในขณะที่บริษัทมีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารที่มีอัตราส่วนต่อรายได้รวมที่เพิ่มสูงขึ้นนอกจากนี้ยัง
มีค่าใช้จ่ายโรงงานที่เกิดขึ้นระหว่างการหยุดผลิตอีกจำนวนหนึ่ง ค่าใช้จ่ายทั้งสองส่วนนี้ในไตรมาสที่สามของ
ปีนี้เป็นจำนวน 10.9 และ 13.0 ล้านบาท ตามลำดับ
อย่างไรก็ดี จากกำไรขั้นต้นที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ จึงทำให้บริษัทมีกำไรสุทธิประจำงวดนี้เป็น
จำนวน 17.7 ล้านบาทเพิ่มขึ้นจาก 8.5 ล้านบาทในงวดเดียวกันของปีก่อน
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
(นายวีระวิทย์ ดุละลัมพะ)
รองกรรมการผู้จัดการ
หัวข้อข่าว ชี้แจงผลการดำเนินงานสำหรับงวดไตรมาสสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:38:31
BSBM 2550/019
วันที่ 12 พฤศจิกายน 2550
เรื่อง ชี้แจงผลการดำเนินงานสำหรับงวดไตรมาส สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550
เรียน กรรมการและผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัท บางสะพานบาร์มิล จำกัด (มหาชน) ขอชี้แจงผลการดำเนินงานของบริษัท ฯ สำหรับงวด
ไตรมาส สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550 ซึ่งได้รับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ดังนี้
(ล้านบาท) ไตรมาสที่3/2550 ไตรมาสที่3/2549
รายได้รวม 280 815
กำไรสุทธิ 17.7 8.5
การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมาจากปัจจัยสำคัญ ดังนี้
ก) รายได้: บริษัทมีรายได้ในไตรมาสที่สามของปี 2550 รวมทั้งสิ้น 280 ล้านบาท ในจำนวนนี้
เป็นรายได้จากการขาย 276 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 65.6 เนื่องจากมียอดขายลด
ลงจากสาเหตุสำคัญ 2 ประการ กล่าวคือ ปริมาณความต้องการใช้เหล็กเส้นในประเทศที่ยังคงตกต่ำ โดยได้รับ
ผลกระทบจากการขยายตัวของภาคการลงทุนที่ลดลง ในไตรมาสนี้บริษัทมียอดขาย รวม 14,140 ตัน ลดลง
จากปีก่อนร้อยละ 68.4 ประกอบกับปัญหาทางด้านอุปทานของเหล็กแท่งเล็กในตลาดโลกซึ่งยังคงเกิดสภาวะ
ที่ขาดแคลนจากมาตรการทางด้านภาษีเพื่อจำกัดการส่งออกเหล็กของประเทศจีนเป็นสำคัญ
ข) ค่าใช้จ่ายและผลกำไร: จากการที่ราคาเหล็กเส้นปรับตัวสูงขึ้นกว่าร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับช่วง
เดียวกันของปีก่อน ในขณะที่ต้นทุนขายของบริษัทเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อยเนื่องจากส่วนใหญ่เป็นสินค้าที่ผลิต
จากวัตถุดิบที่มีอยู่ในสต็อก จึงทำให้อัตรากำไรขั้นต้นในไตรมาสที่สามของปีนี้ดีขึ้นจากปีก่อนมาก โดยเพิ่มขึ้น
จากร้อยละ 3.1 ในปีก่อนมาอยู่ที่ร้อยละ 13.7
ในขณะที่บริษัทมีค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารที่มีอัตราส่วนต่อรายได้รวมที่เพิ่มสูงขึ้นนอกจากนี้ยัง
มีค่าใช้จ่ายโรงงานที่เกิดขึ้นระหว่างการหยุดผลิตอีกจำนวนหนึ่ง ค่าใช้จ่ายทั้งสองส่วนนี้ในไตรมาสที่สามของ
ปีนี้เป็นจำนวน 10.9 และ 13.0 ล้านบาท ตามลำดับ
อย่างไรก็ดี จากกำไรขั้นต้นที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ จึงทำให้บริษัทมีกำไรสุทธิประจำงวดนี้เป็น
จำนวน 17.7 ล้านบาทเพิ่มขึ้นจาก 8.5 ล้านบาทในงวดเดียวกันของปีก่อน
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
(นายวีระวิทย์ ดุละลัมพะ)
รองกรรมการผู้จัดการ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 215
หลักทรัพย์ VIBHA
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:40:03
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
บริษัท โรงพยาบาลวิภาวดี จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
งบการเงินรวม
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 29,276 30,914 56,911 64,420
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.048 0.052 0.094 0.108
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 28,081 27,850 60,252 50,805
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.046 0.046 0.099 0.086
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นายชัยสิทธิ์ วิริยะเมตตากุล )
ตำแหน่ง กรรมการผุ้จัดการ
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:40:03
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
บริษัท โรงพยาบาลวิภาวดี จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
งบการเงินรวม
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 29,276 30,914 56,911 64,420
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.048 0.052 0.094 0.108
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 28,081 27,850 60,252 50,805
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.046 0.046 0.099 0.086
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นายชัยสิทธิ์ วิริยะเมตตากุล )
ตำแหน่ง กรรมการผุ้จัดการ
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 216
หลักทรัพย์ VIBHA
หัวข้อข่าว ีชี้แจงผลดำเนินการไตรมาสที่ 3 ปี 2550
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:44:39
ที่ 167/2550
12 พฤศจิกายน 2550
เรื่อง ชี้แจงผลดำเนินการไตรมาสที่ 3 ปี 2550
เรียน กรรมการและผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัท โรงพยาบาลวิภาวดี จำกัด (มหาชน)ได้นำส่งงบการเงินระหว่างกาล
รวมและงบการเงินระหว่างกาลเฉพาะของบริษัทฯ สิ้นสุด ณ วันที่ 30 กันยายน 2550
ที่ผ่านการสอบทานแล้วและขอชี้แจงผลดำเนินงานและผลกระทบจากนโยบายบัญชีการบันทึก
เงินลงทุนในบริษัทย่อย ดังนี้
1. รายได้จากการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น 5.46% เนื่องจากจำนวนผู้ป่วยนอกเพิ่ม
ขึ้น 11.93% และจำนวนผู้ป่วยในเพิ่มขึ้นเล็กน้อย 0.90% ส่วนรายได้อื่นไม่เปลี่ยนแปลง
2. ต้นทุนในการรักษาพยาบาลรวม และค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารรวมเมื่อ
เทียบกับรายได้จากการรักษาพยาบาลรวม ลดลง 0.67% และ 0.19% ตามลำดับ
3. กำไรสุทธิลดลง 5.30 %(งบการเงินเฉพาะบริษัทเพิ่มขึ้น 0.83%)เนื่องจาก
ภาระดอกเบี้ยจ่ายที่เพิ่มขึ้นจำนวน 1.09 ล้านบาท และภาษีเงินได้นิติบุคคลที่เพิ่มขึ้น
จำนวน 2.36 ล้านบาท
บริษัทฯ มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบันทึกบัญชีของเงินลงทุนในบริษัทย่อย
ในงบการเงินเฉพาะกิจการจาก วิธีส่วนได้เสียเป็นวิธีราคาทุนในไตรมาสที่ 3/2550 และ
งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550 เพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดใหม่ของ
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 44 โดยบริษัทฯ ได้ปรับปรุงย้อนหลังงบการเงินที่แสดง
เปรียบเทียบด้วย ทั้งนี้เงินลงทุนในบริษัทย่อยที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการนั้น
บันทึกโดยใช้ราคาทุนเดิม (Historical Cost) เป็นราคาทุนเริ่มต้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลง
นโยบายดังกล่าว ทำให้กำไรสุทธิในงบการเงินเฉพาะกิจการไม่เท่ากับกำไรสุทธิในงบ
การเงินรวมโดยงวดสามเดือนและเก้าเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550 งบการเงินรวม
มีกำไรสุทธิ 29.28 ล้านบาท และ 56.91 ล้านบาทตามลำดับ แต่งบการเงินเฉพาะกิจการ
มีกำไรสุทธิ 28.08 ล้านบาท และ 60.25 ล้านบาทตามลำดับ บริษัทฯ ขอชี้แจงเพิ่มเติม
ดังนี้
1. ผลต่างของกำไรสุทธิจากงบการเงินทั้งสองดังกล่าว มีสาเหตุหลักมาจากการ
เปลี่ยนแปลงวิธีการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะ
โดยที่กำไรสุทธิในงบการเงินรวมได้รวมผลการดำเนินงานของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม
ตามสัดส่วนการถือหุ้น เนื่องจากบริษัทย่อยมีผลขาดทุนจากการดำเนินงานในไตรมาสที่ 3
จำนวน 1.35 ล้านบาท และบริษัทร่วมมีผลกำไรจากการดำเนินงานในไตรมาสที่ 3 จำนวน
2.55 ล้านบาท จึงทำให้งบการเงินรวมปรากฏผลกำไรสุทธิสูงกว่างบการเงินเฉพาะกิจการ
2. การเปลี่ยนแปลงวิธีการบันทึกบัญชีดังกล่าว ทำให้งบการเงินเฉพาะกิจการ
สำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550 และ 2549 แสดงกำไรสุทธิลดลง
1.19 ล้านบาทและ 3.06 ล้านบาท ตามลำดับ และสำหรับงวดเก้าเดือนสิ้นสุดวันที่
30 กันยายน 2550 และ 2549 แสดงกำไรสุทธิเพิ่มขึ้น 3.34 ล้านบาทและลดลง 13.62
ล้านบาทตามลำดับ เนื่องจากงบการเงินเฉพาะกิจการไม่ได้รวมรายการส่วนแบ่งกำไร
(ขาดทุน)จากเงินลงทุนซึ่งบันทึกโดยวิธีส่วนได้เสีย
3. ผลกระทบต่อรายการอื่นในงบการเงินเฉพาะกิจการ สำหรับงบการเงิน
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550 ได้แก่เงินลงทุนในบริษัทย่อยและกำไรสะสมที่แสดงไว้ใน
งบดุลลดลง 38.61 ล้านบาท ทั้งนี้ ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงหลักการบัญชีนี้ได้แสดงไว้
ใน "ผลสะสมจากการเปลี่ยนนโยบายบัญชีเกี่ยวกับเงินลงทุนในบริษัทย่อยในงบการเงิน
เฉพาะกิจการของบริษัทฯ" ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะกิจการ
อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีดังกล่าวส่งผลต่อการแสดงรายการ
บัญชีที่เกี่ยวข้องกับเงินลงทุนในบริษัทย่อยในงบการเงินเฉพาะกิจการเท่านั้น ไม่ได้มี
ผลกระทบต่อการจัดทำงบการเงินรวมและปัจจัยพื้นฐานการทำธุรกิจของบริษัทฯแต่อย่างใด
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
(นายชัยสิทธิ์ วิริยะเมตตากุล)
กรรมการผู้จัดการ
ฝ่ายวิเคราะห์และงบประมาณ
โทร. 0-2561-1111 ต่อ 2421
หัวข้อข่าว ีชี้แจงผลดำเนินการไตรมาสที่ 3 ปี 2550
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:44:39
ที่ 167/2550
12 พฤศจิกายน 2550
เรื่อง ชี้แจงผลดำเนินการไตรมาสที่ 3 ปี 2550
เรียน กรรมการและผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัท โรงพยาบาลวิภาวดี จำกัด (มหาชน)ได้นำส่งงบการเงินระหว่างกาล
รวมและงบการเงินระหว่างกาลเฉพาะของบริษัทฯ สิ้นสุด ณ วันที่ 30 กันยายน 2550
ที่ผ่านการสอบทานแล้วและขอชี้แจงผลดำเนินงานและผลกระทบจากนโยบายบัญชีการบันทึก
เงินลงทุนในบริษัทย่อย ดังนี้
1. รายได้จากการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น 5.46% เนื่องจากจำนวนผู้ป่วยนอกเพิ่ม
ขึ้น 11.93% และจำนวนผู้ป่วยในเพิ่มขึ้นเล็กน้อย 0.90% ส่วนรายได้อื่นไม่เปลี่ยนแปลง
2. ต้นทุนในการรักษาพยาบาลรวม และค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารรวมเมื่อ
เทียบกับรายได้จากการรักษาพยาบาลรวม ลดลง 0.67% และ 0.19% ตามลำดับ
3. กำไรสุทธิลดลง 5.30 %(งบการเงินเฉพาะบริษัทเพิ่มขึ้น 0.83%)เนื่องจาก
ภาระดอกเบี้ยจ่ายที่เพิ่มขึ้นจำนวน 1.09 ล้านบาท และภาษีเงินได้นิติบุคคลที่เพิ่มขึ้น
จำนวน 2.36 ล้านบาท
บริษัทฯ มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบันทึกบัญชีของเงินลงทุนในบริษัทย่อย
ในงบการเงินเฉพาะกิจการจาก วิธีส่วนได้เสียเป็นวิธีราคาทุนในไตรมาสที่ 3/2550 และ
งวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550 เพื่อให้เป็นไปตามข้อกำหนดใหม่ของ
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 44 โดยบริษัทฯ ได้ปรับปรุงย้อนหลังงบการเงินที่แสดง
เปรียบเทียบด้วย ทั้งนี้เงินลงทุนในบริษัทย่อยที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการนั้น
บันทึกโดยใช้ราคาทุนเดิม (Historical Cost) เป็นราคาทุนเริ่มต้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลง
นโยบายดังกล่าว ทำให้กำไรสุทธิในงบการเงินเฉพาะกิจการไม่เท่ากับกำไรสุทธิในงบ
การเงินรวมโดยงวดสามเดือนและเก้าเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550 งบการเงินรวม
มีกำไรสุทธิ 29.28 ล้านบาท และ 56.91 ล้านบาทตามลำดับ แต่งบการเงินเฉพาะกิจการ
มีกำไรสุทธิ 28.08 ล้านบาท และ 60.25 ล้านบาทตามลำดับ บริษัทฯ ขอชี้แจงเพิ่มเติม
ดังนี้
1. ผลต่างของกำไรสุทธิจากงบการเงินทั้งสองดังกล่าว มีสาเหตุหลักมาจากการ
เปลี่ยนแปลงวิธีการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะ
โดยที่กำไรสุทธิในงบการเงินรวมได้รวมผลการดำเนินงานของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม
ตามสัดส่วนการถือหุ้น เนื่องจากบริษัทย่อยมีผลขาดทุนจากการดำเนินงานในไตรมาสที่ 3
จำนวน 1.35 ล้านบาท และบริษัทร่วมมีผลกำไรจากการดำเนินงานในไตรมาสที่ 3 จำนวน
2.55 ล้านบาท จึงทำให้งบการเงินรวมปรากฏผลกำไรสุทธิสูงกว่างบการเงินเฉพาะกิจการ
2. การเปลี่ยนแปลงวิธีการบันทึกบัญชีดังกล่าว ทำให้งบการเงินเฉพาะกิจการ
สำหรับงวดสามเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550 และ 2549 แสดงกำไรสุทธิลดลง
1.19 ล้านบาทและ 3.06 ล้านบาท ตามลำดับ และสำหรับงวดเก้าเดือนสิ้นสุดวันที่
30 กันยายน 2550 และ 2549 แสดงกำไรสุทธิเพิ่มขึ้น 3.34 ล้านบาทและลดลง 13.62
ล้านบาทตามลำดับ เนื่องจากงบการเงินเฉพาะกิจการไม่ได้รวมรายการส่วนแบ่งกำไร
(ขาดทุน)จากเงินลงทุนซึ่งบันทึกโดยวิธีส่วนได้เสีย
3. ผลกระทบต่อรายการอื่นในงบการเงินเฉพาะกิจการ สำหรับงบการเงิน
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550 ได้แก่เงินลงทุนในบริษัทย่อยและกำไรสะสมที่แสดงไว้ใน
งบดุลลดลง 38.61 ล้านบาท ทั้งนี้ ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงหลักการบัญชีนี้ได้แสดงไว้
ใน "ผลสะสมจากการเปลี่ยนนโยบายบัญชีเกี่ยวกับเงินลงทุนในบริษัทย่อยในงบการเงิน
เฉพาะกิจการของบริษัทฯ" ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะกิจการ
อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีดังกล่าวส่งผลต่อการแสดงรายการ
บัญชีที่เกี่ยวข้องกับเงินลงทุนในบริษัทย่อยในงบการเงินเฉพาะกิจการเท่านั้น ไม่ได้มี
ผลกระทบต่อการจัดทำงบการเงินรวมและปัจจัยพื้นฐานการทำธุรกิจของบริษัทฯแต่อย่างใด
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
(นายชัยสิทธิ์ วิริยะเมตตากุล)
กรรมการผู้จัดการ
ฝ่ายวิเคราะห์และงบประมาณ
โทร. 0-2561-1111 ต่อ 2421
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 217
หลักทรัพย์ SPACK
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:41:36
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
บริษัท เอส. แพ็ค แอนด์ พริ้นท์ จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
งบการเงินรวม
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 38,388 36,470 104,731 97,554
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.13 0.12 0.35 0.33
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 9,742 13,166 61,962 74,170
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.03 0.04 0.21 0.25
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและมีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
( นายยุทธ ชินสุภัคกุล )
ประธานกรรมการบริหาร
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:41:36
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
บริษัท เอส. แพ็ค แอนด์ พริ้นท์ จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
งบการเงินรวม
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 38,388 36,470 104,731 97,554
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.13 0.12 0.35 0.33
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 9,742 13,166 61,962 74,170
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.03 0.04 0.21 0.25
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและมีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
( นายยุทธ ชินสุภัคกุล )
ประธานกรรมการบริหาร
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 218
หลักทรัพย์ JCP
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:45:58
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ เจซี
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
ไตรมาสที่ 3 ตั้งแต่ 4 ธันวาคม 2549
ปี 2550 ถึง 30 กันยายน 2550
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 9,097 30,357
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.1467 0.4896
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( คุณเพิ่มพล ประเสริฐล้ำ )
ตำแหน่ง กรรมการผู้จัดการ
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:45:58
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ เจซี
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
ไตรมาสที่ 3 ตั้งแต่ 4 ธันวาคม 2549
ปี 2550 ถึง 30 กันยายน 2550
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 9,097 30,357
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.1467 0.4896
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( คุณเพิ่มพล ประเสริฐล้ำ )
ตำแหน่ง กรรมการผู้จัดการ
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 219
หลักทรัพย์ SMK
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3/2550(F45-1)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:47:54
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
บริษัท สินมั่นคงประกันภัย จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 83,420 18,818 154,325 84,612
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 4.17 0.94 7.72 4.23
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นายเรืองเดช ดุษฎีสุรพจน์ )
ตำแหน่ง ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการ
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3/2550(F45-1)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:47:54
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
บริษัท สินมั่นคงประกันภัย จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 83,420 18,818 154,325 84,612
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 4.17 0.94 7.72 4.23
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นายเรืองเดช ดุษฎีสุรพจน์ )
ตำแหน่ง ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการ
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 220
หลักทรัพย์ SMK
หัวข้อข่าว คำชี้แจงงบการเงินไตรมาส 3/2550
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:47:45
ที่ บ.ช. 0037/2550 วันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
เรื่อง ชี้แจงผลการดำเนินงานที่เปลี่ยนแปลงจากงวดเดียวกันของปีก่อน
เรียน กรรมการและผู้จัดการ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัท สินมั่นคงประกันภัย จำกัด (มหาชน) ขอนำส่งงบการเงินประจำไตรมาส
3 ปี 2550 และ ขอชี้แจงสาเหตุที่ผลการดำเนินงานเปลี่ยนแปลงจากงวดเดียวกัน
ของปีก่อนเกินร้อยละ 20 กล่าวคือ บริษัทฯมีกำไรสุทธิในไตรมาส 3 ปี2550 เท่ากับ
83.4 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากงวดเดียวกันของปีก่อนเท่ากับ 64.6 ล้านบาท หรือ
คิดเป็นอัตราร้อยละ 343.29 ทั้งนี้เนื่องมาจาก ในช่วงไตรมาส 3 ปี 2550 บริษัทฯมี
กำไรจากการขายหลักทรัพย์ถึง 71.7 ล้านบาท ต่างจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
ซึ่งบริษัทฯมีขาดทุนจากการขายหลักทรัพย์ถึง 11.7 ล้านบาท จึงทำให้กำไรจาก
การขายหลักทรัพย์ในไตรมาสนี้เพิ่มขึ้นจากงวดเดียวกันของปีก่อนถึง 83.4 ล้าน
บาทหรือคิดเป็นร้อยละ 711.69 ประกอบกับเบี้ยรับสุทธิมีอัตราเติบโตร้อยละ 19.26
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันในปี 2549 จึงทำให้อัตราค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
เมื่อเทียบเบี้ยสุทธิ มีอัตราลดลงจากร้อยละ 19.04 ในปี 2549 เป็นร้อยละ 17.44
ในปี 2550
จึงเรียนชี้แจงมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
(นายเรืองเดช ดุษฎีสุรพจน์)
ประธานกรรมการบริหาร และ กรรมการผู้จัดการ
หัวข้อข่าว คำชี้แจงงบการเงินไตรมาส 3/2550
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:47:45
ที่ บ.ช. 0037/2550 วันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
เรื่อง ชี้แจงผลการดำเนินงานที่เปลี่ยนแปลงจากงวดเดียวกันของปีก่อน
เรียน กรรมการและผู้จัดการ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัท สินมั่นคงประกันภัย จำกัด (มหาชน) ขอนำส่งงบการเงินประจำไตรมาส
3 ปี 2550 และ ขอชี้แจงสาเหตุที่ผลการดำเนินงานเปลี่ยนแปลงจากงวดเดียวกัน
ของปีก่อนเกินร้อยละ 20 กล่าวคือ บริษัทฯมีกำไรสุทธิในไตรมาส 3 ปี2550 เท่ากับ
83.4 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากงวดเดียวกันของปีก่อนเท่ากับ 64.6 ล้านบาท หรือ
คิดเป็นอัตราร้อยละ 343.29 ทั้งนี้เนื่องมาจาก ในช่วงไตรมาส 3 ปี 2550 บริษัทฯมี
กำไรจากการขายหลักทรัพย์ถึง 71.7 ล้านบาท ต่างจากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
ซึ่งบริษัทฯมีขาดทุนจากการขายหลักทรัพย์ถึง 11.7 ล้านบาท จึงทำให้กำไรจาก
การขายหลักทรัพย์ในไตรมาสนี้เพิ่มขึ้นจากงวดเดียวกันของปีก่อนถึง 83.4 ล้าน
บาทหรือคิดเป็นร้อยละ 711.69 ประกอบกับเบี้ยรับสุทธิมีอัตราเติบโตร้อยละ 19.26
เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันในปี 2549 จึงทำให้อัตราค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
เมื่อเทียบเบี้ยสุทธิ มีอัตราลดลงจากร้อยละ 19.04 ในปี 2549 เป็นร้อยละ 17.44
ในปี 2550
จึงเรียนชี้แจงมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
(นายเรืองเดช ดุษฎีสุรพจน์)
ประธานกรรมการบริหาร และ กรรมการผู้จัดการ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 221
หลักทรัพย์ GFPT
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:49:28
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
บริษัท จีเอฟพีที จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
งบการเงินรวม
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 142,771 (31,978) 96,882 37,866
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 1.14 (0.26) 0.77 0.30
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 104,460 (37,357) 142,385 (21,700)
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.83 (0.30) 1.14 (0.17)
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นพ.อนันต์ ศิริมงคลเกษม )
ตำแหน่ง ประธานกรรมการบริหาร
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:49:28
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
บริษัท จีเอฟพีที จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
งบการเงินรวม
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 142,771 (31,978) 96,882 37,866
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 1.14 (0.26) 0.77 0.30
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 104,460 (37,357) 142,385 (21,700)
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.83 (0.30) 1.14 (0.17)
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นพ.อนันต์ ศิริมงคลเกษม )
ตำแหน่ง ประธานกรรมการบริหาร
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 222
หลักทรัพย์ SVOA
หัวข้อข่าว ชี้แจงผลการดำเนินงานของบริษัทและบริษัทย่อยไตรมาส 3/2550
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:57:58
12 พฤศจิกายน 2550
เรื่อง ชี้แจงผลการดำเนินงานของบริษัทและบริษัทย่อย
สำหรับงวดไตรมาส ที่ 3/2550
เรียน กรรมการผู้จัดการ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
สำหรับไตรมาสที่ 3 ปี 2550 นี้ งบการเงินรวมมีกำไรสุทธิจำนวน 47.5
ล้านบาท เพิ่มขึ้น 6.0 ล้านบาทจากงวดเดียวกันของปีก่อนคิดเป็นร้อยละ 14.3
และงบการเงินเฉพาะกิจการมีกำไรสุทธิจำนวน 27.3 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 19.3
ล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 240.2 ผลแตกต่างของกำไรสุทธิจากงบการเงิน
ทั้งสองดังกล่าวมีสาเหตุหลักมาจากการเปลี่ยนแปลงวิธีการบันทึกบัญชีเงิน
ลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะ โดยที่กำไรสุทธิในงบ
การเงินรวมได้รวมผลการดำเนินงานของบริษัทย่อยและบริษัทร่วมตามสัดส่วน
ของการถือหุ้น สำหรับงบการเงินรวมที่มีผลการกำไรสุทธิเพิ่มขึ้น เนื่องจาก
รายได้จากการขายสินค้าและบริการของบริษัทฯ และรวมบริษัทย่อยเพิ่มขึ้น
53.2 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 3.6 เนื่องมาจากยอดขายที่เพิ่มขึ้นของกลุ่ม
ธุรกิจช่องทางการจำหน่าย(ITDSBU) และบริษัท เอซิส คอมพิวเตอร์ จำกัด
ซึ่งเป็นบริษัทย่อยโดยมีรายละเอียดดังนี้
1. กลุ่มธุรกิจช่องทางการจัดจำหน่าย (ITDSBU) มีรายได้ และ
ค่าบริการเพิ่มขึ้น 43.0 ล้าน บาทหรือคิดเป็นร้อยละ 5.7
จากงวดเดียวกันของปีก่อนและมีรายได้จากการสนับสนุน ของ
Suppliers เพิ่มขึ้น 5.6 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 66.7
2. ยอดขายที่สูงขึ้นของบริษัท เอซิส คอมพิวเตอร์ จำกัด ซึ่งเป็น
บริษัทย่อยจำนวน 88.0 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 55.0
จากงวดเดียวกันของปีก่อน
3. กลุ่มธุรกิจโครงการไอที (ITPSBU) มีรายได้และค่าบริการ
ลดลง 78.0 ล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 36.6 แต่มีกำไรขั้นต้นที่
สูงขึ้นคิดเป็นร้อยละ 13 (ปี 2549 ร้อยละ 8) จากงวดเดียวกัน
ของปีก่อน
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
(นายเธียรชัย ศรีวิจิตร)
ประธานกรรมการ
หัวข้อข่าว ชี้แจงผลการดำเนินงานของบริษัทและบริษัทย่อยไตรมาส 3/2550
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:57:58
12 พฤศจิกายน 2550
เรื่อง ชี้แจงผลการดำเนินงานของบริษัทและบริษัทย่อย
สำหรับงวดไตรมาส ที่ 3/2550
เรียน กรรมการผู้จัดการ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
สำหรับไตรมาสที่ 3 ปี 2550 นี้ งบการเงินรวมมีกำไรสุทธิจำนวน 47.5
ล้านบาท เพิ่มขึ้น 6.0 ล้านบาทจากงวดเดียวกันของปีก่อนคิดเป็นร้อยละ 14.3
และงบการเงินเฉพาะกิจการมีกำไรสุทธิจำนวน 27.3 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 19.3
ล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 240.2 ผลแตกต่างของกำไรสุทธิจากงบการเงิน
ทั้งสองดังกล่าวมีสาเหตุหลักมาจากการเปลี่ยนแปลงวิธีการบันทึกบัญชีเงิน
ลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะ โดยที่กำไรสุทธิในงบ
การเงินรวมได้รวมผลการดำเนินงานของบริษัทย่อยและบริษัทร่วมตามสัดส่วน
ของการถือหุ้น สำหรับงบการเงินรวมที่มีผลการกำไรสุทธิเพิ่มขึ้น เนื่องจาก
รายได้จากการขายสินค้าและบริการของบริษัทฯ และรวมบริษัทย่อยเพิ่มขึ้น
53.2 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 3.6 เนื่องมาจากยอดขายที่เพิ่มขึ้นของกลุ่ม
ธุรกิจช่องทางการจำหน่าย(ITDSBU) และบริษัท เอซิส คอมพิวเตอร์ จำกัด
ซึ่งเป็นบริษัทย่อยโดยมีรายละเอียดดังนี้
1. กลุ่มธุรกิจช่องทางการจัดจำหน่าย (ITDSBU) มีรายได้ และ
ค่าบริการเพิ่มขึ้น 43.0 ล้าน บาทหรือคิดเป็นร้อยละ 5.7
จากงวดเดียวกันของปีก่อนและมีรายได้จากการสนับสนุน ของ
Suppliers เพิ่มขึ้น 5.6 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 66.7
2. ยอดขายที่สูงขึ้นของบริษัท เอซิส คอมพิวเตอร์ จำกัด ซึ่งเป็น
บริษัทย่อยจำนวน 88.0 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 55.0
จากงวดเดียวกันของปีก่อน
3. กลุ่มธุรกิจโครงการไอที (ITPSBU) มีรายได้และค่าบริการ
ลดลง 78.0 ล้านบาทหรือคิดเป็นร้อยละ 36.6 แต่มีกำไรขั้นต้นที่
สูงขึ้นคิดเป็นร้อยละ 13 (ปี 2549 ร้อยละ 8) จากงวดเดียวกัน
ของปีก่อน
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
(นายเธียรชัย ศรีวิจิตร)
ประธานกรรมการ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 223
หลักทรัพย์ SAICO
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:55:53
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
บริษัท สยามอุตสาหกรรมการเกษตร สัปปะรดและอื่น ๆ จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (20,429) 12,177 (73,826) 34,019
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) (0.10) 0.06 (0.37) 0.17
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นายวิทยา รงค์ทองอร่าม )
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการฝ่ายการเงิน
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:55:53
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
บริษัท สยามอุตสาหกรรมการเกษตร สัปปะรดและอื่น ๆ จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (20,429) 12,177 (73,826) 34,019
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) (0.10) 0.06 (0.37) 0.17
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นายวิทยา รงค์ทองอร่าม )
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการฝ่ายการเงิน
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 224
หลักทรัพย์ TVI
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:56:49
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
บริษัท ประกันภัยไทยวิวัฒน์ จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (3,278) 21,034 16,508 53,352
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) (0.02) 0.14 0.11 0.35
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นางดวงแก้ว วิริยานุศักดิ์ )
ตำแหน่ง ผู้จัดการฝ่ายบัญชี
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:56:49
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
บริษัท ประกันภัยไทยวิวัฒน์ จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (3,278) 21,034 16,508 53,352
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) (0.02) 0.14 0.11 0.35
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นางดวงแก้ว วิริยานุศักดิ์ )
ตำแหน่ง ผู้จัดการฝ่ายบัญชี
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 225
หลักทรัพย์ TVI
หัวข้อข่าว ชี้แจงผลการดำเนินงานไตรมาส 3/2550
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:57:02
12 พฤศจิกายน 2550
เรื่อง ขอนำส่งงบการเงินงวดไตรมาส 3 สิ้นสุด 30 กันยายน 2550
พร้อมทั้งชี้แจงยอดเปลี่ยนแปลงของกำไรสุทธิ
เรียน กรรมการและผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัทฯ ขอนำส่งงบการเงินงวด 3 เดือนสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550
ซึ่งผ่านการสอบทาน จากผู้สอบบัญชีรับอนุญาตจำนวน 1 ฉบับ
และพร้อมกันนี้ได้แนบงบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด และงบแสดง
การเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นมาด้วยแล้ว
พร้อมกันนี้บริษัทฯ ขอชี้แจงผลการดำเนินงานสำหรับงวด 3 เดือนสิ้นสุด 30
กันยายน 2550 เปลี่ยนแปลงลดลงมากกว่า 20% เมื่อเทียบกับงวด 3 เดือนสิ้นสุด 30
กันยายน 2549 นั้น เกิดจากบริษัทฯ
มีรายได้จากการรับประกันภัยเพิ่มขึ้น 10.03 ล้านบาท คิดเป็น 3.60%
มีรายได้จากการลงทุนเพิ่มขึ้น 15.14 ล้านบาท คิดเป็น 76.63%
ในขณะที่มีค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยเพิ่มขึ้น 37.77 ล้านบาท คิดเป็น
17.58% และมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานเพิ่มขึ้น 4.71 ล้านบาท คิดเป็น
7.27% ทำให้ผลการ ดำเนินงานของบริษัทฯ ลดลดจากปีที่ผ่านมามากกว่า
20%
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
( นายจีรพันธ์ อัศวะธนกุล )
กรรมการผู้อำนวยการ
หัวข้อข่าว ชี้แจงผลการดำเนินงานไตรมาส 3/2550
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 17:57:02
12 พฤศจิกายน 2550
เรื่อง ขอนำส่งงบการเงินงวดไตรมาส 3 สิ้นสุด 30 กันยายน 2550
พร้อมทั้งชี้แจงยอดเปลี่ยนแปลงของกำไรสุทธิ
เรียน กรรมการและผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัทฯ ขอนำส่งงบการเงินงวด 3 เดือนสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550
ซึ่งผ่านการสอบทาน จากผู้สอบบัญชีรับอนุญาตจำนวน 1 ฉบับ
และพร้อมกันนี้ได้แนบงบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด และงบแสดง
การเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นมาด้วยแล้ว
พร้อมกันนี้บริษัทฯ ขอชี้แจงผลการดำเนินงานสำหรับงวด 3 เดือนสิ้นสุด 30
กันยายน 2550 เปลี่ยนแปลงลดลงมากกว่า 20% เมื่อเทียบกับงวด 3 เดือนสิ้นสุด 30
กันยายน 2549 นั้น เกิดจากบริษัทฯ
มีรายได้จากการรับประกันภัยเพิ่มขึ้น 10.03 ล้านบาท คิดเป็น 3.60%
มีรายได้จากการลงทุนเพิ่มขึ้น 15.14 ล้านบาท คิดเป็น 76.63%
ในขณะที่มีค่าใช้จ่ายในการรับประกันภัยเพิ่มขึ้น 37.77 ล้านบาท คิดเป็น
17.58% และมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานเพิ่มขึ้น 4.71 ล้านบาท คิดเป็น
7.27% ทำให้ผลการ ดำเนินงานของบริษัทฯ ลดลดจากปีที่ผ่านมามากกว่า
20%
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
( นายจีรพันธ์ อัศวะธนกุล )
กรรมการผู้อำนวยการ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 226
หลักทรัพย์ KTP
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 18:06:30
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
บริษัท เคปเปล ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
งบการเงินรวม
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (18,772) 3,104 (13,300) (3,635)
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) (0.085) 0.014 (0.06) (0.017)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (1,866) 184 (3,684) (17,240)
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) (0.008) 0.001 (0.017) (0.078)
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นาย วอง ยิว ซอง )
ตำแหน่ง กรรมการบริหาร
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 18:06:30
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
บริษัท เคปเปล ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
งบการเงินรวม
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (18,772) 3,104 (13,300) (3,635)
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) (0.085) 0.014 (0.06) (0.017)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (1,866) 184 (3,684) (17,240)
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) (0.008) 0.001 (0.017) (0.078)
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นาย วอง ยิว ซอง )
ตำแหน่ง กรรมการบริหาร
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 227
หลักทรัพย์ BBL
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 18:07:44
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่ 3 (F45-3)
ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
งบการเงินรวม
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 5,153,055 4,232,661 15,127,984 13,806,950
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 2.70 2.22 7.93 7.23
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 5,040,363 4,273,621 15,026,544 13,204,288
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 2.64 2.24 7.87 6.92
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและมีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
(นายธีระ อภัยวงศ์)
กรรมการรองผู้จัดการใหญ่
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 18:07:44
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่ 3 (F45-3)
ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
งบการเงินรวม
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 5,153,055 4,232,661 15,127,984 13,806,950
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 2.70 2.22 7.93 7.23
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 5,040,363 4,273,621 15,026,544 13,204,288
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 2.64 2.24 7.87 6.92
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและมีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
(นายธีระ อภัยวงศ์)
กรรมการรองผู้จัดการใหญ่
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 228
หลักทรัพย์ SSSC
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 18:10:06
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
บริษัท ศูนย์บริการเหล็กสยาม จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
งบการเงินรวม
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 57,113 120,935 215,206 350,603
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 1.19 2.52 4.48 7.30
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 57,498 121,744 214,762 351,413
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 1.20 2.54 4.47 7.32
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นายสุรศักดิ์ คุณานันทกุล )
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการ
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 18:10:06
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
บริษัท ศูนย์บริการเหล็กสยาม จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
งบการเงินรวม
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 57,113 120,935 215,206 350,603
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 1.19 2.52 4.48 7.30
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 57,498 121,744 214,762 351,413
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 1.20 2.54 4.47 7.32
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นายสุรศักดิ์ คุณานันทกุล )
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการ
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 229
หลักทรัพย์ KTP
หัวข้อข่าว ชี้แจงผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 3 สิ้นสุด 30 ก.ย. 2550
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 18:10:43
ที่ KTP 31/2007
12 พฤศจิกายน 2550
เรื่อง ชี้แจงผลการดำเนินงานสำหรับไตรมาสที่ 3 สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550
เรียน กรรมการและผู้จัดการ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัท เคปเปล ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด (มหาชน) ขอชี้แจงเกี่ยวกับผลการดำเนินงาน
ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย สำหรับไตรมาสที่ 3 สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550 ซึ่งสอบทานโดย
ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯแล้ว โดยปรากฏว่า บริษัทฯ มีผลการดำเนินงานขาดทุนสุทธิจำนวน
18,771,460 บาท เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นจำนวน 21,875,542 บาท จากรอบระยะเวลาเดียวกันใน
ปีที่ผ่านมา ที่มีผลการดำเนินงานกำไรสุทธิจำนวน 3,104,082 บาท
โดยสาเหตุหลักของผลขาดทุนสุทธิที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากในไตรมาสที่ 3 ปี 2550 บริษัทฯ
มีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเป็นจำนวน 14,926,545 บาท เปลี่ยนแปลงเป็นจำนวน
27,431,602 บาท จากที่มีผลกำไรในอัตราแลกเปลี่ยนเป็นจำนวน 12,505,057 บาท ในปีที่ผ่าน
มา จึงทำให้บริษัทฯมีผลการดำเนินงานขาดทุนสุทธิ แม้ว่าบริษัทฯ จะมีผลกำไรจาการขายบ้านและ
ที่ดินเพิ่มขึ้นก็ตาม
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ
ขอแสดงความนับถือ
หัวข้อข่าว ชี้แจงผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 3 สิ้นสุด 30 ก.ย. 2550
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 18:10:43
ที่ KTP 31/2007
12 พฤศจิกายน 2550
เรื่อง ชี้แจงผลการดำเนินงานสำหรับไตรมาสที่ 3 สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550
เรียน กรรมการและผู้จัดการ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัท เคปเปล ไทย พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด (มหาชน) ขอชี้แจงเกี่ยวกับผลการดำเนินงาน
ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย สำหรับไตรมาสที่ 3 สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550 ซึ่งสอบทานโดย
ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯแล้ว โดยปรากฏว่า บริษัทฯ มีผลการดำเนินงานขาดทุนสุทธิจำนวน
18,771,460 บาท เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นจำนวน 21,875,542 บาท จากรอบระยะเวลาเดียวกันใน
ปีที่ผ่านมา ที่มีผลการดำเนินงานกำไรสุทธิจำนวน 3,104,082 บาท
โดยสาเหตุหลักของผลขาดทุนสุทธิที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากในไตรมาสที่ 3 ปี 2550 บริษัทฯ
มีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเป็นจำนวน 14,926,545 บาท เปลี่ยนแปลงเป็นจำนวน
27,431,602 บาท จากที่มีผลกำไรในอัตราแลกเปลี่ยนเป็นจำนวน 12,505,057 บาท ในปีที่ผ่าน
มา จึงทำให้บริษัทฯมีผลการดำเนินงานขาดทุนสุทธิ แม้ว่าบริษัทฯ จะมีผลกำไรจาการขายบ้านและ
ที่ดินเพิ่มขึ้นก็ตาม
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ
ขอแสดงความนับถือ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 230
หลักทรัพย์ SSSC
หัวข้อข่าว ชี้แจงผลการดำเนินงาน ไตรมาส 3/2550
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 18:09:55
12 พฤศจิกายน 2550
เรื่อง ขอชี้แจงงบการเงิน สำหรับงวดสามเดือน (ไตรมาสที่ 3/2550)
เรียน กรรมการและผู้จัดการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
อ้างถึง งบการเงินระหว่างกาล
สำหรับงวดบัญชีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550
ตามที่บริษัทฯ ได้แจ้งผลการดำเนินงานระหว่างกาลสำหรับงวดสามเดือน สิ้นสุด
วันที่ 30 กันยายน 2550 และ 2549 มายังตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้วนั้น
ในไตรมาสที่ 3/2550 บริษัทฯ มีผลกำไรสุทธิ 57.11 ล้านบาท ซึ่งเปรียบเทียบกับ
ไตรมาสที่ 3 ปี 2549 แล้ว ลดลงคิดเป็นร้อยละ 52.77 บริษัทฯ ใคร่ขอชี้แจงดังนี้
1.รายได้จากการขายและงานติดตั้ง และค่าบริการลดลง 37.33 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.87
เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศชะลอตัวลง อันเป็นผลมาจากปัจจัยต่าง ๆ อาทิ
ราคาน้ำมันที่สูงขึ้น ค่าเงินบาทที่แข็ง และปัจจัยทางการเมือง ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมการผลิต
ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการก่อสร้าง อุตสาหกรรมยานยนต์ และอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า
และอิเล็กทรอนิกส์ ทำให้ยอดขายลดลงดังกล่าว
2.ต้นทุนขายและบริการลดลง 7.18 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.64 เนื่องจากวัตถุดิบใช้ไปลดลงตามยอดขาย
ที่ลดลง และค่าใช้จ่ายโรงงานที่ลดลงตามยอดขาย เช่น ค่าจ้างแรงงาน ค่าวัสดุอุปกรณ์ และค่าขนส่ง เป็นต้น
3.ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารเพิ่มขึ้น 5.0 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.82 ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น อาทิ
เงินเดือน และค่าขนส่ง
4.ในไตรมาสที่ 3 ปี 2550 บริษัทฯ มีขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 1.88 ล้านบาท
และในไตรมาสที่ 3 ปี 2549 บริษัทฯ มีกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 31.83 ล้านบาท เนื่องจากบริษัทฯ
ได้เปลี่ยนแปลงเงินกู้ส่วนใหญ่เป็นสกุลเงินบาท
5. ดอกเบี้ยจ่ายลดลง 12.98 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 27.29 เนื่องจากบริษัทฯ มีการจ่ายคืนเงินกู้
ทำให้ยอดเงินกู้ลดลง
6. ภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มขึ้น 5 ล้านบาท เนื่องจากบริษัทฯ มีผลกำไรและได้ใช้สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษี
หมดแล้ว
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
(นายสุรศักดิ์ คุณานันทกุล)
กรรมการผู้อำนวยการ
หัวข้อข่าว ชี้แจงผลการดำเนินงาน ไตรมาส 3/2550
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 18:09:55
12 พฤศจิกายน 2550
เรื่อง ขอชี้แจงงบการเงิน สำหรับงวดสามเดือน (ไตรมาสที่ 3/2550)
เรียน กรรมการและผู้จัดการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
อ้างถึง งบการเงินระหว่างกาล
สำหรับงวดบัญชีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550
ตามที่บริษัทฯ ได้แจ้งผลการดำเนินงานระหว่างกาลสำหรับงวดสามเดือน สิ้นสุด
วันที่ 30 กันยายน 2550 และ 2549 มายังตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้วนั้น
ในไตรมาสที่ 3/2550 บริษัทฯ มีผลกำไรสุทธิ 57.11 ล้านบาท ซึ่งเปรียบเทียบกับ
ไตรมาสที่ 3 ปี 2549 แล้ว ลดลงคิดเป็นร้อยละ 52.77 บริษัทฯ ใคร่ขอชี้แจงดังนี้
1.รายได้จากการขายและงานติดตั้ง และค่าบริการลดลง 37.33 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.87
เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศชะลอตัวลง อันเป็นผลมาจากปัจจัยต่าง ๆ อาทิ
ราคาน้ำมันที่สูงขึ้น ค่าเงินบาทที่แข็ง และปัจจัยทางการเมือง ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมการผลิต
ที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการก่อสร้าง อุตสาหกรรมยานยนต์ และอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า
และอิเล็กทรอนิกส์ ทำให้ยอดขายลดลงดังกล่าว
2.ต้นทุนขายและบริการลดลง 7.18 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.64 เนื่องจากวัตถุดิบใช้ไปลดลงตามยอดขาย
ที่ลดลง และค่าใช้จ่ายโรงงานที่ลดลงตามยอดขาย เช่น ค่าจ้างแรงงาน ค่าวัสดุอุปกรณ์ และค่าขนส่ง เป็นต้น
3.ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารเพิ่มขึ้น 5.0 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.82 ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น อาทิ
เงินเดือน และค่าขนส่ง
4.ในไตรมาสที่ 3 ปี 2550 บริษัทฯ มีขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 1.88 ล้านบาท
และในไตรมาสที่ 3 ปี 2549 บริษัทฯ มีกำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 31.83 ล้านบาท เนื่องจากบริษัทฯ
ได้เปลี่ยนแปลงเงินกู้ส่วนใหญ่เป็นสกุลเงินบาท
5. ดอกเบี้ยจ่ายลดลง 12.98 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 27.29 เนื่องจากบริษัทฯ มีการจ่ายคืนเงินกู้
ทำให้ยอดเงินกู้ลดลง
6. ภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มขึ้น 5 ล้านบาท เนื่องจากบริษัทฯ มีผลกำไรและได้ใช้สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษี
หมดแล้ว
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
(นายสุรศักดิ์ คุณานันทกุล)
กรรมการผู้อำนวยการ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 231
หลักทรัพย์ STEEL
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 18:10:59
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
บริษัท สตีล อินเตอร์เทค จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 1,913 7,788 4,948 21,890
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.04 0.16 0.10 0.44
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นายประสิทธิ์ อุ่นวรวงศ์ )
ตำแหน่ง กรรมการผู้จัดการ
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 18:10:59
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่3(F45-1)
บริษัท สตีล อินเตอร์เทค จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 1,913 7,788 4,948 21,890
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.04 0.16 0.10 0.44
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นายประสิทธิ์ อุ่นวรวงศ์ )
ตำแหน่ง กรรมการผู้จัดการ
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 232
หลักทรัพย์ UV
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อย Q3/2550 (F45-3)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 18:12:04
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่ 3 (F45-3)
บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน)
สอบทานแล้ว
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
งบการเงินรวม
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 19,346 48,737 70,080 115,130
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น 0.03 0.09 0.12 0.22
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 46,659 60,942 100,353 295,340
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น 0.06 0.11 0.17 0.56
ประเภทของความเห็นของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน : ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุประกอบงบการเงินจากระบบ
บริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบการเงินฉบับเต็ม
ผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________________________
(นางอรฤดี ณ ระนอง และ นายธนพล ศิริธนชัย)
ตำแหน่ง กรรมการ
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อย Q3/2550 (F45-3)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 18:12:04
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่ 3 (F45-3)
บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน)
สอบทานแล้ว
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
งบการเงินรวม
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 19,346 48,737 70,080 115,130
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น 0.03 0.09 0.12 0.22
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 46,659 60,942 100,353 295,340
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น 0.06 0.11 0.17 0.56
ประเภทของความเห็นของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน : ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุประกอบงบการเงินจากระบบ
บริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบการเงินฉบับเต็ม
ผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________________________
(นางอรฤดี ณ ระนอง และ นายธนพล ศิริธนชัย)
ตำแหน่ง กรรมการ
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 233
หลักทรัพย์ UV
หัวข้อข่าว รายงานผลการดำเนินงานงวด Q3/2550 สิ้นสุดวันที่ 30 กย.2550
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 18:19:15
ที่ ยว. 135/2550
ทะเบียนเลขที่ 0107537001030
วันที่ 12 พฤศจิกายน 2550
เรื่อง รายงานผลการดำเนินงาน สำหรับงวดเก้าเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550 ที่เปลี่ยนแปลงจากงวดเดียว
กันของปีก่อนเกินกว่าร้อยละ 20
เรียน กรรมการและผู้จัดการ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) ("บริษัทฯ") ขอชี้แจงผลการดำเนินงาน สำหรับงวดเก้าเดือนสิ้นสุดวันที่
30 กันยายน 2550 ซึ่งบริษัทฯและบริษัทย่อย มีผลกำไรสุทธิ 70.08 ล้านบาท ลดลง 45.05 ล้านบาท หรือคิดเป็น
ร้อยละ 39.13 จากงวดเดียวกันของปีก่อน ผลกำไรที่ลดลงเนื่องจาก
1 ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม - บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด ลดลง 27.19
ล้านบาท บริษัท เอ็กซ์เซลเล้นท์ เอ็นเนอร์ยี่ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ลดลง 3.48 ล้านบาท และบริษัท
ปริญเวนเจอร์ จำกัด เพิ่มขึ้น 11.63 ล้านบาท
2 รายได้จากการขายอาคารชุดจากการรับรู้รายได้ของกองทุนรวมกินรี พร็อพเพอร์ตี้ ลดลง เป็นผลให้กำไร
ขั้นต้นลดลง 20.63 ล้านบาท
3 เงินปันผลจากเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขายลดลง 4.86 ล้านบาท
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน)
( นางอรฤดี ณ ระนอง )
ประธานอำนวยการ
หัวข้อข่าว รายงานผลการดำเนินงานงวด Q3/2550 สิ้นสุดวันที่ 30 กย.2550
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 18:19:15
ที่ ยว. 135/2550
ทะเบียนเลขที่ 0107537001030
วันที่ 12 พฤศจิกายน 2550
เรื่อง รายงานผลการดำเนินงาน สำหรับงวดเก้าเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550 ที่เปลี่ยนแปลงจากงวดเดียว
กันของปีก่อนเกินกว่าร้อยละ 20
เรียน กรรมการและผู้จัดการ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน) ("บริษัทฯ") ขอชี้แจงผลการดำเนินงาน สำหรับงวดเก้าเดือนสิ้นสุดวันที่
30 กันยายน 2550 ซึ่งบริษัทฯและบริษัทย่อย มีผลกำไรสุทธิ 70.08 ล้านบาท ลดลง 45.05 ล้านบาท หรือคิดเป็น
ร้อยละ 39.13 จากงวดเดียวกันของปีก่อน ผลกำไรที่ลดลงเนื่องจาก
1 ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม - บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด ลดลง 27.19
ล้านบาท บริษัท เอ็กซ์เซลเล้นท์ เอ็นเนอร์ยี่ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ลดลง 3.48 ล้านบาท และบริษัท
ปริญเวนเจอร์ จำกัด เพิ่มขึ้น 11.63 ล้านบาท
2 รายได้จากการขายอาคารชุดจากการรับรู้รายได้ของกองทุนรวมกินรี พร็อพเพอร์ตี้ ลดลง เป็นผลให้กำไร
ขั้นต้นลดลง 20.63 ล้านบาท
3 เงินปันผลจากเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขายลดลง 4.86 ล้านบาท
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
บริษัท ยูนิเวนเจอร์ จำกัด (มหาชน)
( นางอรฤดี ณ ระนอง )
ประธานอำนวยการ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 234
หลักทรัพย์ MINT
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 18:36:52
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
งบการเงินรวม
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 371,398 240,296 1,052,070 881,188
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.1331 0.0877 0.3792 0.3264
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 108,000 240,296 241,830 881,188
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.0381 0.0877 0.0852 0.3264
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นางปรารถนา มโนมัยพิบูลย์ )
ตำแหน่ง กรรมการ
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 18:36:52
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
งบการเงินรวม
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 371,398 240,296 1,052,070 881,188
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.1331 0.0877 0.3792 0.3264
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 108,000 240,296 241,830 881,188
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.0381 0.0877 0.0852 0.3264
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นางปรารถนา มโนมัยพิบูลย์ )
ตำแหน่ง กรรมการ
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 235
หลักทรัพย์ MINT
หัวข้อข่าว คำอธิบายและวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำเนินงานไตรมาส 3/50
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 18:45:00
บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน)
คำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำเนินงานในไตรมาส 3 ปี 2550
ภาพรวมเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม
ภาวะเศรษฐกิจไทยโดยรวมแสดงสัญญาณการการฟื้นตัวในช่วงปลายของไตรมาส 3 ปี 2550 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคอุป
สงค์ภายในประเทศ อันได้แก่ การอุปโภคของภาคเอกชนและการลงทุนของภาคเอกชนมีแนวโน้มของการฟื้นตัว อย่างไรก็ดี
ตัวเลขเศรษฐกิจเชิงมหภาคที่ปรับตัวดีขึ้นดังกล่าวยังไม่อาจสร้างความเชื่อมั่นต่อการดำเนินธุรกิจของภาคเอกชนได้เท่าที่ควร
เนื่องจากราคาน้ำมันที่ปรับตัวสูงขึ้นจนทำสถิติสูงสุดใหม่จะเป็นสาเหตุสำคัญที่ฉุดรั้งการกลับมาฟื้นตัวของการอุปโภค
ภาคเอกชนในไตรมาสสุดท้ายของปีต่อเนื่องไปจนปีหน้า การอุปโภคของภาคเอกชนที่ชะลอตัวลงส่งผลกระทบในเชิงลบต่อ
ธุรกิจร้านอาหารโดยทั่วไป ซึ่งธุรกิจอาหารของบริษัทย่อมได้รับผลกระทบเช่นกัน ทำให้บริษัทต้องดำเนินกลยุทธ์การตลาด
ในเชิงรุก ตลอดจนจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายเพื่อกระตุ้นการบริโภคอย่างต่อเนื่องตลอดช่วงครึ่งปีหลัง อย่างไรก็ดี ปัจจัย
สำคัญอีกปัจจัยหนึ่งที่จะขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยไปข้างหน้าคือ การจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปที่มีจะขึ้นในเดือนธันวาคมนี้
และการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีที่คาดว่าจะเสร็จสิ้นกลางเดือนมกราคมปี 2551 อาจกล่าวได้ว่า ความไม่แน่นอนทางการเมือง
ส่วนหนึ่งมีส่งผลกระทบในเชิงลบต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทย ดังจะเห็นได้รายงานตัวเลขของการท่องเที่ยวแห่ง
ประเทศไทยในไตรมาส 3 มีจำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 2.3 ขณะที่อัตราการเข้าพักโรงแรมโดยเฉลี่ยทั่วประเทศ
อยู่ที่ร้อยละ 58 ซึ่งชะลอตัวลงอย่างชัดเจนเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ซึ่งมีอัตราการขยายตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวสูง
ถึงร้อยละ 11.8 และอัตราการเข้าพักโรงแรมโดยเฉลี่ยที่ร้อยละ 61 อย่างไรก็ดีการชะลอตัวลงดังกล่าวส่วนหนึ่งเป็นผลมาจาก
ตัวเลขของปี 2549 เป็นฐานที่สูง เนื่องจากเป็นปีหลังจากเหตุการณ์สึนามิ
แม้ว่าภาวะเศรษฐกิจโดยรวมจะไม่เอื้ออำนวยต่อการดำเนินธุรกิจ แต่บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน)
("MINT") ยังสามารถรักษาการเติบโตทั้งในแง่ของรายได้และกำไรไว้ได้ โดยในด้านธุรกิจอาหารยังคงมีการขยายสาขาอย่าง
ต่อเนื่อง ทำให้ยอดขายรวมของทุกสาขา (Total System Sales) เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
ในขณะที่ธุรกิจโรงแรม มีรายได้เฉลี่ยต่อห้อง (RevPar) เพิ่มขึ้นอย่างแข็งแกร่งถึงร้อยละ 20 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี
ก่อน
สรุปสาระสำคัญของผลการดำเนินงาน
ผลการดำเนินงานในไตรมาส 3 ปี 2550
บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) ได้รายงานผลประกอบการในไตรมาส 3 ปี 2550 โดยบริษัทฯ มีรายได้
รวม 3,340 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน คิดเป็นร้อยละ 16.4 และมีกำไรสุทธิ 371 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ
55 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ธุรกิจหลักที่สร้างรายได้ให้บริษัท คือ ธุรกิจอาหารคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 46 และธุรกิจ
โรงแรมคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 35 ของรายได้รวม เป็นที่ทราบกันดีว่าการชะลอตัวของการบริโภคภายในประเทศส่งผล
กระทบในทางลบต่อธุรกิจร้านอาหาร แต่บริษัทฯ สามารถรักษาระดับการเติบโตของธุรกิจอาหารได้ดีเมื่อเทียบกับคู่แข่ง
กล่าวคือ รายได้จากธุรกิจอาหารเพิ่มขึ้น ร้อยละ 4 โดยมีการขยายสาขาเพิ่มขึ้น 4 สาขาในไตรมาส 3 ในด้านธุรกิจโรงแรม
แม้ว่าอัตราการเข้าพักเฉลี่ยจะทรงตัวจากเมื่อเทียบปีก่อนที่ร้อยละ 70 แต่อัตราค่าห้องพักเฉลี่ย เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 21 ที่ระดับ 1
4,663 บาทต่อคืน ผลการดำเนินงานที่แข็งแกร่งของธุรกิจโรงแรมสาเหตุมาจาก 1) อัตราค่าห้องพักเฉลี่ยที่ดีขึ้นจากการรับรู้
ผลการดำเนินงานเต็มปีของโรงแรมเปิดใหม่ที่ทยอยเปิดดำเนินการในช่วงที่ผ่านมา 2) โรงแรมที่เปิดใหม่ตั้งอยู่ในแหล่ง
ดึงดูดนักท่องเที่ยวที่มีกำลังซื้อสูงอย่างมัลดีฟส์ และเกาะสมุย ทำให้สามารถกำหนดค่าห้องพักในอัตราที่สูงได้ 3) โรงแรม
โฟร์ ซีซั่น กรุงเทพ สามารถเปิดให้บริการห้องพักเต็มได้เต็มอัตรา เมื่อเทียบกับปีที่แล้วที่มีการปิดปรับปรุงห้องพักบางส่วน
และ 4) การฟื้นตัวของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในจังหวัดแถบชายทะเลอันดามัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในจังหวัดภูเก็ต
ผลการดำเนินงานใน 9 เดือนแรกของปี 2550
ในช่วง 9 เดือนแรกของปี บริษัทฯ ยังคงมีผลการดำเนินงานที่เติบโตต่อเนื่อง โดยบริษัทฯ มีรายได้รวม 10,183 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนคิดเป็นร้อยละ 13 โดยธุรกิจหลักที่สร้างรายได้ให้แก่บริษัท ได้แก่ ธุรกิจอาหารคิดเป็น
สัดส่วนร้อยละ 47 และธุรกิจโรงแรมคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 37 และบริษัทฯ มีกำไรสุทธิ 1,052 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ
19 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เมื่อพิจารณารายธุรกิจแล้ว พบว่า ธุรกิจอาหารมีการเติบโตของรายได้อย่างแข็งแกร่งถึงร้อยละ
8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากมีการเปิดสาขาใหม่สุทธิในช่วง 9 เดือนแรกของปีนี้ จำนวน 22 สาขา สำหรับ
ธุรกิจโรงแรม มีผลการดำเนินงานเป็นที่น่าพอใจ โดยมีอัตราการเข้าพักอยู่ที่ร้อยละ 72 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี
ก่อนที่ร้อยละ 71 ในขณะที่อัตราค่าห้องพักเฉลี่ยอยู่ที่ 5,171 บาทต่อคืน เพิ่มขึ้นร้อยละ 19
รายได้จำแนกตามประเภทธุรกิจ
รายได้ (ล้านบาท)
ไตรมาส 3 ปี 2550 9 เดือนแรก ปี2550
อาหาร 1,535 4,800
โรงแรม 1,171 3,775
อสังหาริมทรัพย์ - 113
สปา 95 282
ศูนย์การค้าและบันเทิง 131 398
บริหารจัดการ 243 287
อื่นๆ 165 528
รวม 3,340 10,183
ณ สิ้นไตรมาส 3 ปี 2550 บริษัทฯ มีสินทรัพย์รวม 20,433 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 2,646 ล้านบาท เมื่อเทียบกับสินทรัพย์รวม ณ สิ้น
ปี 2549 ทั้งนี้มีสาเหตุหลักมาจากการเพิ่มขึ้นของเงินลงทุนระยะสั้น (ซึ่งเป็นเงินรับจากการออกหุ้นกู้ เพื่อรอไถ่ถอนหุ้นกู้ที่จะ
ครบกำหนดในไตรมาส 4 ปีนี้) การเพิ่มขึ้นของที่ดินและโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อขาย (โครงการสมุย บีช เรสซิ
เด้นซ์) ที่ดินและโครงการระหว่างการพัฒนา (โรงแรมอนันตรา ภูเก็ต และโครงการราชดำริ เรสซิเด้นซ์) และสินทรัพย์ถาวร
ของบริษัท (โรงแรมโฟร์ซีซั่น เกาะสมุย และ การเปิดสาขาใหม่ของธุรกิจอาหาร) บริษัทฯ มีหนี้สินรวม 11,415 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นจาก ณ สิ้นปีที่แล้ว 1,752 ล้านบาท เนื่องจากบริษัทฯ มีการออกหุ้นกู้ระยะยาว เพื่อคืนเงินกู้ระยะสั้น และนำไปใช้ใน
การก่อสร้างโครงการระหว่างการพัฒนาและสินทรัพย์ถาวร ในขณะที่บริษัทฯ มีส่วนของผู้ถือหุ้น 9,018 ล้านบาท เพิ่มขึ้น
894 ล้านบาท เนื่องจากกำไรสะสมที่เพิ่มขึ้นจากผลการดำเนินงาน และการออกหุ้นเพิ่มทุนจากการแปลงสภาพใบสำคัญ
แสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญ
ใน 9 เดือนแรกของ ปี 2550 บริษัทฯและบริษัทย่อย มีกระแสเงินสดจากการดำเนินงาน 1,231 ล้านบาท ลดลง 332 ล้านบาท
เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันในปีก่อน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลมาจากเงินสดจ่ายค่าที่ดินและโครงการอสังหาริมทรัพย์เพื่อขาย
(โครงการสมุย บีช เรสซิเด้นซ์) บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีกระแสเงินสดจ่ายจากการลงทุนจำนวน 3,079 ล้านบาท โดยเป็น
การลงทุนเพิ่มใน 1) เงินลงทุนระยะสั้นและระยะยาว จำนวน 1,149 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่เป็นเงินฝากระยะสั้นที่สถาบัน
การเงินเพื่อรอไถ่ถอนหุ้นกู้ที่ครบกำหนดในไตรมาส 4 2) เงินลงทุนในบริษัทย่อยจำนวน 241 ล้านบาท ซึ่งเป็นการลงทุน
เพิ่มใน บริษัทโคโค่ ปาล์ม และ บริษัท โรงแรม ราชดำริ 3)โครงการระหว่างการพัฒนาและสินทรัพย์ถาวร จำนวน 1,182
ล้านบาท และ 4) เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทร่วมและบริษัทอื่น จำนวน 541 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นการให้เงินกู้แก่ บริษัท ยูโทเปีย
โฮลดิ้ง และ บริษัท ภูเก็ต แลนด์ โอนเนอร์ จำกัด สำหรับกระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงินมีการเปลี่ยนแปลงอันมีสาเหตุ
หลักมาจากเงินสดรับจากการออกหุ้นกู้ระยะยาวจำนวน 3,900 ล้านบาท การชำระคืนเงินกู้ระยะสั้นและระยะยาวสุทธิ
จำนวน 2,069 ล้านบาทการเพิ่มทุนจากการแปลงสภาพใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญของนักลงทุนและพนักงาน จำนวน
208 ล้านบาท และการจ่ายเงินปันผล จำนวน 436 ล้านบาท ดังนั้นใน 9 เดือนแรกของ ปี 2550 บริษัทฯ จึงมีกระแสเงินสด
ลดลงสุทธิ 245 ล้านบาท
ผลกระทบจากนโยบายบัญชีการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม
ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 26/2549 เรื่องการปฏิบัติวิธีการบัญชีตามมาตรฐานฉบับที่ 44 เรื่องงบการเงินรวมและ
การบัญชีสำหรับเงินลงทุนในบริษัทย่อย กำหนดให้บริษัทเปลี่ยนแปลงวิธีการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัท
ร่วมในงบการเงินเฉพาะของบริษัทจากวิธีส่วนได้เสียเป็นวิธีราคาทุน ซึ่งอาจมีผลทำให้กำไรและกำไรสะสมในงบการเงิน
เฉพาะกิจการและงบการเงินรวมแตกต่างกัน ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นเพียงการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีเท่านั้น
มิได้ทำให้ปัจจัยพื้นฐานในการดำเนินธุรกิจ (เช่น โครงสร้างองค์กร โครงสร้างการจัดการ แหล่งที่มาของรายได้ นโยบาย
และกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจ เป็นต้น) ของบริษัทเปลี่ยนแปลงไป
เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ตามงบการเงินเฉพาะ
ภายใต้เงื่อนไขของข้อปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นกู้ บริษัทมีข้อจำกัดเกี่ยวกับการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท ซึ่งหากบริษัท
ใช้ราคาทุนเดิมของเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม เป็นราคาเริ่มต้น บริษัทจะขัดแย้งกับเงื่อนไขต่อผู้ถือหุ้นกู้ ณ วันที่
30 กันยายน พ.ศ. 2550 เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมจึงบันทึกโดยใช้ carrying value เป็นราคาทุนเริ่มต้น ตามงบ
การเงินเฉพาะซึ่งมีมูลค่าตามบัญชี เท่ากับ 8,886 ล้านบาท ลดลง 118 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.32 เมื่อเปรียบเทียบกับมูลค่า
ตามบัญชี ณ สิ้นปี พ.ศ. 2549 ซึ่งเป็นผลจากการคืนทุนของบริษัทย่อย จำนวน 33 ล้านบาท (ส่วนใหญ่มาจากกองทุนรวม
บริหารสินทรัพย์ไทยและกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทรัพย์ทวี) และการจ่ายเงินปันผลจากกำไรสุทธิก่อนปี พ.ศ. 2550 ของ
บริษัทย่อยและบริษัทร่วมจำนวน 190 ล้านบาท ในขณะที่มีการลงทุนเพิ่มในบริษัทย่อยจำนวน 110 ล้านบาท
3
กำไรสุทธิ
บริษัทฯและบริษัทย่อยมีกำไรสุทธิสำหรับงวดเก้าเดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2550 จำนวน 1,052 ล้านบาท คิดเป็น
กำไรต่อหุ้นปรับลดจำนวน 0.3532 บาท ขณะที่งบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัทฯ มีกำไรสุทธิสำหรับงวดเก้าเดือน สิ้นสุด
วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2550 จำนวน 242 ล้านบาท คิดเป็นกำไรต่อหุ้นปรับลดจำนวน 0.0812 บาท ผลแตกต่างของกำไรสุทธิ
จากงบการเงินทั้งสองดังกล่าวมีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงวิธีการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมใน
งบการเงินเฉพาะกิจการ โดยที่กำไรสุทธิในงบการเงินรวมได้รวมผลการดำเนินงานของบริษัทย่อยและบริษัทร่วมตาม
สัดส่วนการถือหุ้น ส่วนกำไรสุทธิในงบการเงินเฉพาะกิจการจะรับรู้เฉพาะผลการดำเนินงานของบริษัทใหญ่และจะรับรู้
รายได้จากการลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมก็ต่อเมื่อได้รับเงินปันผลจากบริษัทย่อยและบริษัทร่วมเท่านั้น
พัฒนาการที่สำคัญในไตรมาส 3 ปี 2550
ธุรกิจโรงแรม
ในเดือนตุลาคม ปี 2550 บริษัท และบริษัทในเครือ ("MINT") และ แมริออท เวเคชั่น คลับ และบริษัทในเครือ ("MVCI") ได้
ลงนามในสัญญาเพื่อร่วมมือกันพัฒนาโครงการพักผ่อนแบบปันส่วนเวลา (timeshare) ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศไทย ภายใต้ความตกลงใหม่ในครั้งนี้ MINT จะมีบทบาทในการเป็นผู้ให้คำปรึกษาในการ
ก่อสร้างโครงการ การตลาด ตลอดจนการเป็นที่ปรึกษาให้กับ MVCI ในการขยายธุรกิจ timeshare ในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศไทย ในมุมมองของบริษัทเชื่อว่า การลงนามความร่วมมือในครั้งนี้ถือเป็น
ก้าวที่สำคัญในการนำกลยุทธ์ Asset Light มาใช้อย่างเป็นรูปธรรมในการที่จะเพิ่มสัดส่วนรายได้จากธุรกิจโรงแรมและ
สันทนาการที่มีฐานรายได้จากค่าธรรมการบริหารจัดการ แทนการพึ่งพิ่งรายได้ที่มาจากการใช้เงินลงทุนของบริษัทเอง
และในเดือนเดียวกันนี้ บริษัทได้ลงนามในสัญญาเช่าระยะยาวกับ Maldives Tourism Development Corporation (MTDC)
ในการเช่าเกาะคีฮาวา ฮูราฮู ขนาดพื้นที่ประมาณ 85,000 ตารางเมตร ซึ่งตั้งอยู่ที่ บา อะโทล ประเทศมัลดีฟส์ เป็นเวลา 23 ปี
ภายใต้ข้อตกลงในสัญญา MINT ได้จ่ายค่าเช่าล่วงหน้า จำนวน 11.12 ล้านเหรียญสหรัฐ หมู่เกาะมัลดีฟส์ยังคงเป็นตลาด
ท่องเที่ยวที่น่าสนใจลงทุนในสายตาของ MINT บริษัทเชื่อว่าการขยายธุรกิจโรงแรมในครั้งนี้จะนำไปสู่การสร้างความ
แข็งแกร่งเพื่อความเป็นผู้นำในธุรกิจโรงแรมในหมู่เกาะมัลดีฟส์ในอนาคต โดยการลงทุนในโรงแรมครั้งนี้ บริษัทวางแผนที่
จะเปิดตัวโรงแรมอนันตราแห่งที่สอง ซึ่งเป็นแบรนด์ของ MINT เอง โดยโรงแรมอนันตราที่เกาะคีฮาวา ฮูราฮูนี้ จะเป็น
รูปแบบห้องชุด พูลวิลล่า จำนวน 55 ห้อง คาดว่าจะเปิดให้บริการได้ในปี 2552 โดย MINT จะเป็นผู้ลงทุน 100 เปอร์เซ็นต์
และจัดการบริหารด้วยตนเอง
ธุรกิจอาหาร
ในไตรมาส 3 ปี 2550 บริษัทฯ มีสาขาร้านอาหารทั้งสิ้น 653 สาขา โดยมีการเปิดใหม่สุทธิทั้งสิ้น 4 สาขา แบ่งเป็นสาขาที่
บริษัทฯ ลงทุนเอง จำนวน 1 สาขา ได้แก่ เปิดเดอะ พิซซ่าในประเทศจีน 2 สาขา แดรี่ควีน 4 สาขา ปิดซิซซ์เลอร์ 1 สาขา ปิด
ซิซซ์เลอร์ในประเทศจีน 1 สาขาและปิดเลอแจ๊ส 3 สาขา สำหรับสาขาแฟรนไชส์ จำนวน 3 สาขาได้แก่ สเวนเซ่นต์ใน
ประเทศไทย 1 สาขา สเวนเซ่นต์ในประเทศซาอุดิอาระเบีย 1 สาขา และสเวนเซ่นต์ในประเทศกัมพูชา 1 สาขา
ในเดือนตุลาคม ปี 2550 บริษัท ประกาศแผนการเข้าซื้อเงินลงทุนใน คอฟฟี่ คลับ โฮลดิ้ง (The Coffee Club) ในสัดส่วนร้อย
ละ 50 คิดเป็นมูลค่าการลงทุนในเบื้องต้นจำนวน 23 ล้านเหรียญออสเตรเลีย และอาจจะมีการจ่ายเงินลงทุนเพิ่มเติมตามผล
การดำเนินงานของ The Coffee Club ในช่วงสองปีข้างหน้า ปัจจุบัน The Coffee Club เป็นบริษัทผู้นำในธุรกิจอาหารและ
ธุรกิจแฟรนไชส์ร้านอาหารและกาแฟที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและเติบโตเร็วที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศออสเตรเลีย โดยมียอดขาย
รวม 145 ล้านเหรียญออสเตรเลีย และมีสาขาร้านอาหารภายใต้แบรนด์ The Coffee Club ซึ่งเป็นแบรนด์ของตนเองใน
ประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์มากกว่า 180 สาขา การลงทุนใน The Coffee Club ครั้งนี้ ถือได้ว่าเป็นก้าวหนึ่งของ
MINT ในการได้มาซึ่งแบรนด์ที่มีการบริหารจัดการที่ดี โดยเป็นการเข้าลงทุนในแบรนด์มีขนาดใหญ่เพียงพอ อยู่ในตลาดที่มี
การเติบโตสูง และมีศักยภาพในการขยายธุรกิจออกไปในระดับสากลผ่านโมเดลธุรกิจแฟรนไชส์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการ
ดำเนินการภายใต้กลยุทธ์ Asset Light ของ MINT ซึ่งในแต่ละปี The Coffee Club มีการขยายสาขากว่า 25 สาขาต่อปี
อย่างไรก็ดี MINT ได้วางแผนที่จะขยายแบรนด์ The Coffee Club ออกไปในระดับสากล ภายใต้ระบบและโครงข่าย
ร้านอาหารในประเทศต่าง ๆ ของบริษัทที่มีอยู่แล้วในปัจจุบัน
ธุรกิจสปา
ณ ปัจจุบัน บริษัทฯ ดำเนินธุรกิจสปา โดยใช้แบรนด์หลักของบริษัทฯ ได้แก่ อนันตรา สปา และมันดารา สปา ในการ
ให้บริการสปาในโรงแรมที่เป็นของบริษัทและบริษัทย่อย และรับบริหารให้กับสปาในโรงแรมต่างๆ ทั้งในประเทศและ
ต่างประเทศอีกด้วย โดยสิ้นไตรมาส 3 ปี 2550 บริษัทฯ มีจำนวนสปาทั้งสิ้น 23 แห่งในประเทศไทย จีน มัลดีฟส์ แทนซาเนีย
จอร์แดน และสหรัฐอาหรับเอมิเรต
ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
จากการที่บริษัทได้ขยายธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ในปัจจุบันบริษัทมีโครงการอสังหาริมทรัพย์ ที่ เกาะสมุย (โครงการสมุย บีช
เรสซิเด้นท์ และ ที่กรุงเทพฯ (โครงการเซ็นต์ รี จิส เรสสิเด้นส์) โดยโครงการที่สมุย เป็นบ้านตากอากาศระดับหรู ซึ่งอยู่ติด
กับโรงแรมโฟร์ซีซั่น สมุย จำนวน 14 หลัง และ ได้ขายไปแล้ว 2 หลัง และคาดว่าจะขายได้อีก 2 -3 หลัง ในไตรมาส 4 นี้
ส่วนโครงการ เซ็นต์ รี จิส เรสสิเด้นส์ เป็นโครงการ คอนโดมิเนียมระดับหรู จำนวน 71 ห้อง คาดว่าจะแล้วเสร็จ ในต้นปี
2010 โดยจะเริ่มเปิดขายโครงการได้ในปลายปี 2550
ผลการดำเนินงานจำแนกรายธุรกิจ
แม้ว่าธุรกิจอาหารจะสร้างรายได้ให้กับบริษัทเป็นสัดส่วนร้อยละ 46 ของของรายได้รวม แต่เมื่อพิจารณาในแง่ของ
ความสามารถในการทำกำไรจากการดำเนินงาน (EBITDA) ธุรกิจโรงแรมและสันทนาการสามารถสร้างอัตรากำไรที่สูงกว่า
ดังจะเห็นได้จากผลการดำเนินงานในไตรมาส 3 ปี 2550 ซึ่งบริษัทฯ มีกำไรจากการดำเนินงานที่มาจากธุรกิจอาหารคิดเป็น
สัดส่วนร้อยละ 26 ในขณะที่อีกร้อยละ 74 มาจากธุรกิจโรงแรมและสันทนา และธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
กำไรจากการดำเนินงานจำแนกตามประเภทธุรกิจ
EBITDA (ล้านบาท)
ไตรมาส 3 ปี 2550 9 เดือนแรก ปี 2550
อาหาร 222 710
โรงแรมและสันทนาการ 627 1,836
อสังหาริมทรัพย์ - 46
รวม 849 2,592
ผลการดำเนินงานของธุรกิจอาหารจำแนกตามแบรนด์
อัตราการเติบโตของยอดขายรวม (%)
แบรนด์ ไตรมาส 3 ปี 2550 9 เดือน 2550
เดอะ พิซซ่า 12.8 17.3
สเวนเซ่นส์ 3.0 9.1
ซิซซ์เลอร์ -11.6 -5.8
แดรี่ควีน -4.0 6.9
เบอร์เกอร์คิง 28.0 23.8
เลอแจ๊ส -17.8 -1.7
เฉลี่ย 4.7 10.1
หมายเหตุ: ร้านอาหารเลอแจ๊สเริ่มเปิดดำเนินการตั้งแต่มกราคม 2549 ภายใต้การดำเนินงานของบริษัท ไมเนอร์ ฟู้ดกรุ๊ป
ธุรกิจอาหารของบริษัทมีผลการดำเนินงานที่ดีขึ้น กล่าวคือ ในไตรมาส 3 ปี 2550 บริษัทฯ มีอัตราการเติบโตของยอดขายรวม
ทุกสาขา เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งสาเหตุหลักมาจากการการขยายสาขา และการใช้กลยุทธ์
ทางการตลาดซึ่งรวมถึงการส่งเสริมการขายในเชิงรุกของเดอะ พิซซ่า สเวนเซ่นส์ และเบอร์เกอร์คิง เป็นต้น และใน 9 เดือน
แรกของปี 2550 มีอัตราการเติบโตของยอดขายรวม ทุกสาขาเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 10.1 เมื่อเทียบช่วงเดียวกันในปีก่อน เนื่องจาก
การเปิดสาขาใหม่สุทธิ 22 สาขาจากสิ้นปี 2549
6
ผลการดำเนินงานของธุรกิจโรงแรมจำแนกตามกลุ่มโรงแรม
กลุ่มโรงแรม อัตราการเข้าพัก (%) อัตราค่าห้องเฉลี่ย (บาท/คืน)
ไตรมาส 3 ปี 2550 9 เดือนแรก ปี 2550 ไตรมาส 3 ปี 2550 9 เดือนแรก ปี 2550
อนันตรา 62.5 65.8 5,223 6,180
แมริออท 78.0 80.7 3,416 3,993
โฟร์ซีซั่นส์ 61.0 58.9 7,989 8,339
อื่นๆ 53.3 62.2 4,207 3,998
เฉลี่ย 69.5 71.5 4,663 5,171
หมายเหตุ: ข้อมูลจากโรงแรม 15 แห่ง ซึ่งรวมโรงแรมที่เปิดใหม่ ได่แก่ โรงแรมโฟร์ซีซั่นส์ ที่เกาะสมุย และโรงแรมนาลาดู ที่มัลดีฟท์
ในไตรมาส 3 ปี 2550 บริษัทฯ มีอัตราการเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่ ร้อยละ 69.5 ขณะที่อัตราค่าห้องพักโดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเป็น 4,663
บาทต่อคืน เพิ่มขึ้นร้อยละ 21 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน จากโรงแรมทั้งหมด 15 แห่ง โดยโรงแรมกลุ่มแมริออทมีผลงานที่
โดดเด่น ซึ่งมีอัตราการเข้าพักสูงถึง ร้อยละ 78 และสามารถรักษาการเพิ่มขึ้นของอัตราค่าห้องพักเฉลี่ยต่อคืนสูงขึ้นในอัตรา
ร้อยละ 6 สำหรับกลุ่มโรงแรมอนันตรา แม้ว่าจะมีอัตราการเข้าพักจะสูงขึ้นจากปีที่แล้วเพียงเล็กน้อย แต่อัตราค่าห้องพัก
เฉลี่ยต่อคืนกลับสูงขึ้นอย่างเป็นสาระสำคัญในอัตราร้อยละ 27 ที่ 5,223 บาทต่อคืน โรงแรม โฟร์ซีซั่นส์ ก็มีผลงานที่น่า
ประทับใจเนื่องจากกลุ่มนี้มีอัตราการเข้าพักสูงขึ้นร้อยละ 14 โดยมีอัตราค่าห้องพักเฉลี่ยเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 16 ที่ 7,989 บาท
ต่อคืน เนื่องจากผลงานที่โดดเด่นของ โรงแรมโฟร์ซีซั่น กรุงเทพฯ และ โฟร์ซีซั่น สมุย ในขณะที่ ในไตรมาส 3 ปี 2550
ธุรกิจโรงแรมมีรายได้ทั้งสิ้น 1,171 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาในอัตราร้อยละ 18 อนึ่ง บริษัทฯ ไม่ได้นำรายได้ของ
โรงแรมที่บริษัทร่วมลงทุนมารวมในรายได้จากธุรกิจโรงแรมของบริษัท ซึ่งประกอบด้วยโรงแรม 3 แห่งที่มัลดีฟส์และ 1
แห่งที่เวียดนาม
ธุรกิจสปา
ในไตรมาส 3 ปี 2550 MINT มีรายได้จากธุรกิจสปา 95 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ถึงแม้ว่า
ธุรกิจสปาในปัจจุบันจะมีการแข่งขันสูงขึ้นเรื่อย ๆในประเทศไทย แต่บริษัทก็สามารถรักษาระดับรายได้ที่แข็งแกร่งโดยการ
ที่บริษัทได้กระจายสถานที่ประกอบการที่หลากหลาย และการมีรายได้จากการบริหารงาน
ธุรกิจศูนย์การค้าและธุรกิจบันเทิง
ในไตรมาส 3 ปี 2550 รายได้จากธุรกิจศูนย์การค้าและธุรกิจบันเทิงมีจำนวนทั้งสิ้น 131 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 6 จากช่วง
เดียวกันของปีก่อนที่มีรายได้ 124 ล้านบาท เนื่องจากศูนย์การค้ามีผลการดำเนินงานที่ดีขึ้น โดยเฉพาะ Food Wave ซึ่งเป็น
ศูนย์อาหารในศูนย์การค้าที่พัทยา รวมถึงรายได้ค่าเช่าจากร้านค้าในศูนย์การค้าที่ดำเนินธุรกิจอาหาร
การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน
30 กันยายน 2550 30 กันยายน 2549
ความสามารถในการทำกำไร (ใน 9 เดือนแรก)
อัตรากำไรขั้นต้น (%) 64.87% 64.75%
อัตรากำไรสุทธิ (%) 10.33% 9.81%
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%) 12.27% 12.97%
ความมีประสิทธิภาพ
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%)(ใน 9 เดือนแรก) 5.51% 5.55%
ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน) (ไตรมาส 3) 15 15
นโยบายทางการเงิน
อัตราส่วนความสามารถในการชำระดอกเบี้ย (เท่า) (ใน 9 เดือนแรก) 6.42 8.37
30 กันยายน 2550 31 ธันวาคม 2549
ความสามารถในการดำรงสภาพคล่อง
สินทรัพย์หมุนเวียนต่อหนี้สินหมุนเวียน (เท่า) 1.37 0.63
ภาระหนี้สินต่อทุน
อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 1.27 1.19
อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 0.94 0.87
อัตราส่วนทางการเงินในไตรมาส 3 ปี 2550 บริษัทมีอัตรากำไรขั้นต้นอยู่ในระดับใกล้เคียงกับปีก่อน ขณะที่อัตรากำไรสุทธิ
เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 9.8 เป็นร้อยละ 10.3 แสดงให้เห็นว่าบริษัทมีความสามารถในการควบคุมและบริหารค่าใช้จ่ายได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ และกำไรที่เพิ่มขึ้นจากธุรกิจที่เน้นการใช้สินทรัพย์ทางปัญญา หรือ Asset-Light สำหรับอัตราผลตอบแทนผู้
ถือหุ้นร้อยละ 12.2 เท่า ลดลงเมื่อเทียบกับสิ้นปีที่แล้วที่ร้อยละ 12.9 เนื่องจากจำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้นจากการเพิ่มทุนตั้งแต่ปี
2549 เป็นต้นมา
สำหรับอัตราส่วนที่แสดงถึงความมีประสิทธิภาพนั้น พบว่า อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์อยู่ในระดับใกล้เคียงกับปีก่อน
และระยะเวลาในการเก็บหนี้เฉลี่ยยังคงระดับเดิมที่ 15 วัน อัตราส่วนสินทรัพย์หมุนเวียนต่อหนี้สินหมุนเวียนเพิ่มขึ้นจาก
0.63 เท่าเป็น 1.37 เท่า เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของเงินลงทุนระยะสั้น ในขณะที่อัตราส่วนความสามารถในการชำระดอกเบี้ยใน
9 เดือนแรกของปี 2550 ลดลง เป็น 6.42 จาก 8.37 ในปีที่ผ่านมาเนื่องมาจากการลดลงของกระแสเงินสดรับจากการ
ดำเนินงานอันเนื่องมาจากการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์เพื่อขายของโครงการสมุยบีชเรสสิเด้นท์ที่เริ่มเปิดการขายในปลายปีที่
ผ่านมา
จะเห็นได้ว่าการทำกำไรของบริษัทดีมากขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ในขณะที่อัตราส่วนหนี้สินเพิ่มขึ้นเพียง
เล็กน้อยเนื่องจากการออกหุ้นกู้ระยะยาวในเดือนกันยายนที่ผ่านมา โดยบริษัทมีอัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้นอยู่
ที่ 1.27 เท่าเทียบกับ 1.19 เท่า ณ สิ้นปีที่ผ่านมา และอัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นอยู่ที่ระดับ
0.94 เท่า สูงขึ้นเล็กน้อยจาก 0.87 เท่า ณ. สิ้นปีที่ผ่านมา
แม้ว่าตัวเลขทางเศรษฐกิจเริ่มจะมีแนวโน้มฟื้นตัวนับตั้งแต่ปลายไตรมาส 3 แต่บริษัทเชื่อว่าภาวะการเติบโตของเศรษฐกิจ
ยังคงไม่แข็งแกร่งเท่าที่ควร เนื่องจากราคาน้ำมันและราคาสินค้าอุปโภคบริโภคที่ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจะเป็นปัจจัยฉุด
รั้งการกลับมาฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ อย่างไรก็ดี บริษัทได้ตระหนักถึงสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้นและได้
เตรียมพร้อมเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และจากการที่บริษัทฯ มีการกระจายแหล่งที่มาของรายได้ที่
หลากหลาย จึงเป็นเครื่องช่วยบรรเทาผลกระทบ อีกทั้งยังสามารถรักษาระดับการเติบโตของรายได้และกำไรได้อย่างต่อเนื่อง
และสูงกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมโดยรวม
สำหรับธุรกิจอาหารของบริษัทจะมีการเพิ่มสัดส่วนการรายได้ธุรกิจอาหารจากการต่างประเทศมากขึ้น โดยการขยาย
ร้านอาหารทั้งในส่วนที่บริษัทลงทุนเองและร้านสาขาแฟรนไชส์ในต่างประเทศ ซึ่งสอดคล้องกับแผนขยายธุรกิจออกไปใน
ระดับสากลและโมเดลการดำเนินธุรกิจภายใต้กลยุทธ์ Asset Light เช่นเดียวกันกับธุรกิจโรงแรมของบริษัทที่จะมีการขยาย
การดำเนินธุรกิจออกไปยังต่างประเทศมากขึ้นผ่านการรับบริหารจัดการโรงแรม ในขณะที่รายได้ของธุรกิจโรงแรมใน
ปัจจุบันพึ่งพิงรายได้จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ การกระจายแหล่งที่ตั้งของโรงแรมไปยังแหล่งดึงดูดนักท่องเที่ยวที่
หลากหลาย มีส่วนทำให้ธุรกิจกิจโรงแรมของบริษัทมีการเติบโตอย่างเห็นได้ชัดเจน นอกเหนือจากธุรกิจหลักทั้งสองที่กล่าว
มาข้างต้นแล้ว ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ก็เป็นอีกธุรกิจหนึ่งที่จะมีส่วนผลักดันให้บริษัทสามารถบรรลุเป้าหมายของการ
ได้มาซึ่งผลตอบแทนจากเงินลงทุนสูงสุด ตลอดจนมีรายได้และกระแสเงินสดที่แข็งแกร่ง และเพื่อป้องกันความผันผวน
ของอัตราแลกเปลี่ยนที่จะมีผลกระทบกับราคาค่าห้อง บริษัทได้เปลี่ยนแปลงการตั้งราคาค่าห้องในรูปเงินบาทแทนการพึ่ง
สกุลดอลลาร์สหรัฐ
การเติบโตของบริษัทไม่เพียงแต่เป็นการเติบโตจากการดำเนินธุรกิจตามปกติเพียงอย่างเดียว แต่ยังเติบโตจากการขยายธุรกิจ
จากการลงทุนในธุรกิจอาหารแบรนด์ใหม่และการริเริ่มธุรกิจใหม่ด้านโรงแรม โดยในเดือนตุลาคม บริษัทได้ลงนามเพื่อเป็น
พันธมิตรทางธุรกิจกับ แมริออท เวเคชั่น คลับ ("MVCI") ในการเป็นผู้ให้คำปรึกษาในการก่อสร้างโครงการ การตลาด
ตลอดจนการเป็นที่ปรึกษาให้กับ MVCI ในการขยายธุรกิจ timeshare ซึ่งการลงนามความร่วมมือในครั้งนี้จะช่วยเพิ่มสัดส่วน
รายได้จากค่าธรรมการบริหารจัดการจากธุรกิจโรงแรมให้แก่บริษัท นอกจากนี้ พัฒนาการที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งในธุรกิจ
โรงแรมของบริษัท คือ การได้สิทธิการเช่าที่ดินระยาวเป็นระยะเวลา 23 ที่ประเทศมัลดีฟส์ เพื่อก่อสร้างโรงแรมอนันตราแห่ง
ที่ 2 ซึ่งจะมีห้องพักจำนวน 55 ห้อง คาดว่าจะเปิดให้บริการได้ในปี 2552 นอกจากนี้ ทางด้านธุรกิจอาหาร บริษัทได้ประกาศ
9
แผนการเข้าซื้อเงินลงทุนสัดส่วนร้อยละ 50 ใน คอฟฟี่ คลับ โฮลดิ้ง (The Coffee Club) ซึ่งมีสาขามากกว่า 180 สาขา ใน
ประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ การลงทุนในครั้งนี้ จะทำให้บริษัทได้สิทธิที่จะขยายแบรนด์ The Coffee Club ออกไป
ยังประเทศต่างๆ และได้รับผลตอบแทนจากผลการดำเนินงานของธุรกิจทีมีอยู่แล้วในทวีปออสเตรเลีย
กล่าวโดยสรุปได้ว่า ผู้บริหารของบริษัทยังคงเชื่อมั่นว่า บริษัทยังคงมีความแข็งแกร่งทั้งในการดำเนินธุรกิจ การขยายธุรกิจ
ตลอดจนผลการดำเนินงาน โดยบริษัทเชื่อว่าปัจจัยสำคัญที่จะผลักดันการเติบโตของบริษัทต่อไปในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า จะ
ไม่ได้มาจากสินทรัพย์ใดสินทรัพย์หนึ่งเป็นการเฉพาะหรือมาจากผลประกอบการที่ดีเยี่ยมเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงการริเริ่ม
โครงการและธุรกิจใหม่ๆ จากการใช้แบรนด์หลักของตนเองในการขยายธุรกิจ รวมไปถึงการเติบโตที่เกิดจากวัฒนธรรมการ
บริหารองค์กรที่การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอยู่ตลอดเวลา
ลงชื่อ_________________________
ปรารถนา มโนมัยพิบูลย์
กรรมการ
หัวข้อข่าว คำอธิบายและวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำเนินงานไตรมาส 3/50
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 18:45:00
บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน)
คำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำเนินงานในไตรมาส 3 ปี 2550
ภาพรวมเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม
ภาวะเศรษฐกิจไทยโดยรวมแสดงสัญญาณการการฟื้นตัวในช่วงปลายของไตรมาส 3 ปี 2550 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคอุป
สงค์ภายในประเทศ อันได้แก่ การอุปโภคของภาคเอกชนและการลงทุนของภาคเอกชนมีแนวโน้มของการฟื้นตัว อย่างไรก็ดี
ตัวเลขเศรษฐกิจเชิงมหภาคที่ปรับตัวดีขึ้นดังกล่าวยังไม่อาจสร้างความเชื่อมั่นต่อการดำเนินธุรกิจของภาคเอกชนได้เท่าที่ควร
เนื่องจากราคาน้ำมันที่ปรับตัวสูงขึ้นจนทำสถิติสูงสุดใหม่จะเป็นสาเหตุสำคัญที่ฉุดรั้งการกลับมาฟื้นตัวของการอุปโภค
ภาคเอกชนในไตรมาสสุดท้ายของปีต่อเนื่องไปจนปีหน้า การอุปโภคของภาคเอกชนที่ชะลอตัวลงส่งผลกระทบในเชิงลบต่อ
ธุรกิจร้านอาหารโดยทั่วไป ซึ่งธุรกิจอาหารของบริษัทย่อมได้รับผลกระทบเช่นกัน ทำให้บริษัทต้องดำเนินกลยุทธ์การตลาด
ในเชิงรุก ตลอดจนจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายเพื่อกระตุ้นการบริโภคอย่างต่อเนื่องตลอดช่วงครึ่งปีหลัง อย่างไรก็ดี ปัจจัย
สำคัญอีกปัจจัยหนึ่งที่จะขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยไปข้างหน้าคือ การจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปที่มีจะขึ้นในเดือนธันวาคมนี้
และการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีที่คาดว่าจะเสร็จสิ้นกลางเดือนมกราคมปี 2551 อาจกล่าวได้ว่า ความไม่แน่นอนทางการเมือง
ส่วนหนึ่งมีส่งผลกระทบในเชิงลบต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทย ดังจะเห็นได้รายงานตัวเลขของการท่องเที่ยวแห่ง
ประเทศไทยในไตรมาส 3 มีจำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 2.3 ขณะที่อัตราการเข้าพักโรงแรมโดยเฉลี่ยทั่วประเทศ
อยู่ที่ร้อยละ 58 ซึ่งชะลอตัวลงอย่างชัดเจนเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ซึ่งมีอัตราการขยายตัวของจำนวนนักท่องเที่ยวสูง
ถึงร้อยละ 11.8 และอัตราการเข้าพักโรงแรมโดยเฉลี่ยที่ร้อยละ 61 อย่างไรก็ดีการชะลอตัวลงดังกล่าวส่วนหนึ่งเป็นผลมาจาก
ตัวเลขของปี 2549 เป็นฐานที่สูง เนื่องจากเป็นปีหลังจากเหตุการณ์สึนามิ
แม้ว่าภาวะเศรษฐกิจโดยรวมจะไม่เอื้ออำนวยต่อการดำเนินธุรกิจ แต่บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน)
("MINT") ยังสามารถรักษาการเติบโตทั้งในแง่ของรายได้และกำไรไว้ได้ โดยในด้านธุรกิจอาหารยังคงมีการขยายสาขาอย่าง
ต่อเนื่อง ทำให้ยอดขายรวมของทุกสาขา (Total System Sales) เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
ในขณะที่ธุรกิจโรงแรม มีรายได้เฉลี่ยต่อห้อง (RevPar) เพิ่มขึ้นอย่างแข็งแกร่งถึงร้อยละ 20 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี
ก่อน
สรุปสาระสำคัญของผลการดำเนินงาน
ผลการดำเนินงานในไตรมาส 3 ปี 2550
บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) ได้รายงานผลประกอบการในไตรมาส 3 ปี 2550 โดยบริษัทฯ มีรายได้
รวม 3,340 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน คิดเป็นร้อยละ 16.4 และมีกำไรสุทธิ 371 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ
55 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ธุรกิจหลักที่สร้างรายได้ให้บริษัท คือ ธุรกิจอาหารคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 46 และธุรกิจ
โรงแรมคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 35 ของรายได้รวม เป็นที่ทราบกันดีว่าการชะลอตัวของการบริโภคภายในประเทศส่งผล
กระทบในทางลบต่อธุรกิจร้านอาหาร แต่บริษัทฯ สามารถรักษาระดับการเติบโตของธุรกิจอาหารได้ดีเมื่อเทียบกับคู่แข่ง
กล่าวคือ รายได้จากธุรกิจอาหารเพิ่มขึ้น ร้อยละ 4 โดยมีการขยายสาขาเพิ่มขึ้น 4 สาขาในไตรมาส 3 ในด้านธุรกิจโรงแรม
แม้ว่าอัตราการเข้าพักเฉลี่ยจะทรงตัวจากเมื่อเทียบปีก่อนที่ร้อยละ 70 แต่อัตราค่าห้องพักเฉลี่ย เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 21 ที่ระดับ 1
4,663 บาทต่อคืน ผลการดำเนินงานที่แข็งแกร่งของธุรกิจโรงแรมสาเหตุมาจาก 1) อัตราค่าห้องพักเฉลี่ยที่ดีขึ้นจากการรับรู้
ผลการดำเนินงานเต็มปีของโรงแรมเปิดใหม่ที่ทยอยเปิดดำเนินการในช่วงที่ผ่านมา 2) โรงแรมที่เปิดใหม่ตั้งอยู่ในแหล่ง
ดึงดูดนักท่องเที่ยวที่มีกำลังซื้อสูงอย่างมัลดีฟส์ และเกาะสมุย ทำให้สามารถกำหนดค่าห้องพักในอัตราที่สูงได้ 3) โรงแรม
โฟร์ ซีซั่น กรุงเทพ สามารถเปิดให้บริการห้องพักเต็มได้เต็มอัตรา เมื่อเทียบกับปีที่แล้วที่มีการปิดปรับปรุงห้องพักบางส่วน
และ 4) การฟื้นตัวของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในจังหวัดแถบชายทะเลอันดามัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในจังหวัดภูเก็ต
ผลการดำเนินงานใน 9 เดือนแรกของปี 2550
ในช่วง 9 เดือนแรกของปี บริษัทฯ ยังคงมีผลการดำเนินงานที่เติบโตต่อเนื่อง โดยบริษัทฯ มีรายได้รวม 10,183 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนคิดเป็นร้อยละ 13 โดยธุรกิจหลักที่สร้างรายได้ให้แก่บริษัท ได้แก่ ธุรกิจอาหารคิดเป็น
สัดส่วนร้อยละ 47 และธุรกิจโรงแรมคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 37 และบริษัทฯ มีกำไรสุทธิ 1,052 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นร้อยละ
19 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เมื่อพิจารณารายธุรกิจแล้ว พบว่า ธุรกิจอาหารมีการเติบโตของรายได้อย่างแข็งแกร่งถึงร้อยละ
8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากมีการเปิดสาขาใหม่สุทธิในช่วง 9 เดือนแรกของปีนี้ จำนวน 22 สาขา สำหรับ
ธุรกิจโรงแรม มีผลการดำเนินงานเป็นที่น่าพอใจ โดยมีอัตราการเข้าพักอยู่ที่ร้อยละ 72 เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี
ก่อนที่ร้อยละ 71 ในขณะที่อัตราค่าห้องพักเฉลี่ยอยู่ที่ 5,171 บาทต่อคืน เพิ่มขึ้นร้อยละ 19
รายได้จำแนกตามประเภทธุรกิจ
รายได้ (ล้านบาท)
ไตรมาส 3 ปี 2550 9 เดือนแรก ปี2550
อาหาร 1,535 4,800
โรงแรม 1,171 3,775
อสังหาริมทรัพย์ - 113
สปา 95 282
ศูนย์การค้าและบันเทิง 131 398
บริหารจัดการ 243 287
อื่นๆ 165 528
รวม 3,340 10,183
ณ สิ้นไตรมาส 3 ปี 2550 บริษัทฯ มีสินทรัพย์รวม 20,433 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 2,646 ล้านบาท เมื่อเทียบกับสินทรัพย์รวม ณ สิ้น
ปี 2549 ทั้งนี้มีสาเหตุหลักมาจากการเพิ่มขึ้นของเงินลงทุนระยะสั้น (ซึ่งเป็นเงินรับจากการออกหุ้นกู้ เพื่อรอไถ่ถอนหุ้นกู้ที่จะ
ครบกำหนดในไตรมาส 4 ปีนี้) การเพิ่มขึ้นของที่ดินและโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อขาย (โครงการสมุย บีช เรสซิ
เด้นซ์) ที่ดินและโครงการระหว่างการพัฒนา (โรงแรมอนันตรา ภูเก็ต และโครงการราชดำริ เรสซิเด้นซ์) และสินทรัพย์ถาวร
ของบริษัท (โรงแรมโฟร์ซีซั่น เกาะสมุย และ การเปิดสาขาใหม่ของธุรกิจอาหาร) บริษัทฯ มีหนี้สินรวม 11,415 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นจาก ณ สิ้นปีที่แล้ว 1,752 ล้านบาท เนื่องจากบริษัทฯ มีการออกหุ้นกู้ระยะยาว เพื่อคืนเงินกู้ระยะสั้น และนำไปใช้ใน
การก่อสร้างโครงการระหว่างการพัฒนาและสินทรัพย์ถาวร ในขณะที่บริษัทฯ มีส่วนของผู้ถือหุ้น 9,018 ล้านบาท เพิ่มขึ้น
894 ล้านบาท เนื่องจากกำไรสะสมที่เพิ่มขึ้นจากผลการดำเนินงาน และการออกหุ้นเพิ่มทุนจากการแปลงสภาพใบสำคัญ
แสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญ
ใน 9 เดือนแรกของ ปี 2550 บริษัทฯและบริษัทย่อย มีกระแสเงินสดจากการดำเนินงาน 1,231 ล้านบาท ลดลง 332 ล้านบาท
เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันในปีก่อน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลมาจากเงินสดจ่ายค่าที่ดินและโครงการอสังหาริมทรัพย์เพื่อขาย
(โครงการสมุย บีช เรสซิเด้นซ์) บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีกระแสเงินสดจ่ายจากการลงทุนจำนวน 3,079 ล้านบาท โดยเป็น
การลงทุนเพิ่มใน 1) เงินลงทุนระยะสั้นและระยะยาว จำนวน 1,149 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่เป็นเงินฝากระยะสั้นที่สถาบัน
การเงินเพื่อรอไถ่ถอนหุ้นกู้ที่ครบกำหนดในไตรมาส 4 2) เงินลงทุนในบริษัทย่อยจำนวน 241 ล้านบาท ซึ่งเป็นการลงทุน
เพิ่มใน บริษัทโคโค่ ปาล์ม และ บริษัท โรงแรม ราชดำริ 3)โครงการระหว่างการพัฒนาและสินทรัพย์ถาวร จำนวน 1,182
ล้านบาท และ 4) เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทร่วมและบริษัทอื่น จำนวน 541 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นการให้เงินกู้แก่ บริษัท ยูโทเปีย
โฮลดิ้ง และ บริษัท ภูเก็ต แลนด์ โอนเนอร์ จำกัด สำหรับกระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงินมีการเปลี่ยนแปลงอันมีสาเหตุ
หลักมาจากเงินสดรับจากการออกหุ้นกู้ระยะยาวจำนวน 3,900 ล้านบาท การชำระคืนเงินกู้ระยะสั้นและระยะยาวสุทธิ
จำนวน 2,069 ล้านบาทการเพิ่มทุนจากการแปลงสภาพใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญของนักลงทุนและพนักงาน จำนวน
208 ล้านบาท และการจ่ายเงินปันผล จำนวน 436 ล้านบาท ดังนั้นใน 9 เดือนแรกของ ปี 2550 บริษัทฯ จึงมีกระแสเงินสด
ลดลงสุทธิ 245 ล้านบาท
ผลกระทบจากนโยบายบัญชีการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม
ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 26/2549 เรื่องการปฏิบัติวิธีการบัญชีตามมาตรฐานฉบับที่ 44 เรื่องงบการเงินรวมและ
การบัญชีสำหรับเงินลงทุนในบริษัทย่อย กำหนดให้บริษัทเปลี่ยนแปลงวิธีการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัท
ร่วมในงบการเงินเฉพาะของบริษัทจากวิธีส่วนได้เสียเป็นวิธีราคาทุน ซึ่งอาจมีผลทำให้กำไรและกำไรสะสมในงบการเงิน
เฉพาะกิจการและงบการเงินรวมแตกต่างกัน ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นเพียงการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีเท่านั้น
มิได้ทำให้ปัจจัยพื้นฐานในการดำเนินธุรกิจ (เช่น โครงสร้างองค์กร โครงสร้างการจัดการ แหล่งที่มาของรายได้ นโยบาย
และกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจ เป็นต้น) ของบริษัทเปลี่ยนแปลงไป
เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ตามงบการเงินเฉพาะ
ภายใต้เงื่อนไขของข้อปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นกู้ บริษัทมีข้อจำกัดเกี่ยวกับการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท ซึ่งหากบริษัท
ใช้ราคาทุนเดิมของเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม เป็นราคาเริ่มต้น บริษัทจะขัดแย้งกับเงื่อนไขต่อผู้ถือหุ้นกู้ ณ วันที่
30 กันยายน พ.ศ. 2550 เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมจึงบันทึกโดยใช้ carrying value เป็นราคาทุนเริ่มต้น ตามงบ
การเงินเฉพาะซึ่งมีมูลค่าตามบัญชี เท่ากับ 8,886 ล้านบาท ลดลง 118 ล้านบาท หรือร้อยละ 1.32 เมื่อเปรียบเทียบกับมูลค่า
ตามบัญชี ณ สิ้นปี พ.ศ. 2549 ซึ่งเป็นผลจากการคืนทุนของบริษัทย่อย จำนวน 33 ล้านบาท (ส่วนใหญ่มาจากกองทุนรวม
บริหารสินทรัพย์ไทยและกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทรัพย์ทวี) และการจ่ายเงินปันผลจากกำไรสุทธิก่อนปี พ.ศ. 2550 ของ
บริษัทย่อยและบริษัทร่วมจำนวน 190 ล้านบาท ในขณะที่มีการลงทุนเพิ่มในบริษัทย่อยจำนวน 110 ล้านบาท
3
กำไรสุทธิ
บริษัทฯและบริษัทย่อยมีกำไรสุทธิสำหรับงวดเก้าเดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2550 จำนวน 1,052 ล้านบาท คิดเป็น
กำไรต่อหุ้นปรับลดจำนวน 0.3532 บาท ขณะที่งบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัทฯ มีกำไรสุทธิสำหรับงวดเก้าเดือน สิ้นสุด
วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2550 จำนวน 242 ล้านบาท คิดเป็นกำไรต่อหุ้นปรับลดจำนวน 0.0812 บาท ผลแตกต่างของกำไรสุทธิ
จากงบการเงินทั้งสองดังกล่าวมีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงวิธีการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมใน
งบการเงินเฉพาะกิจการ โดยที่กำไรสุทธิในงบการเงินรวมได้รวมผลการดำเนินงานของบริษัทย่อยและบริษัทร่วมตาม
สัดส่วนการถือหุ้น ส่วนกำไรสุทธิในงบการเงินเฉพาะกิจการจะรับรู้เฉพาะผลการดำเนินงานของบริษัทใหญ่และจะรับรู้
รายได้จากการลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมก็ต่อเมื่อได้รับเงินปันผลจากบริษัทย่อยและบริษัทร่วมเท่านั้น
พัฒนาการที่สำคัญในไตรมาส 3 ปี 2550
ธุรกิจโรงแรม
ในเดือนตุลาคม ปี 2550 บริษัท และบริษัทในเครือ ("MINT") และ แมริออท เวเคชั่น คลับ และบริษัทในเครือ ("MVCI") ได้
ลงนามในสัญญาเพื่อร่วมมือกันพัฒนาโครงการพักผ่อนแบบปันส่วนเวลา (timeshare) ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศไทย ภายใต้ความตกลงใหม่ในครั้งนี้ MINT จะมีบทบาทในการเป็นผู้ให้คำปรึกษาในการ
ก่อสร้างโครงการ การตลาด ตลอดจนการเป็นที่ปรึกษาให้กับ MVCI ในการขยายธุรกิจ timeshare ในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศไทย ในมุมมองของบริษัทเชื่อว่า การลงนามความร่วมมือในครั้งนี้ถือเป็น
ก้าวที่สำคัญในการนำกลยุทธ์ Asset Light มาใช้อย่างเป็นรูปธรรมในการที่จะเพิ่มสัดส่วนรายได้จากธุรกิจโรงแรมและ
สันทนาการที่มีฐานรายได้จากค่าธรรมการบริหารจัดการ แทนการพึ่งพิ่งรายได้ที่มาจากการใช้เงินลงทุนของบริษัทเอง
และในเดือนเดียวกันนี้ บริษัทได้ลงนามในสัญญาเช่าระยะยาวกับ Maldives Tourism Development Corporation (MTDC)
ในการเช่าเกาะคีฮาวา ฮูราฮู ขนาดพื้นที่ประมาณ 85,000 ตารางเมตร ซึ่งตั้งอยู่ที่ บา อะโทล ประเทศมัลดีฟส์ เป็นเวลา 23 ปี
ภายใต้ข้อตกลงในสัญญา MINT ได้จ่ายค่าเช่าล่วงหน้า จำนวน 11.12 ล้านเหรียญสหรัฐ หมู่เกาะมัลดีฟส์ยังคงเป็นตลาด
ท่องเที่ยวที่น่าสนใจลงทุนในสายตาของ MINT บริษัทเชื่อว่าการขยายธุรกิจโรงแรมในครั้งนี้จะนำไปสู่การสร้างความ
แข็งแกร่งเพื่อความเป็นผู้นำในธุรกิจโรงแรมในหมู่เกาะมัลดีฟส์ในอนาคต โดยการลงทุนในโรงแรมครั้งนี้ บริษัทวางแผนที่
จะเปิดตัวโรงแรมอนันตราแห่งที่สอง ซึ่งเป็นแบรนด์ของ MINT เอง โดยโรงแรมอนันตราที่เกาะคีฮาวา ฮูราฮูนี้ จะเป็น
รูปแบบห้องชุด พูลวิลล่า จำนวน 55 ห้อง คาดว่าจะเปิดให้บริการได้ในปี 2552 โดย MINT จะเป็นผู้ลงทุน 100 เปอร์เซ็นต์
และจัดการบริหารด้วยตนเอง
ธุรกิจอาหาร
ในไตรมาส 3 ปี 2550 บริษัทฯ มีสาขาร้านอาหารทั้งสิ้น 653 สาขา โดยมีการเปิดใหม่สุทธิทั้งสิ้น 4 สาขา แบ่งเป็นสาขาที่
บริษัทฯ ลงทุนเอง จำนวน 1 สาขา ได้แก่ เปิดเดอะ พิซซ่าในประเทศจีน 2 สาขา แดรี่ควีน 4 สาขา ปิดซิซซ์เลอร์ 1 สาขา ปิด
ซิซซ์เลอร์ในประเทศจีน 1 สาขาและปิดเลอแจ๊ส 3 สาขา สำหรับสาขาแฟรนไชส์ จำนวน 3 สาขาได้แก่ สเวนเซ่นต์ใน
ประเทศไทย 1 สาขา สเวนเซ่นต์ในประเทศซาอุดิอาระเบีย 1 สาขา และสเวนเซ่นต์ในประเทศกัมพูชา 1 สาขา
ในเดือนตุลาคม ปี 2550 บริษัท ประกาศแผนการเข้าซื้อเงินลงทุนใน คอฟฟี่ คลับ โฮลดิ้ง (The Coffee Club) ในสัดส่วนร้อย
ละ 50 คิดเป็นมูลค่าการลงทุนในเบื้องต้นจำนวน 23 ล้านเหรียญออสเตรเลีย และอาจจะมีการจ่ายเงินลงทุนเพิ่มเติมตามผล
การดำเนินงานของ The Coffee Club ในช่วงสองปีข้างหน้า ปัจจุบัน The Coffee Club เป็นบริษัทผู้นำในธุรกิจอาหารและ
ธุรกิจแฟรนไชส์ร้านอาหารและกาแฟที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและเติบโตเร็วที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศออสเตรเลีย โดยมียอดขาย
รวม 145 ล้านเหรียญออสเตรเลีย และมีสาขาร้านอาหารภายใต้แบรนด์ The Coffee Club ซึ่งเป็นแบรนด์ของตนเองใน
ประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์มากกว่า 180 สาขา การลงทุนใน The Coffee Club ครั้งนี้ ถือได้ว่าเป็นก้าวหนึ่งของ
MINT ในการได้มาซึ่งแบรนด์ที่มีการบริหารจัดการที่ดี โดยเป็นการเข้าลงทุนในแบรนด์มีขนาดใหญ่เพียงพอ อยู่ในตลาดที่มี
การเติบโตสูง และมีศักยภาพในการขยายธุรกิจออกไปในระดับสากลผ่านโมเดลธุรกิจแฟรนไชส์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการ
ดำเนินการภายใต้กลยุทธ์ Asset Light ของ MINT ซึ่งในแต่ละปี The Coffee Club มีการขยายสาขากว่า 25 สาขาต่อปี
อย่างไรก็ดี MINT ได้วางแผนที่จะขยายแบรนด์ The Coffee Club ออกไปในระดับสากล ภายใต้ระบบและโครงข่าย
ร้านอาหารในประเทศต่าง ๆ ของบริษัทที่มีอยู่แล้วในปัจจุบัน
ธุรกิจสปา
ณ ปัจจุบัน บริษัทฯ ดำเนินธุรกิจสปา โดยใช้แบรนด์หลักของบริษัทฯ ได้แก่ อนันตรา สปา และมันดารา สปา ในการ
ให้บริการสปาในโรงแรมที่เป็นของบริษัทและบริษัทย่อย และรับบริหารให้กับสปาในโรงแรมต่างๆ ทั้งในประเทศและ
ต่างประเทศอีกด้วย โดยสิ้นไตรมาส 3 ปี 2550 บริษัทฯ มีจำนวนสปาทั้งสิ้น 23 แห่งในประเทศไทย จีน มัลดีฟส์ แทนซาเนีย
จอร์แดน และสหรัฐอาหรับเอมิเรต
ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
จากการที่บริษัทได้ขยายธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ในปัจจุบันบริษัทมีโครงการอสังหาริมทรัพย์ ที่ เกาะสมุย (โครงการสมุย บีช
เรสซิเด้นท์ และ ที่กรุงเทพฯ (โครงการเซ็นต์ รี จิส เรสสิเด้นส์) โดยโครงการที่สมุย เป็นบ้านตากอากาศระดับหรู ซึ่งอยู่ติด
กับโรงแรมโฟร์ซีซั่น สมุย จำนวน 14 หลัง และ ได้ขายไปแล้ว 2 หลัง และคาดว่าจะขายได้อีก 2 -3 หลัง ในไตรมาส 4 นี้
ส่วนโครงการ เซ็นต์ รี จิส เรสสิเด้นส์ เป็นโครงการ คอนโดมิเนียมระดับหรู จำนวน 71 ห้อง คาดว่าจะแล้วเสร็จ ในต้นปี
2010 โดยจะเริ่มเปิดขายโครงการได้ในปลายปี 2550
ผลการดำเนินงานจำแนกรายธุรกิจ
แม้ว่าธุรกิจอาหารจะสร้างรายได้ให้กับบริษัทเป็นสัดส่วนร้อยละ 46 ของของรายได้รวม แต่เมื่อพิจารณาในแง่ของ
ความสามารถในการทำกำไรจากการดำเนินงาน (EBITDA) ธุรกิจโรงแรมและสันทนาการสามารถสร้างอัตรากำไรที่สูงกว่า
ดังจะเห็นได้จากผลการดำเนินงานในไตรมาส 3 ปี 2550 ซึ่งบริษัทฯ มีกำไรจากการดำเนินงานที่มาจากธุรกิจอาหารคิดเป็น
สัดส่วนร้อยละ 26 ในขณะที่อีกร้อยละ 74 มาจากธุรกิจโรงแรมและสันทนา และธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
กำไรจากการดำเนินงานจำแนกตามประเภทธุรกิจ
EBITDA (ล้านบาท)
ไตรมาส 3 ปี 2550 9 เดือนแรก ปี 2550
อาหาร 222 710
โรงแรมและสันทนาการ 627 1,836
อสังหาริมทรัพย์ - 46
รวม 849 2,592
ผลการดำเนินงานของธุรกิจอาหารจำแนกตามแบรนด์
อัตราการเติบโตของยอดขายรวม (%)
แบรนด์ ไตรมาส 3 ปี 2550 9 เดือน 2550
เดอะ พิซซ่า 12.8 17.3
สเวนเซ่นส์ 3.0 9.1
ซิซซ์เลอร์ -11.6 -5.8
แดรี่ควีน -4.0 6.9
เบอร์เกอร์คิง 28.0 23.8
เลอแจ๊ส -17.8 -1.7
เฉลี่ย 4.7 10.1
หมายเหตุ: ร้านอาหารเลอแจ๊สเริ่มเปิดดำเนินการตั้งแต่มกราคม 2549 ภายใต้การดำเนินงานของบริษัท ไมเนอร์ ฟู้ดกรุ๊ป
ธุรกิจอาหารของบริษัทมีผลการดำเนินงานที่ดีขึ้น กล่าวคือ ในไตรมาส 3 ปี 2550 บริษัทฯ มีอัตราการเติบโตของยอดขายรวม
ทุกสาขา เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งสาเหตุหลักมาจากการการขยายสาขา และการใช้กลยุทธ์
ทางการตลาดซึ่งรวมถึงการส่งเสริมการขายในเชิงรุกของเดอะ พิซซ่า สเวนเซ่นส์ และเบอร์เกอร์คิง เป็นต้น และใน 9 เดือน
แรกของปี 2550 มีอัตราการเติบโตของยอดขายรวม ทุกสาขาเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 10.1 เมื่อเทียบช่วงเดียวกันในปีก่อน เนื่องจาก
การเปิดสาขาใหม่สุทธิ 22 สาขาจากสิ้นปี 2549
6
ผลการดำเนินงานของธุรกิจโรงแรมจำแนกตามกลุ่มโรงแรม
กลุ่มโรงแรม อัตราการเข้าพัก (%) อัตราค่าห้องเฉลี่ย (บาท/คืน)
ไตรมาส 3 ปี 2550 9 เดือนแรก ปี 2550 ไตรมาส 3 ปี 2550 9 เดือนแรก ปี 2550
อนันตรา 62.5 65.8 5,223 6,180
แมริออท 78.0 80.7 3,416 3,993
โฟร์ซีซั่นส์ 61.0 58.9 7,989 8,339
อื่นๆ 53.3 62.2 4,207 3,998
เฉลี่ย 69.5 71.5 4,663 5,171
หมายเหตุ: ข้อมูลจากโรงแรม 15 แห่ง ซึ่งรวมโรงแรมที่เปิดใหม่ ได่แก่ โรงแรมโฟร์ซีซั่นส์ ที่เกาะสมุย และโรงแรมนาลาดู ที่มัลดีฟท์
ในไตรมาส 3 ปี 2550 บริษัทฯ มีอัตราการเข้าพักเฉลี่ยอยู่ที่ ร้อยละ 69.5 ขณะที่อัตราค่าห้องพักโดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเป็น 4,663
บาทต่อคืน เพิ่มขึ้นร้อยละ 21 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน จากโรงแรมทั้งหมด 15 แห่ง โดยโรงแรมกลุ่มแมริออทมีผลงานที่
โดดเด่น ซึ่งมีอัตราการเข้าพักสูงถึง ร้อยละ 78 และสามารถรักษาการเพิ่มขึ้นของอัตราค่าห้องพักเฉลี่ยต่อคืนสูงขึ้นในอัตรา
ร้อยละ 6 สำหรับกลุ่มโรงแรมอนันตรา แม้ว่าจะมีอัตราการเข้าพักจะสูงขึ้นจากปีที่แล้วเพียงเล็กน้อย แต่อัตราค่าห้องพัก
เฉลี่ยต่อคืนกลับสูงขึ้นอย่างเป็นสาระสำคัญในอัตราร้อยละ 27 ที่ 5,223 บาทต่อคืน โรงแรม โฟร์ซีซั่นส์ ก็มีผลงานที่น่า
ประทับใจเนื่องจากกลุ่มนี้มีอัตราการเข้าพักสูงขึ้นร้อยละ 14 โดยมีอัตราค่าห้องพักเฉลี่ยเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 16 ที่ 7,989 บาท
ต่อคืน เนื่องจากผลงานที่โดดเด่นของ โรงแรมโฟร์ซีซั่น กรุงเทพฯ และ โฟร์ซีซั่น สมุย ในขณะที่ ในไตรมาส 3 ปี 2550
ธุรกิจโรงแรมมีรายได้ทั้งสิ้น 1,171 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาในอัตราร้อยละ 18 อนึ่ง บริษัทฯ ไม่ได้นำรายได้ของ
โรงแรมที่บริษัทร่วมลงทุนมารวมในรายได้จากธุรกิจโรงแรมของบริษัท ซึ่งประกอบด้วยโรงแรม 3 แห่งที่มัลดีฟส์และ 1
แห่งที่เวียดนาม
ธุรกิจสปา
ในไตรมาส 3 ปี 2550 MINT มีรายได้จากธุรกิจสปา 95 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ถึงแม้ว่า
ธุรกิจสปาในปัจจุบันจะมีการแข่งขันสูงขึ้นเรื่อย ๆในประเทศไทย แต่บริษัทก็สามารถรักษาระดับรายได้ที่แข็งแกร่งโดยการ
ที่บริษัทได้กระจายสถานที่ประกอบการที่หลากหลาย และการมีรายได้จากการบริหารงาน
ธุรกิจศูนย์การค้าและธุรกิจบันเทิง
ในไตรมาส 3 ปี 2550 รายได้จากธุรกิจศูนย์การค้าและธุรกิจบันเทิงมีจำนวนทั้งสิ้น 131 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 6 จากช่วง
เดียวกันของปีก่อนที่มีรายได้ 124 ล้านบาท เนื่องจากศูนย์การค้ามีผลการดำเนินงานที่ดีขึ้น โดยเฉพาะ Food Wave ซึ่งเป็น
ศูนย์อาหารในศูนย์การค้าที่พัทยา รวมถึงรายได้ค่าเช่าจากร้านค้าในศูนย์การค้าที่ดำเนินธุรกิจอาหาร
การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน
30 กันยายน 2550 30 กันยายน 2549
ความสามารถในการทำกำไร (ใน 9 เดือนแรก)
อัตรากำไรขั้นต้น (%) 64.87% 64.75%
อัตรากำไรสุทธิ (%) 10.33% 9.81%
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%) 12.27% 12.97%
ความมีประสิทธิภาพ
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%)(ใน 9 เดือนแรก) 5.51% 5.55%
ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน) (ไตรมาส 3) 15 15
นโยบายทางการเงิน
อัตราส่วนความสามารถในการชำระดอกเบี้ย (เท่า) (ใน 9 เดือนแรก) 6.42 8.37
30 กันยายน 2550 31 ธันวาคม 2549
ความสามารถในการดำรงสภาพคล่อง
สินทรัพย์หมุนเวียนต่อหนี้สินหมุนเวียน (เท่า) 1.37 0.63
ภาระหนี้สินต่อทุน
อัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 1.27 1.19
อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 0.94 0.87
อัตราส่วนทางการเงินในไตรมาส 3 ปี 2550 บริษัทมีอัตรากำไรขั้นต้นอยู่ในระดับใกล้เคียงกับปีก่อน ขณะที่อัตรากำไรสุทธิ
เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 9.8 เป็นร้อยละ 10.3 แสดงให้เห็นว่าบริษัทมีความสามารถในการควบคุมและบริหารค่าใช้จ่ายได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ และกำไรที่เพิ่มขึ้นจากธุรกิจที่เน้นการใช้สินทรัพย์ทางปัญญา หรือ Asset-Light สำหรับอัตราผลตอบแทนผู้
ถือหุ้นร้อยละ 12.2 เท่า ลดลงเมื่อเทียบกับสิ้นปีที่แล้วที่ร้อยละ 12.9 เนื่องจากจำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้นจากการเพิ่มทุนตั้งแต่ปี
2549 เป็นต้นมา
สำหรับอัตราส่วนที่แสดงถึงความมีประสิทธิภาพนั้น พบว่า อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์อยู่ในระดับใกล้เคียงกับปีก่อน
และระยะเวลาในการเก็บหนี้เฉลี่ยยังคงระดับเดิมที่ 15 วัน อัตราส่วนสินทรัพย์หมุนเวียนต่อหนี้สินหมุนเวียนเพิ่มขึ้นจาก
0.63 เท่าเป็น 1.37 เท่า เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของเงินลงทุนระยะสั้น ในขณะที่อัตราส่วนความสามารถในการชำระดอกเบี้ยใน
9 เดือนแรกของปี 2550 ลดลง เป็น 6.42 จาก 8.37 ในปีที่ผ่านมาเนื่องมาจากการลดลงของกระแสเงินสดรับจากการ
ดำเนินงานอันเนื่องมาจากการก่อสร้างอสังหาริมทรัพย์เพื่อขายของโครงการสมุยบีชเรสสิเด้นท์ที่เริ่มเปิดการขายในปลายปีที่
ผ่านมา
จะเห็นได้ว่าการทำกำไรของบริษัทดีมากขึ้นเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ในขณะที่อัตราส่วนหนี้สินเพิ่มขึ้นเพียง
เล็กน้อยเนื่องจากการออกหุ้นกู้ระยะยาวในเดือนกันยายนที่ผ่านมา โดยบริษัทมีอัตราส่วนหนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้นอยู่
ที่ 1.27 เท่าเทียบกับ 1.19 เท่า ณ สิ้นปีที่ผ่านมา และอัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นอยู่ที่ระดับ
0.94 เท่า สูงขึ้นเล็กน้อยจาก 0.87 เท่า ณ. สิ้นปีที่ผ่านมา
แม้ว่าตัวเลขทางเศรษฐกิจเริ่มจะมีแนวโน้มฟื้นตัวนับตั้งแต่ปลายไตรมาส 3 แต่บริษัทเชื่อว่าภาวะการเติบโตของเศรษฐกิจ
ยังคงไม่แข็งแกร่งเท่าที่ควร เนื่องจากราคาน้ำมันและราคาสินค้าอุปโภคบริโภคที่ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจะเป็นปัจจัยฉุด
รั้งการกลับมาฟื้นตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ อย่างไรก็ดี บริษัทได้ตระหนักถึงสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้นและได้
เตรียมพร้อมเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และจากการที่บริษัทฯ มีการกระจายแหล่งที่มาของรายได้ที่
หลากหลาย จึงเป็นเครื่องช่วยบรรเทาผลกระทบ อีกทั้งยังสามารถรักษาระดับการเติบโตของรายได้และกำไรได้อย่างต่อเนื่อง
และสูงกว่าค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมโดยรวม
สำหรับธุรกิจอาหารของบริษัทจะมีการเพิ่มสัดส่วนการรายได้ธุรกิจอาหารจากการต่างประเทศมากขึ้น โดยการขยาย
ร้านอาหารทั้งในส่วนที่บริษัทลงทุนเองและร้านสาขาแฟรนไชส์ในต่างประเทศ ซึ่งสอดคล้องกับแผนขยายธุรกิจออกไปใน
ระดับสากลและโมเดลการดำเนินธุรกิจภายใต้กลยุทธ์ Asset Light เช่นเดียวกันกับธุรกิจโรงแรมของบริษัทที่จะมีการขยาย
การดำเนินธุรกิจออกไปยังต่างประเทศมากขึ้นผ่านการรับบริหารจัดการโรงแรม ในขณะที่รายได้ของธุรกิจโรงแรมใน
ปัจจุบันพึ่งพิงรายได้จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ การกระจายแหล่งที่ตั้งของโรงแรมไปยังแหล่งดึงดูดนักท่องเที่ยวที่
หลากหลาย มีส่วนทำให้ธุรกิจกิจโรงแรมของบริษัทมีการเติบโตอย่างเห็นได้ชัดเจน นอกเหนือจากธุรกิจหลักทั้งสองที่กล่าว
มาข้างต้นแล้ว ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ก็เป็นอีกธุรกิจหนึ่งที่จะมีส่วนผลักดันให้บริษัทสามารถบรรลุเป้าหมายของการ
ได้มาซึ่งผลตอบแทนจากเงินลงทุนสูงสุด ตลอดจนมีรายได้และกระแสเงินสดที่แข็งแกร่ง และเพื่อป้องกันความผันผวน
ของอัตราแลกเปลี่ยนที่จะมีผลกระทบกับราคาค่าห้อง บริษัทได้เปลี่ยนแปลงการตั้งราคาค่าห้องในรูปเงินบาทแทนการพึ่ง
สกุลดอลลาร์สหรัฐ
การเติบโตของบริษัทไม่เพียงแต่เป็นการเติบโตจากการดำเนินธุรกิจตามปกติเพียงอย่างเดียว แต่ยังเติบโตจากการขยายธุรกิจ
จากการลงทุนในธุรกิจอาหารแบรนด์ใหม่และการริเริ่มธุรกิจใหม่ด้านโรงแรม โดยในเดือนตุลาคม บริษัทได้ลงนามเพื่อเป็น
พันธมิตรทางธุรกิจกับ แมริออท เวเคชั่น คลับ ("MVCI") ในการเป็นผู้ให้คำปรึกษาในการก่อสร้างโครงการ การตลาด
ตลอดจนการเป็นที่ปรึกษาให้กับ MVCI ในการขยายธุรกิจ timeshare ซึ่งการลงนามความร่วมมือในครั้งนี้จะช่วยเพิ่มสัดส่วน
รายได้จากค่าธรรมการบริหารจัดการจากธุรกิจโรงแรมให้แก่บริษัท นอกจากนี้ พัฒนาการที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งในธุรกิจ
โรงแรมของบริษัท คือ การได้สิทธิการเช่าที่ดินระยาวเป็นระยะเวลา 23 ที่ประเทศมัลดีฟส์ เพื่อก่อสร้างโรงแรมอนันตราแห่ง
ที่ 2 ซึ่งจะมีห้องพักจำนวน 55 ห้อง คาดว่าจะเปิดให้บริการได้ในปี 2552 นอกจากนี้ ทางด้านธุรกิจอาหาร บริษัทได้ประกาศ
9
แผนการเข้าซื้อเงินลงทุนสัดส่วนร้อยละ 50 ใน คอฟฟี่ คลับ โฮลดิ้ง (The Coffee Club) ซึ่งมีสาขามากกว่า 180 สาขา ใน
ประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ การลงทุนในครั้งนี้ จะทำให้บริษัทได้สิทธิที่จะขยายแบรนด์ The Coffee Club ออกไป
ยังประเทศต่างๆ และได้รับผลตอบแทนจากผลการดำเนินงานของธุรกิจทีมีอยู่แล้วในทวีปออสเตรเลีย
กล่าวโดยสรุปได้ว่า ผู้บริหารของบริษัทยังคงเชื่อมั่นว่า บริษัทยังคงมีความแข็งแกร่งทั้งในการดำเนินธุรกิจ การขยายธุรกิจ
ตลอดจนผลการดำเนินงาน โดยบริษัทเชื่อว่าปัจจัยสำคัญที่จะผลักดันการเติบโตของบริษัทต่อไปในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า จะ
ไม่ได้มาจากสินทรัพย์ใดสินทรัพย์หนึ่งเป็นการเฉพาะหรือมาจากผลประกอบการที่ดีเยี่ยมเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงการริเริ่ม
โครงการและธุรกิจใหม่ๆ จากการใช้แบรนด์หลักของตนเองในการขยายธุรกิจ รวมไปถึงการเติบโตที่เกิดจากวัฒนธรรมการ
บริหารองค์กรที่การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอยู่ตลอดเวลา
ลงชื่อ_________________________
ปรารถนา มโนมัยพิบูลย์
กรรมการ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 236
หลักทรัพย์ ERAWAN
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 18:45:14
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
งบการเงินรวม ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 77,984 94,885 373,704 319,797
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.04 0.06 0.19 0.21
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (12,609) (19,262) (28,497) 112,754
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) (0.01) (0.01) (0.01) 0.07
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ ___________________________________
( นาย วิฑูรย์ ว่องกุศลกิจ นาย กษมา บุณยคุปต์ )
ตำแหน่ง กรรมการ
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 18:45:14
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
งบการเงินรวม ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 77,984 94,885 373,704 319,797
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.04 0.06 0.19 0.21
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (12,609) (19,262) (28,497) 112,754
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) (0.01) (0.01) (0.01) 0.07
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ ___________________________________
( นาย วิฑูรย์ ว่องกุศลกิจ นาย กษมา บุณยคุปต์ )
ตำแหน่ง กรรมการ
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 237
หลักทรัพย์ MINOR
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 19:15:17
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
บริษัท ไมเนอร์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
งบการเงินรวม
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 52,014 40,449 167,775 182,936
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.11 0.09 0.37 0.41
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 26,020 (2,975) 117,505 43,477
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.06 (0.01) 0.26 0.10
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นางปรารถนา มโนมัยพิบูลย์ )
ตำแหน่ง กรรมการ
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 19:15:17
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
บริษัท ไมเนอร์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
งบการเงินรวม
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 52,014 40,449 167,775 182,936
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.11 0.09 0.37 0.41
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 26,020 (2,975) 117,505 43,477
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.06 (0.01) 0.26 0.10
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นางปรารถนา มโนมัยพิบูลย์ )
ตำแหน่ง กรรมการ
ผู้มีอำนาจรายงานสารสนเทศ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 238
หลักทรัพย์ MINOR
หัวข้อข่าว คำอธิบายและวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำเนินงานไตรมาส 3/50
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 19:33:51
บริษัทไมเนอร์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
คำอธิบายและบทวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
งวดผลประกอบการประจำไตรมาส 3 ปี 2550
ภาพรวมเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม
แม้ว่าภาพรวมของภาวะทางเศรษฐกิจปรับตัวดีขึ้นเล็กน้อยในไตรมาสที่ผ่านมา โดยดัชนีชี้วัดที่สำคัญทาง
เศรษฐกิจของไทยเริ่มส่งสัญญาณว่าเศรษฐกิจผ่านพ้นจุดต่ำสุดแล้วโดยเฉพาะการปรับตัวดีขึ้นของตัวเลขการ
บริโภคภายในประเทศ ซึ่งในไตรมาส 3/50 ภาวะการดำเนินธุรกิจโดยรวมในประเทศดีขึ้นจากแรงหนุนจาก
ความต้องการการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนที่เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตามปัจจัยที่ยังเป็นอุปสรรคต่อ
บรรยากาศการขยายตัวของธุรกิจภาคเอกชนและการเติบโตของเศรษฐกิจอยู่ก็คือราคาน้ำมันและต้นทุนการ
ผลิตที่สูงขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ราคาสินค้าอุปโภคบริโภคสูงขึ้น ทำให้อัตรากำไรของผู้ค้าปลีกและผู้ผลิตสินค้าได้รับ
ผลกระทบ รวมทั้งยังจะเป็นอุปสรรคต่อการเจริญเติบโตต่อความต้องการบริโภคภายในประเทศในอนาคตอีก
ด้วย อย่างไรก็ตามการเลือกตั้งทั่วไปที่จะมีขึ้นในเดือนธันวาคม ซึ่งจะนำมาถึงการจัดตั้งคณะรัฐมนตรี โดย
นายกรัฐมนตรีที่ได้มาจากการเลือกตั้งน่าจะเป็นปัจจัยหลักในการผลักดันเศรษฐกิจไทยในไตรมาส 4/50 และ
ในปีหน้า เนื่องจากจะส่งผลต่อความมั่นใจในการลงทุนภาคเอกชน และกระตุ้นการใช้จ่ายในภาครัฐบาลได้
เร็วขึ้น
ในด้านการผลิต ไตรมาสนี้ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 9.0 เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
ซึ่งเกิดจากอุปสงค์จากต่างประเทศที่ขยายตัวสูง โดยการผลิตเพื่อการส่งออกขยายตัวถึงร้อยละ 17 ในขณะที่
การผลิตเพื่อการบริโภคภายในประเทศขยายตัวเพียงร้อยละ 2-4 ซึ่งหมวดสินค้าที่ขยายตัวได้ดีนั้น ได้แก่
หมวดอิเล็กทรอนิกส์ หมวดยานยนต์ รวมทั้งสินค้าอุปโภคบริโภคเพื่อการส่งออกด้วย
ผลการดำเนินงานและฐานะการเงินรวมของกลุ่มบริษัทฯงวดไตรมาส 3/50
ภาพรวมเศรษฐกิจในไตรมาส 3 ปี 2550 ขยายตัวดีขึ้นกว่าไตรมาสก่อนเล็กน้อย โดยการบริโภคและการ
ลงทุนภาคเอกชนเริ่มสะท้อนทิศทางที่ปรับตัวดีขึ้น ในไตรมาส 3/50 บริษัทฯ มีรายได้รวม 833 ล้านบาท
เพิ่มขึ้น 102 ล้านบาท จากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นร้อยละ 14 ส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้นของ
ธุรกิจการรับจ้างผลิตและลงทุน โดยรายได้รวมมาจาก 1) ธุรกิจรับจ้างผลิตร้อยละ 48 2) ธุรกิจค้าปลีกร้อย
ละ 34 และ 3) ธุรกิจลงทุนและธุรกิจอื่น ๆ ร้อยละ 18 และกำไรสุทธิในไตรมาสนี้อยู่ที่ 52 ล้านบาท เพิ่มขึ้น
12 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 29 จากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน สาเหตุที่ผลการดำเนินงานดีขึ้นมากกว่า
ร้อยละ 20 มาจากธุรกิจรับจ้างผลิตที่มีรายได้และอัตรากำไรที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 และ 46 ตามลำดับ ประกอบ
กับส่วนแบ่งกำไรจากการลงทุนใน บมจ.ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนลเพิ่มขึ้นร้อยละ 56 นอกจากนี้บริษัทมีภาระ
ดอกเบี้ยลดลงจากการชำระคืนหนี้ในไตรมาสก่อน
สำหรับงวด 9 เดือน บริษัทมีรายได้รวม 2,491 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 110 ล้านบาท จากงวด 9 เดือนของปีก่อน
หรือร้อยละ 4.6 ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของธุรกิจการรับจ้างผลิต โดยรายได้รวมมาจาก 1) ธุรกิจ
รับจ้างผลิตร้อยละ 48 2) ธุรกิจค้าปลีกร้อยละ 36 และ 3) ธุรกิจลงทุนและธุรกิจอื่น ๆ ร้อยละ 16 ในขณะที่
บริษัทฯ มีกำไรสุทธิรวม 168 ล้านบาท ลดลง 15 ล้านบาทจากงวดเดียวกันของปีก่อน หรือร้อยละ 8 สาเหตุ
หลักมาจากรายได้และกำไรของธุรกิจค้าปลีกและการบินลดลง
ณ สิ้นไตรมาส 3/50 บริษัทฯ มีสินทรัพย์รวมทั้งสิ้น 4,406 ล้านบาท ลดลงสุทธิ 66 ล้านบาท จากเดือน
ธันวาคม 2549 สาเหตุหลักมาจากผลของการปรับลดของ 1) การขายธุรกิจการให้เช่าเครื่องบินแบบเหมาลำ
ซึ่งมีผลทำให้สินทรัพย์รวมลดลงจำนวน 314 ล้านบาท 2) การลดลงของสินค้าคงเหลือของธุรกิจค้าปลีกและ
รับจ้างผลิตจำนวน 105 ล้านบาท จากนโยบายการเพิ่มอัตราการหมุนของสินค้าคงเหลือ และผลจากการปรับ
เพิ่มขึ้นของมูลค่าการลงทุนใน MINT โดยมีการรับรู้ส่วนแบ่งกำไร (สุทธิจากค่าความนิยมตัดจำหน่ายและเงิน
ปันผลรับ) จำนวน 103 ล้านบาท และ มูลค่าการลงทุนใน MINT-W3 เพิ่มขึ้นจำนวน 211 ล้านบาท เนื่องจาก
มูลค่ายุติธรรมเพิ่มขึ้น
ในขณะที่บริษัทฯ มีหนี้สินรวมทั้งสิ้น 2,113 ล้านบาท ลดลง 406 ล้านบาท สาเหตุหลักมาจากการที่บริษัทฯ
ชำระคืนเงินกู้ระยะสั้นจำนวน 344 ล้านบาท และเงินกู้ระยะยาวจำนวน 93 ล้านบาท ขณะที่มีเงินกู้ทรัสต์รีซีท
เพิ่มขึ้นจำนวน 16 ล้านบาท จากการขยายธุรกิจของแบรนด์ Charles and Keith และการนำเข้าสินค้าแบรนด์
JeansWest
ส่วนของผู้ถือหุ้นมีจำนวน 2,293 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 340 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่มาจาก 1) กำไรสุทธิหลัง
จ่ายเงินปันผลจำนวน 100 ล้านบาท 2) ส่วนเกินทุนจากการลงทุนในหุ้น MINT เพิ่มขึ้นจำนวน 23 ล้านบาท
และ 3) มูลค่ายุติธรรมของการลงทุนใน MINT-W3 เพิ่มขึ้นจำนวน 211 ล้านบาท
ในไตรมาส 3/50 บริษัทฯ มีกระแสเงินสดได้มาจากกิจกรรมดำเนินงานจำนวน 31 ล้านบาท ซึ่งมาจากกำไร
จากธุรกิจที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งการบริหารเงินทุนหมุนเวียนดีขึ้น เช่น ลูกหนี้การค้าลดลง เป็นต้น สำหรับกระแส
เงินสดใช้ไปจากการลงทุนจำนวน 14 ล้านบาท ซึ่งมาจากการซื้อเครื่องจักรในการผลิตสินค้าและการขยาย
โรงงานของธุรกิจรับจ้างผลิตรวมทั้งการขยายร้านค้าของธุรกิจค้าปลีก นอกจากนี้บริษัทฯ มีเงินสดใช้ไปสุทธิ
จากกิจกรรมจัดหาเงินจำนวน 4 ล้านบาท จากการที่บริษัทฯ มีการชำระคืนเงินกู้จำนวน 35 ล้านบาท และการ
เพิ่มขึ้นของทรัสต์รีซีทจำนวน 26 ล้านบาท จากการสั่งซื้อสินค้าของธุรกิจค้าปลีกเข้ามาเพื่อจำหน่าย ดังนั้น
ในไตรมาส 3 บริษัทฯ มีกระแสเงินสดได้มาสุทธิจำนวน 13 ล้านบาท
ผลกระทบจากนโยบายบัญชีการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม
ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 26/2549 และ ฉบับที่ 32/2549 ได้มีการแก้ไขมาตรฐานการบัญชีฉบับ
ที่ 44 เรื่อง งบการเงินรวมและการบัญชีสำหรับเงินลงทุนในบริษัทย่อย และฉบับที่ 45 เรื่อง การบัญชีสำหรับ
เงินลงทุนในบริษัทร่วม โดยกำหนดให้เปลี่ยนวิธีการบัญชีจากวิธีส่วนได้เสียเป็นวิธีราคาทุนสำหรับเงินลงทุน
ในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมที่แสดงไว้ในงบการเงินเฉพาะบริษัท ตามวิธีราคาทุน รายได้จาก เงินลงทุนจะรับรู้
เมื่อมีการประกาศจ่ายเงินปันผล ประกาศสภาวิชาชีพบัญชีดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.
2550 เป็นต้นไป ซึ่งมีผลทำให้กำไรและกำไรสะสมในงบการเงินเฉพาะบริษัทและงบการเงินรวมแตกต่างกัน
ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นเพียงการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีเท่านั้น มิได้ทำให้ปัจจัยพื้นฐานในการ
ดำเนินธุรกิจ (เช่น โครงสร้างองค์กร โครงสร้างการจัดการ แหล่งที่มาของรายได้ นโยบายและกลยุทธ์ในการ
ดำเนินธุรกิจ เป็นต้น) ของบริษัทเปลี่ยนแปลงไป
เงินลงทุนซึ่งบันทึกโดยวิธีส่วนได้เสีย ตามงบการเงินรวม
ณ สิ้นไตรมาส 3 เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมซึ่งบันทึกโดยวิธีส่วนได้เสีย ตามงบการเงินรวมมีมูลค่า
ตามบัญชี เท่ากับ 2,378 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 103 ล้านบาท หรือร้อยละ 5 เมื่อเทียบกับสิ้นปีก่อน ซึ่งเป็นผลจาก
การรับรู้ส่วนแบ่งกำไรจากบริษัทร่วมตามวิธีส่วนได้เสียและสุทธิจากเงินปันผลรับ
กำไรสุทธิ
บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีกำไรสุทธิในไตรมาสที่ 3 จำนวน 52 ล้านบาท คิดเป็นกำไรต่อหุ้นปรับลดจำนวน
0.11 บาท ขณะที่งบการเงินเฉพาะบริษัท มีกำไรสุทธิจำนวน 26 ล้านบาท คิดเป็นกำไรต่อหุ้นปรับลดจำนวน
0.05 บาท ผลแตกต่างของกำไรสุทธิจากงบการเงินทั้งสองดังกล่าวมีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงวิธีการ
บันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะบริษัท โดยที่กำไรสุทธิในงบการเงินรวม
ได้รวมผลการดำเนินงานของบริษัทย่อยและบริษัทร่วมตามสัดส่วนการถือหุ้น ส่วนกำไรสุทธิในงบการเงิน
เฉพาะบริษัทจะรับรู้เฉพาะผลการดำเนินงานของบริษัทใหญ่และจะรับรู้รายได้จากการลงทุนในบริษัทย่อย
และบริษัทร่วมก็ต่อเมื่อได้รับเงินปันผลจากบริษัทย่อยและบริษัทร่วมเท่านั้น ซึ่งในไตรมาสนี้บริษัทมีเงินปันผล
รับดังกล่าวจำนวน 39 ล้านบาท
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงวิธีการบันทึกบัญชีเงินลงทุนต่องบการเงินเฉพาะบริษัท
การเปลี่ยนแปลงการบันทึกบัญชีดังกล่าวข้างต้น ทำให้งบการเงินเฉพาะบริษัทสำหรับไตรมาส 3/50 แสดง
กำไรสุทธิต่ำกว่างบการเงินรวมจำนวน 26 ล้านบาท หรือกำไรต่อหุ้นต่ำกว่าจำนวน 0.06 บาท สำหรับ
ผลกระทบต่อรายการในงบดุล ได้แก่ เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมต่ำกว่า จำนวน 330 ล้านบาท
กำไรสะสมต่ำกว่า จำนวน 605 ล้านบาท ส่วนปรับปรุงจากการแปลงค่างบการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ
สูงกว่า จำนวน 5 ล้านบาท และส่วนเกินทุนจากการลดสัดส่วนการลงทุนต่ำกว่า จำนวน 40 ล้านบาท
วิเคราะห์ผลการดำเนินงานแยกตามรายธุรกิจ
1) ธุรกิจค้าปลีก
จำนวนร้านค้า/จุดจำหน่าย
ประเภทสินค้า กันยายน 2550 กันยายน 2549 เพิ่มขึ้น/(ลดลง)
กลุ่มแฟชั่น 207 228 (21)
กลุ่มเครื่องสำอาง 81 81 0
อื่น ๆ 31 35 (4)
รวมทั้งสิ้น 319 344 (25)
สำหรับกลุ่มสินค้าแฟชั่น บริษัทฯ ได้ขยายจุดขายเพิ่มขึ้น จำนวน 13 แห่ง ภายใต้ แบรนด์ Charles & Keith,
JeansWest และ Tumi ในขณะที่บริษัทฯได้ทำการปิดจุดขายที่ไม่ทำกำไรจำนวน 34 แห่งสำหรับแบรนด์
Esprit Bossini Timberland และ Sinequanone เพื่อปรับปรุงผลการดำเนินงานของบริษัทฯให้ดีขึ้น
ในไตรมาส 3/50 บริษัทฯ มียอดขายจากธุรกิจค้าปลีกซึ่งประกอบด้วยสินค้าประเภทแฟชั่น และสินค้าประเภท
เครื่องสำอางของบริษัทฯ จำนวน 282 ล้านบาท เท่ากับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยยอดขายจากธุรกิจค้า
ปลีกรวมคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 36 ของยอดขายรวม แบ่งเป็นสัดส่วน ประเภทกลุ่มสินค้าแฟชั่นร้อยละ 83
และเครื่องสำอางร้อยละ 17 หากวิเคราะห์แยกตามประเภทกลุ่มสินค้า จะมีรายละเอียด ดังนี้
- สินค้ากลุ่มแฟชั่น ในไตรมาส 3/50 มียอดขาย 234 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 8 ล้านบาท หรือร้อย
ละ 4 จากงวดเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นผลมาจากการที่บริษัทฯ ปรับปรุงกลยุทธ์ทางด้านราคา
เพื่อให้สามารถแข่งขันในตลาดได้ดีขึ้น รวมทั้งสินค้าใหม่สามารถทำรายได้ให้กับบริษัทได้มากขึ้น
เช่น Charles & Keith และ Timberland โดย Esprit ยังคงมีสัดส่วนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 56
Bossini คิดเป็นร้อยละ 22 Charles & Keith คิดเป็นร้อยละ 10 Timberland คิดเป็นร้อยละ 9 และ
Tumi คิดเป็นร้อยละ 3 ของยอดขายในกลุ่ม
สำหรับงวดเก้าเดือน บริษัทฯ มียอดขายรวมจากกลุ่มแฟชั่นเป็นจำนวน 737 ล้านบาท ลดลง 41 ล้าน
บาทหรือร้อยละ 5 จากงวดเดียวกันของปีก่อน Esprit ยังคงมีสัดส่วนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 59
Bossini คิดเป็นร้อยละ 22 Timberland คิดเป็นร้อยละ 9 Charles & Keith คิดเป็นร้อยละ 7 และ
Tumi คิดเป็นร้อยละ 3 ของยอดขายในกลุ่ม
- สินค้ากลุ่มเครื่องสำอาง ในไตรมาส 3/50 มียอดขายรวม 48 ล้านบาท ลดลง 8 ล้านบาทหรือร้อย
ละ 14 จากงวดเดียวกันของปีก่อน โดย Red Earth มีสัดส่วนรายได้ร้อยละ 54 Bloom ร้อยละ 24
และ Laneige ร้อยละ 22 ตามลำดับ
สำหรับงวดเก้าเดือน กลุ่มสินค้าเครื่องสำอาง มียอดขายรวม 156 ล้านบาท ลดลง 8 ล้านบาทหรือ
ร้อยละ 5 จากงวดเดียวกันของปีก่อน โดย Red Earth มีสัดส่วนยอดขายร้อยละ 53 Bloom ร้อยละ
22 Laneige ร้อยละ 21 และ Elemis ร้อยละ 4 ตามลำดับ
2) ธุรกิจรับจ้างผลิต
ธุรกิจรับจ้างผลิตยังคงมียอดขายและอัตรากำไรที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในไตรมาส 3/50 บริษัทฯ มี
รายได้จากธุรกิจรับจ้างผลิตจำนวน 401 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 52 ของยอดขายรวม
หรือเพิ่มขึ้น 68 ล้านบาท หรือร้อยละ 20 จากยอดขายรวมในไตรมาส 3/49
ในงวดเก้าเดือน รายได้รวมของธุรกิจรับจ้างผลิตคิดเป็นมูลค่า 1,192 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 172 ล้านบาท
หรือร้อยละ 17 จากงวดเก้าเดือนปี 2549 สาเหตุมาจากลูกค้ารายใหญ่เพิ่มการสั่งซื้อเนื่องจากการ
ขยายตลาดและบริษัทฯสามารถเพิ่มกำลังการผลิตเพื่อรองรับความต้องการได้
3) ธุรกิจการบิน
ในไตรมาส 3/50 และงวดเก้าเดือน บริษัทฯ มีรายได้จากค่านายหน้าในการขายเครื่องบิน 7 ล้านบาท
เพิ่มขึ้น 7 ล้านบาท จากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน แต่ลดลง 49 ล้านบาทสำหรับงวดเก้าเดือน
เนื่องจากในปีก่อนบริษัทมีรายได้จากการขายเครื่องบินเป็นจำนวน 37 ล้านบาท และรายได้จากค่า
นายหน้าจากการจำหน่ายเครื่องบินและอะไหล่จำนวน 19 ล้านบาท
4) ธุรกิจอื่น ๆ
สำหรับธุรกิจขายตรงผลิตภัณฑ์ไทม์ไลฟ์ และเวิลด์บุ๊ค ในไตรมาส 3/50 มียอดขายรวมจำนวน 69
ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 17 ล้านบาท หรือร้อยละ 34 และยอดขายรวมงวดเก้าเดือน จำนวน 163
ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 29 ล้านบาท หรือร้อยละ 21 จากการเพิ่มทีมงานขาย และเพิ่มช่องทางการขาย
ใหม่ ๆ
ในขณะเดียวกันธุรกิจจัดจำหน่ายเครื่องใช้ในเครื่องครัว ในไตรมาส 3/50 มียอดขายจำนวน 10 ล้าน
บาท เพิ่มขึ้นจำนวน 1 ล้านบาท หรือร้อยละ 17 และยอดขายรวมงวดเก้าเดือนจำนวน 28 ล้านบาท
เพิ่มขึ้น 5 ล้านบาท หรือร้อยละ 22
สรุปอัตราส่วนทางการเงิน
สำหรับงวดเก้าเดือน
30 ก.ย.2550 30 ก.ย. 2549
ความสามารถในการทำกำไร
อัตรากำไรขั้นต้น(ร้อยละ) 33.6 34.8
อัตรากำไรสุทธิ (ร้อยละ) 6.7 7.7
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (ร้อยละ) 8.0 11.6
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้นหลังจากปรับปรุง
กำไร(ขาดทุน)ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากการ
เปลี่ยนแปลงมูลค่าของเงินลงทุน (ร้อยละ) 10.0 12.4
ความมีประสิทธิผลของการใช้สินทรัพย์
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ร้อยละ) 3.8 4.6
นโยบายทางการเงิน
อัตราส่วนความสามารถชำระดอกเบี้ย (เท่า) 4.2 4.4
ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน) 55 55
30 ก.ย.2550 31 ธ.ค. 2549
อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย
สุทธิ/ส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 0.7 1.0
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น(เท่า) 0.9 1.3
ความสามารถในการดำรงสภาพคล่อง
อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) 1.0 1.0
อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) 0.5 0.4
การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญสำหรับงวดเก้าเดือน
- อัตรากำไรขั้นต้นร้อยละ 33.6 ลดลงจากร้อยละ 34.8 ของปีก่อน โดยสาเหตุหลักมาจากอัตรากำไรขั้นต้น
ของกลุ่มสินค้าแฟชั่นลดลง ซึ่งเกิดจากการปรับกลยุทธ์ทางด้านการตลาดและด้านราคาเพื่อเพิ่มยอดขาย
ในช่วงภาวะเศรษฐกิจที่มีกำลังซื้อที่ลดลง
- อัตรากำไรสุทธิร้อยละ 6.7 ลดลงจากร้อยละ 7.7 ของปีก่อน เนื่องจากการลดลงของอัตรากำไรขั้นต้นใน
กลุ่มแฟชั่นและมีค่าใช้จ่ายทางด้านการตลาดเพิ่มขึ้นเพื่อกระตุ้นยอดขาย
- อัตราผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้นร้อยละ 8 ลดลงจากร้อยละ 11.6 ของปีก่อน เนื่องจากส่วนของผู้ถือหุ้นเฉลี่ย
เพิ่มขึ้นจากการบันทึกส่วนเกินทุนจากการตีมูลค่ายุติธรรมของ MINT-W3
- อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ ร้อยละ 3.8 ลดลงจากร้อยละ 4.6 ของปีก่อน สาเหตุหลักมาจาก
สินทรัพย์รวมเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นจากการบันทึกมูลค่าเงินลงทุนเพิ่มใน MINT และ MINT-W3
- อัตราส่วนความสามารถในการชำระดอกเบี้ย เท่ากับ 4.2 เท่า ลดลงจาก 4.4 เท่าของปีก่อนเพียง
เล็กน้อย เนื่องจากถึงแม้ว่าผลกำไรจะลดลง แต่ภาระดอกเบี้ยก็ลดลงด้วยซึ่งเป็นผลมาจากการชำระคืน
เงินกู้ในปีนี้
ความเหมาะสมของโครงสร้างเงินทุน
ณ วันที่ 30 กันยายน 2550 งบดุลบริษัทฯ มีฐานะการเงินที่แข็งแกร่งขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา โดยมีอัตราหนี้สินที่มี
ภาระดอกเบี้ยสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 0.7 เท่า และ อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ
เท่ากับ 0.9 เท่า เทียบกับปีก่อนที่ระดับ 1.0 เท่า และ 1.3 เท่า ตามลำดับ ทั้งนี้ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการที่
บริษัทจ่ายชำระคืนหนี้สินระยะสั้นและระยะยาว
ด้วยภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวผ่านจุดต่ำสุดในไตรมาสก่อนและเริ่มส่งสัญญาณปรับตัวดีขึ้นในไตรมาส 3 /50
ประกอบกับการคาดหวังว่าช่วงวันหยุดเทศกาลปีใหม่ที่จะมาถึงจะช่วยกระตุ้นให้เกิดการจับจ่ายใช้สอยใน
สินค้าอุปโภคบริโภคซึ่งส่งผลให้ภาพรวมทางเศรษฐกิจดีขึ้นในไตรมาสสุดท้ายของปี ในไตรมาส 3/50 บริษัทฯ
มียอดขายในธุรกิจค้าปลีกเติบโตขึ้นเล็กน้อยแต่ในแง่ของความสามารถในการทำกำไรกลับลดลงเป็นผลสืบ
เนื่องมาจากการบริโภคภาคเอกชนที่ยังคงชะลอตัว ซึ่งการที่บริษัทฯ ยังคงเน้นกลยุทธ์ด้านราคาและการตลาด
ในเชิงรุก ส่งผลดีในแง่ของการรักษาระดับการเติบโตของยอดขายไว้ได้ ในขณะเดียวกันบริษัทฯ ได้นำสินค้า
แบรนด์ใหม่เข้ามาเพื่อสร้างยอดขาย โดยควบคู่ไปกับการบริหารจัดการต้นทุน เพื่อรักษาระดับอัตราการทำ
กำไรให้ได้สูงสุด สำหรับภาพรวมของผลการดำเนินงานของบริษัทในไตรมาสนี้ ด้านยอดขายและกำไรของ
บริษัทยังคงแข็งแกร่ง เนื่องจากบริษัทมีการกระจายรายได้จากหลายแหล่งโดยเฉพาะอย่างยิ่งธุรกิจรับจ้าง
ผลิต ซึ่งการเติบโตของภาคการส่งออกมีส่วนทำให้บริษัทฯรักษาการเติบโตของยอดขายอย่างมีนัยสำคัญ การ
รับรู้ส่วนแบ่งกำไรจาก MINT เป็นอีกส่วนสำคัญในการทำกำไรของบริษัทฯ เนื่องจากให้ผลตอบแทนที่ต่อเนื่อง
กล่าวโดยสรุปในภาพรวมของเศรษฐกิจ เราเชื่อว่าปัจจัยที่มีส่วนสำคัญในการผลักดันเศรษฐกิจและกระตุ้น
การบริโภคในประเทศในช่วงท้ายของปี จะเป็นผลมาจากการประสบความสำเร็จในการเลือกตั้งทั่วไปและการ
จัดตั้งรัฐบาล ตลอดจนการเร่งการใช้จ่ายภาครัฐบาล
ในไตรมาสที่ผ่านมา เราได้เพิ่มสินค้าแบรนด์ใหม่ ภายใต้ชื่อ "JeansWest" ซึ่งถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์
ธุรกิจค้าปลีกในระยะยาวของบริษัทฯ โดยในอนาคตเชื่อว่าจะมีการนำเข้าสินค้าภายใต้แบรนด์อื่น ๆ เพื่อที่จะ
ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคที่จะขยายตัวในอนาคต ในส่วนธุรกิจรับจ้างผลิตมีการเติบโตอย่างเห็น
ได้ชัดเจนในช่วงไตรมาสผ่านมา ทั้งในด้านยอดขายและการทำกำไร เนื่องจากบริษัทฯ ได้ทำสัญญารับจ้าง
ผลิตในระยะยาว และสามารถขยายอัตรากำลังการผลิตเพื่อรองรับยอดขายที่เพิ่มขึ้น สำหรับกลยุทธ์การ
ลงทุนในระยะยาวใน MINT เป็นส่วนสำคัญในการสร้างกำไรให้กับบริษัทฯ ผู้บริหารของบริษัทฯ ได้ตระหนัก
ถึงปัจจัยภายนอกที่จะส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานและกลยุทธ์ทางธุรกิจ จึงมองเห็นความสำคัญของการ
กระจายแหล่งที่มาของรายได้ เพื่อการเติบโตของธุรกิจในระยะยาว ในระยะอันใกล้ บริษัทฯ มีเป้าหมายใน
การสร้างความแข็งแกร่งให้กับธุรกิจหลัก โดยการเพิ่มความหลายหลายของสินค้า และแบรนด์ต่าง ๆ การ
ขยายจำนวนร้านค้าและสาขาไปสู่ภูมิภาคตามลักษณะ (positioning) ของสินค้านั้น ๆ ตลอดจนการขยาย
ระยะเวลาของสัญญาในธุรกิจรับจ้างผลิต ซึ่งเชื่อว่าจะส่งผลดีกับผลการดำเนินงานของบริษัทในอนาคต
ลงชื่อ
(นางปรารถนา มโนมัยพิบูลย์)
กรรมการ
หัวข้อข่าว คำอธิบายและวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการดำเนินงานไตรมาส 3/50
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 19:33:51
บริษัทไมเนอร์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
คำอธิบายและบทวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ
งวดผลประกอบการประจำไตรมาส 3 ปี 2550
ภาพรวมเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม
แม้ว่าภาพรวมของภาวะทางเศรษฐกิจปรับตัวดีขึ้นเล็กน้อยในไตรมาสที่ผ่านมา โดยดัชนีชี้วัดที่สำคัญทาง
เศรษฐกิจของไทยเริ่มส่งสัญญาณว่าเศรษฐกิจผ่านพ้นจุดต่ำสุดแล้วโดยเฉพาะการปรับตัวดีขึ้นของตัวเลขการ
บริโภคภายในประเทศ ซึ่งในไตรมาส 3/50 ภาวะการดำเนินธุรกิจโดยรวมในประเทศดีขึ้นจากแรงหนุนจาก
ความต้องการการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนที่เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตามปัจจัยที่ยังเป็นอุปสรรคต่อ
บรรยากาศการขยายตัวของธุรกิจภาคเอกชนและการเติบโตของเศรษฐกิจอยู่ก็คือราคาน้ำมันและต้นทุนการ
ผลิตที่สูงขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ราคาสินค้าอุปโภคบริโภคสูงขึ้น ทำให้อัตรากำไรของผู้ค้าปลีกและผู้ผลิตสินค้าได้รับ
ผลกระทบ รวมทั้งยังจะเป็นอุปสรรคต่อการเจริญเติบโตต่อความต้องการบริโภคภายในประเทศในอนาคตอีก
ด้วย อย่างไรก็ตามการเลือกตั้งทั่วไปที่จะมีขึ้นในเดือนธันวาคม ซึ่งจะนำมาถึงการจัดตั้งคณะรัฐมนตรี โดย
นายกรัฐมนตรีที่ได้มาจากการเลือกตั้งน่าจะเป็นปัจจัยหลักในการผลักดันเศรษฐกิจไทยในไตรมาส 4/50 และ
ในปีหน้า เนื่องจากจะส่งผลต่อความมั่นใจในการลงทุนภาคเอกชน และกระตุ้นการใช้จ่ายในภาครัฐบาลได้
เร็วขึ้น
ในด้านการผลิต ไตรมาสนี้ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 9.0 เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน
ซึ่งเกิดจากอุปสงค์จากต่างประเทศที่ขยายตัวสูง โดยการผลิตเพื่อการส่งออกขยายตัวถึงร้อยละ 17 ในขณะที่
การผลิตเพื่อการบริโภคภายในประเทศขยายตัวเพียงร้อยละ 2-4 ซึ่งหมวดสินค้าที่ขยายตัวได้ดีนั้น ได้แก่
หมวดอิเล็กทรอนิกส์ หมวดยานยนต์ รวมทั้งสินค้าอุปโภคบริโภคเพื่อการส่งออกด้วย
ผลการดำเนินงานและฐานะการเงินรวมของกลุ่มบริษัทฯงวดไตรมาส 3/50
ภาพรวมเศรษฐกิจในไตรมาส 3 ปี 2550 ขยายตัวดีขึ้นกว่าไตรมาสก่อนเล็กน้อย โดยการบริโภคและการ
ลงทุนภาคเอกชนเริ่มสะท้อนทิศทางที่ปรับตัวดีขึ้น ในไตรมาส 3/50 บริษัทฯ มีรายได้รวม 833 ล้านบาท
เพิ่มขึ้น 102 ล้านบาท จากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นร้อยละ 14 ส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้นของ
ธุรกิจการรับจ้างผลิตและลงทุน โดยรายได้รวมมาจาก 1) ธุรกิจรับจ้างผลิตร้อยละ 48 2) ธุรกิจค้าปลีกร้อย
ละ 34 และ 3) ธุรกิจลงทุนและธุรกิจอื่น ๆ ร้อยละ 18 และกำไรสุทธิในไตรมาสนี้อยู่ที่ 52 ล้านบาท เพิ่มขึ้น
12 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 29 จากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน สาเหตุที่ผลการดำเนินงานดีขึ้นมากกว่า
ร้อยละ 20 มาจากธุรกิจรับจ้างผลิตที่มีรายได้และอัตรากำไรที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 และ 46 ตามลำดับ ประกอบ
กับส่วนแบ่งกำไรจากการลงทุนใน บมจ.ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนลเพิ่มขึ้นร้อยละ 56 นอกจากนี้บริษัทมีภาระ
ดอกเบี้ยลดลงจากการชำระคืนหนี้ในไตรมาสก่อน
สำหรับงวด 9 เดือน บริษัทมีรายได้รวม 2,491 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 110 ล้านบาท จากงวด 9 เดือนของปีก่อน
หรือร้อยละ 4.6 ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของธุรกิจการรับจ้างผลิต โดยรายได้รวมมาจาก 1) ธุรกิจ
รับจ้างผลิตร้อยละ 48 2) ธุรกิจค้าปลีกร้อยละ 36 และ 3) ธุรกิจลงทุนและธุรกิจอื่น ๆ ร้อยละ 16 ในขณะที่
บริษัทฯ มีกำไรสุทธิรวม 168 ล้านบาท ลดลง 15 ล้านบาทจากงวดเดียวกันของปีก่อน หรือร้อยละ 8 สาเหตุ
หลักมาจากรายได้และกำไรของธุรกิจค้าปลีกและการบินลดลง
ณ สิ้นไตรมาส 3/50 บริษัทฯ มีสินทรัพย์รวมทั้งสิ้น 4,406 ล้านบาท ลดลงสุทธิ 66 ล้านบาท จากเดือน
ธันวาคม 2549 สาเหตุหลักมาจากผลของการปรับลดของ 1) การขายธุรกิจการให้เช่าเครื่องบินแบบเหมาลำ
ซึ่งมีผลทำให้สินทรัพย์รวมลดลงจำนวน 314 ล้านบาท 2) การลดลงของสินค้าคงเหลือของธุรกิจค้าปลีกและ
รับจ้างผลิตจำนวน 105 ล้านบาท จากนโยบายการเพิ่มอัตราการหมุนของสินค้าคงเหลือ และผลจากการปรับ
เพิ่มขึ้นของมูลค่าการลงทุนใน MINT โดยมีการรับรู้ส่วนแบ่งกำไร (สุทธิจากค่าความนิยมตัดจำหน่ายและเงิน
ปันผลรับ) จำนวน 103 ล้านบาท และ มูลค่าการลงทุนใน MINT-W3 เพิ่มขึ้นจำนวน 211 ล้านบาท เนื่องจาก
มูลค่ายุติธรรมเพิ่มขึ้น
ในขณะที่บริษัทฯ มีหนี้สินรวมทั้งสิ้น 2,113 ล้านบาท ลดลง 406 ล้านบาท สาเหตุหลักมาจากการที่บริษัทฯ
ชำระคืนเงินกู้ระยะสั้นจำนวน 344 ล้านบาท และเงินกู้ระยะยาวจำนวน 93 ล้านบาท ขณะที่มีเงินกู้ทรัสต์รีซีท
เพิ่มขึ้นจำนวน 16 ล้านบาท จากการขยายธุรกิจของแบรนด์ Charles and Keith และการนำเข้าสินค้าแบรนด์
JeansWest
ส่วนของผู้ถือหุ้นมีจำนวน 2,293 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 340 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่มาจาก 1) กำไรสุทธิหลัง
จ่ายเงินปันผลจำนวน 100 ล้านบาท 2) ส่วนเกินทุนจากการลงทุนในหุ้น MINT เพิ่มขึ้นจำนวน 23 ล้านบาท
และ 3) มูลค่ายุติธรรมของการลงทุนใน MINT-W3 เพิ่มขึ้นจำนวน 211 ล้านบาท
ในไตรมาส 3/50 บริษัทฯ มีกระแสเงินสดได้มาจากกิจกรรมดำเนินงานจำนวน 31 ล้านบาท ซึ่งมาจากกำไร
จากธุรกิจที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งการบริหารเงินทุนหมุนเวียนดีขึ้น เช่น ลูกหนี้การค้าลดลง เป็นต้น สำหรับกระแส
เงินสดใช้ไปจากการลงทุนจำนวน 14 ล้านบาท ซึ่งมาจากการซื้อเครื่องจักรในการผลิตสินค้าและการขยาย
โรงงานของธุรกิจรับจ้างผลิตรวมทั้งการขยายร้านค้าของธุรกิจค้าปลีก นอกจากนี้บริษัทฯ มีเงินสดใช้ไปสุทธิ
จากกิจกรรมจัดหาเงินจำนวน 4 ล้านบาท จากการที่บริษัทฯ มีการชำระคืนเงินกู้จำนวน 35 ล้านบาท และการ
เพิ่มขึ้นของทรัสต์รีซีทจำนวน 26 ล้านบาท จากการสั่งซื้อสินค้าของธุรกิจค้าปลีกเข้ามาเพื่อจำหน่าย ดังนั้น
ในไตรมาส 3 บริษัทฯ มีกระแสเงินสดได้มาสุทธิจำนวน 13 ล้านบาท
ผลกระทบจากนโยบายบัญชีการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม
ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 26/2549 และ ฉบับที่ 32/2549 ได้มีการแก้ไขมาตรฐานการบัญชีฉบับ
ที่ 44 เรื่อง งบการเงินรวมและการบัญชีสำหรับเงินลงทุนในบริษัทย่อย และฉบับที่ 45 เรื่อง การบัญชีสำหรับ
เงินลงทุนในบริษัทร่วม โดยกำหนดให้เปลี่ยนวิธีการบัญชีจากวิธีส่วนได้เสียเป็นวิธีราคาทุนสำหรับเงินลงทุน
ในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมที่แสดงไว้ในงบการเงินเฉพาะบริษัท ตามวิธีราคาทุน รายได้จาก เงินลงทุนจะรับรู้
เมื่อมีการประกาศจ่ายเงินปันผล ประกาศสภาวิชาชีพบัญชีดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.
2550 เป็นต้นไป ซึ่งมีผลทำให้กำไรและกำไรสะสมในงบการเงินเฉพาะบริษัทและงบการเงินรวมแตกต่างกัน
ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นเพียงการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีเท่านั้น มิได้ทำให้ปัจจัยพื้นฐานในการ
ดำเนินธุรกิจ (เช่น โครงสร้างองค์กร โครงสร้างการจัดการ แหล่งที่มาของรายได้ นโยบายและกลยุทธ์ในการ
ดำเนินธุรกิจ เป็นต้น) ของบริษัทเปลี่ยนแปลงไป
เงินลงทุนซึ่งบันทึกโดยวิธีส่วนได้เสีย ตามงบการเงินรวม
ณ สิ้นไตรมาส 3 เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมซึ่งบันทึกโดยวิธีส่วนได้เสีย ตามงบการเงินรวมมีมูลค่า
ตามบัญชี เท่ากับ 2,378 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 103 ล้านบาท หรือร้อยละ 5 เมื่อเทียบกับสิ้นปีก่อน ซึ่งเป็นผลจาก
การรับรู้ส่วนแบ่งกำไรจากบริษัทร่วมตามวิธีส่วนได้เสียและสุทธิจากเงินปันผลรับ
กำไรสุทธิ
บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีกำไรสุทธิในไตรมาสที่ 3 จำนวน 52 ล้านบาท คิดเป็นกำไรต่อหุ้นปรับลดจำนวน
0.11 บาท ขณะที่งบการเงินเฉพาะบริษัท มีกำไรสุทธิจำนวน 26 ล้านบาท คิดเป็นกำไรต่อหุ้นปรับลดจำนวน
0.05 บาท ผลแตกต่างของกำไรสุทธิจากงบการเงินทั้งสองดังกล่าวมีสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงวิธีการ
บันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะบริษัท โดยที่กำไรสุทธิในงบการเงินรวม
ได้รวมผลการดำเนินงานของบริษัทย่อยและบริษัทร่วมตามสัดส่วนการถือหุ้น ส่วนกำไรสุทธิในงบการเงิน
เฉพาะบริษัทจะรับรู้เฉพาะผลการดำเนินงานของบริษัทใหญ่และจะรับรู้รายได้จากการลงทุนในบริษัทย่อย
และบริษัทร่วมก็ต่อเมื่อได้รับเงินปันผลจากบริษัทย่อยและบริษัทร่วมเท่านั้น ซึ่งในไตรมาสนี้บริษัทมีเงินปันผล
รับดังกล่าวจำนวน 39 ล้านบาท
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงวิธีการบันทึกบัญชีเงินลงทุนต่องบการเงินเฉพาะบริษัท
การเปลี่ยนแปลงการบันทึกบัญชีดังกล่าวข้างต้น ทำให้งบการเงินเฉพาะบริษัทสำหรับไตรมาส 3/50 แสดง
กำไรสุทธิต่ำกว่างบการเงินรวมจำนวน 26 ล้านบาท หรือกำไรต่อหุ้นต่ำกว่าจำนวน 0.06 บาท สำหรับ
ผลกระทบต่อรายการในงบดุล ได้แก่ เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมต่ำกว่า จำนวน 330 ล้านบาท
กำไรสะสมต่ำกว่า จำนวน 605 ล้านบาท ส่วนปรับปรุงจากการแปลงค่างบการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ
สูงกว่า จำนวน 5 ล้านบาท และส่วนเกินทุนจากการลดสัดส่วนการลงทุนต่ำกว่า จำนวน 40 ล้านบาท
วิเคราะห์ผลการดำเนินงานแยกตามรายธุรกิจ
1) ธุรกิจค้าปลีก
จำนวนร้านค้า/จุดจำหน่าย
ประเภทสินค้า กันยายน 2550 กันยายน 2549 เพิ่มขึ้น/(ลดลง)
กลุ่มแฟชั่น 207 228 (21)
กลุ่มเครื่องสำอาง 81 81 0
อื่น ๆ 31 35 (4)
รวมทั้งสิ้น 319 344 (25)
สำหรับกลุ่มสินค้าแฟชั่น บริษัทฯ ได้ขยายจุดขายเพิ่มขึ้น จำนวน 13 แห่ง ภายใต้ แบรนด์ Charles & Keith,
JeansWest และ Tumi ในขณะที่บริษัทฯได้ทำการปิดจุดขายที่ไม่ทำกำไรจำนวน 34 แห่งสำหรับแบรนด์
Esprit Bossini Timberland และ Sinequanone เพื่อปรับปรุงผลการดำเนินงานของบริษัทฯให้ดีขึ้น
ในไตรมาส 3/50 บริษัทฯ มียอดขายจากธุรกิจค้าปลีกซึ่งประกอบด้วยสินค้าประเภทแฟชั่น และสินค้าประเภท
เครื่องสำอางของบริษัทฯ จำนวน 282 ล้านบาท เท่ากับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน โดยยอดขายจากธุรกิจค้า
ปลีกรวมคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 36 ของยอดขายรวม แบ่งเป็นสัดส่วน ประเภทกลุ่มสินค้าแฟชั่นร้อยละ 83
และเครื่องสำอางร้อยละ 17 หากวิเคราะห์แยกตามประเภทกลุ่มสินค้า จะมีรายละเอียด ดังนี้
- สินค้ากลุ่มแฟชั่น ในไตรมาส 3/50 มียอดขาย 234 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 8 ล้านบาท หรือร้อย
ละ 4 จากงวดเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นผลมาจากการที่บริษัทฯ ปรับปรุงกลยุทธ์ทางด้านราคา
เพื่อให้สามารถแข่งขันในตลาดได้ดีขึ้น รวมทั้งสินค้าใหม่สามารถทำรายได้ให้กับบริษัทได้มากขึ้น
เช่น Charles & Keith และ Timberland โดย Esprit ยังคงมีสัดส่วนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 56
Bossini คิดเป็นร้อยละ 22 Charles & Keith คิดเป็นร้อยละ 10 Timberland คิดเป็นร้อยละ 9 และ
Tumi คิดเป็นร้อยละ 3 ของยอดขายในกลุ่ม
สำหรับงวดเก้าเดือน บริษัทฯ มียอดขายรวมจากกลุ่มแฟชั่นเป็นจำนวน 737 ล้านบาท ลดลง 41 ล้าน
บาทหรือร้อยละ 5 จากงวดเดียวกันของปีก่อน Esprit ยังคงมีสัดส่วนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 59
Bossini คิดเป็นร้อยละ 22 Timberland คิดเป็นร้อยละ 9 Charles & Keith คิดเป็นร้อยละ 7 และ
Tumi คิดเป็นร้อยละ 3 ของยอดขายในกลุ่ม
- สินค้ากลุ่มเครื่องสำอาง ในไตรมาส 3/50 มียอดขายรวม 48 ล้านบาท ลดลง 8 ล้านบาทหรือร้อย
ละ 14 จากงวดเดียวกันของปีก่อน โดย Red Earth มีสัดส่วนรายได้ร้อยละ 54 Bloom ร้อยละ 24
และ Laneige ร้อยละ 22 ตามลำดับ
สำหรับงวดเก้าเดือน กลุ่มสินค้าเครื่องสำอาง มียอดขายรวม 156 ล้านบาท ลดลง 8 ล้านบาทหรือ
ร้อยละ 5 จากงวดเดียวกันของปีก่อน โดย Red Earth มีสัดส่วนยอดขายร้อยละ 53 Bloom ร้อยละ
22 Laneige ร้อยละ 21 และ Elemis ร้อยละ 4 ตามลำดับ
2) ธุรกิจรับจ้างผลิต
ธุรกิจรับจ้างผลิตยังคงมียอดขายและอัตรากำไรที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในไตรมาส 3/50 บริษัทฯ มี
รายได้จากธุรกิจรับจ้างผลิตจำนวน 401 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 52 ของยอดขายรวม
หรือเพิ่มขึ้น 68 ล้านบาท หรือร้อยละ 20 จากยอดขายรวมในไตรมาส 3/49
ในงวดเก้าเดือน รายได้รวมของธุรกิจรับจ้างผลิตคิดเป็นมูลค่า 1,192 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 172 ล้านบาท
หรือร้อยละ 17 จากงวดเก้าเดือนปี 2549 สาเหตุมาจากลูกค้ารายใหญ่เพิ่มการสั่งซื้อเนื่องจากการ
ขยายตลาดและบริษัทฯสามารถเพิ่มกำลังการผลิตเพื่อรองรับความต้องการได้
3) ธุรกิจการบิน
ในไตรมาส 3/50 และงวดเก้าเดือน บริษัทฯ มีรายได้จากค่านายหน้าในการขายเครื่องบิน 7 ล้านบาท
เพิ่มขึ้น 7 ล้านบาท จากไตรมาสเดียวกันของปีก่อน แต่ลดลง 49 ล้านบาทสำหรับงวดเก้าเดือน
เนื่องจากในปีก่อนบริษัทมีรายได้จากการขายเครื่องบินเป็นจำนวน 37 ล้านบาท และรายได้จากค่า
นายหน้าจากการจำหน่ายเครื่องบินและอะไหล่จำนวน 19 ล้านบาท
4) ธุรกิจอื่น ๆ
สำหรับธุรกิจขายตรงผลิตภัณฑ์ไทม์ไลฟ์ และเวิลด์บุ๊ค ในไตรมาส 3/50 มียอดขายรวมจำนวน 69
ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 17 ล้านบาท หรือร้อยละ 34 และยอดขายรวมงวดเก้าเดือน จำนวน 163
ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 29 ล้านบาท หรือร้อยละ 21 จากการเพิ่มทีมงานขาย และเพิ่มช่องทางการขาย
ใหม่ ๆ
ในขณะเดียวกันธุรกิจจัดจำหน่ายเครื่องใช้ในเครื่องครัว ในไตรมาส 3/50 มียอดขายจำนวน 10 ล้าน
บาท เพิ่มขึ้นจำนวน 1 ล้านบาท หรือร้อยละ 17 และยอดขายรวมงวดเก้าเดือนจำนวน 28 ล้านบาท
เพิ่มขึ้น 5 ล้านบาท หรือร้อยละ 22
สรุปอัตราส่วนทางการเงิน
สำหรับงวดเก้าเดือน
30 ก.ย.2550 30 ก.ย. 2549
ความสามารถในการทำกำไร
อัตรากำไรขั้นต้น(ร้อยละ) 33.6 34.8
อัตรากำไรสุทธิ (ร้อยละ) 6.7 7.7
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (ร้อยละ) 8.0 11.6
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้นหลังจากปรับปรุง
กำไร(ขาดทุน)ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากการ
เปลี่ยนแปลงมูลค่าของเงินลงทุน (ร้อยละ) 10.0 12.4
ความมีประสิทธิผลของการใช้สินทรัพย์
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ร้อยละ) 3.8 4.6
นโยบายทางการเงิน
อัตราส่วนความสามารถชำระดอกเบี้ย (เท่า) 4.2 4.4
ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน) 55 55
30 ก.ย.2550 31 ธ.ค. 2549
อัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย
สุทธิ/ส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) 0.7 1.0
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น(เท่า) 0.9 1.3
ความสามารถในการดำรงสภาพคล่อง
อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) 1.0 1.0
อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) 0.5 0.4
การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญสำหรับงวดเก้าเดือน
- อัตรากำไรขั้นต้นร้อยละ 33.6 ลดลงจากร้อยละ 34.8 ของปีก่อน โดยสาเหตุหลักมาจากอัตรากำไรขั้นต้น
ของกลุ่มสินค้าแฟชั่นลดลง ซึ่งเกิดจากการปรับกลยุทธ์ทางด้านการตลาดและด้านราคาเพื่อเพิ่มยอดขาย
ในช่วงภาวะเศรษฐกิจที่มีกำลังซื้อที่ลดลง
- อัตรากำไรสุทธิร้อยละ 6.7 ลดลงจากร้อยละ 7.7 ของปีก่อน เนื่องจากการลดลงของอัตรากำไรขั้นต้นใน
กลุ่มแฟชั่นและมีค่าใช้จ่ายทางด้านการตลาดเพิ่มขึ้นเพื่อกระตุ้นยอดขาย
- อัตราผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้นร้อยละ 8 ลดลงจากร้อยละ 11.6 ของปีก่อน เนื่องจากส่วนของผู้ถือหุ้นเฉลี่ย
เพิ่มขึ้นจากการบันทึกส่วนเกินทุนจากการตีมูลค่ายุติธรรมของ MINT-W3
- อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ ร้อยละ 3.8 ลดลงจากร้อยละ 4.6 ของปีก่อน สาเหตุหลักมาจาก
สินทรัพย์รวมเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นจากการบันทึกมูลค่าเงินลงทุนเพิ่มใน MINT และ MINT-W3
- อัตราส่วนความสามารถในการชำระดอกเบี้ย เท่ากับ 4.2 เท่า ลดลงจาก 4.4 เท่าของปีก่อนเพียง
เล็กน้อย เนื่องจากถึงแม้ว่าผลกำไรจะลดลง แต่ภาระดอกเบี้ยก็ลดลงด้วยซึ่งเป็นผลมาจากการชำระคืน
เงินกู้ในปีนี้
ความเหมาะสมของโครงสร้างเงินทุน
ณ วันที่ 30 กันยายน 2550 งบดุลบริษัทฯ มีฐานะการเงินที่แข็งแกร่งขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา โดยมีอัตราหนี้สินที่มี
ภาระดอกเบี้ยสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 0.7 เท่า และ อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ
เท่ากับ 0.9 เท่า เทียบกับปีก่อนที่ระดับ 1.0 เท่า และ 1.3 เท่า ตามลำดับ ทั้งนี้ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการที่
บริษัทจ่ายชำระคืนหนี้สินระยะสั้นและระยะยาว
ด้วยภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวผ่านจุดต่ำสุดในไตรมาสก่อนและเริ่มส่งสัญญาณปรับตัวดีขึ้นในไตรมาส 3 /50
ประกอบกับการคาดหวังว่าช่วงวันหยุดเทศกาลปีใหม่ที่จะมาถึงจะช่วยกระตุ้นให้เกิดการจับจ่ายใช้สอยใน
สินค้าอุปโภคบริโภคซึ่งส่งผลให้ภาพรวมทางเศรษฐกิจดีขึ้นในไตรมาสสุดท้ายของปี ในไตรมาส 3/50 บริษัทฯ
มียอดขายในธุรกิจค้าปลีกเติบโตขึ้นเล็กน้อยแต่ในแง่ของความสามารถในการทำกำไรกลับลดลงเป็นผลสืบ
เนื่องมาจากการบริโภคภาคเอกชนที่ยังคงชะลอตัว ซึ่งการที่บริษัทฯ ยังคงเน้นกลยุทธ์ด้านราคาและการตลาด
ในเชิงรุก ส่งผลดีในแง่ของการรักษาระดับการเติบโตของยอดขายไว้ได้ ในขณะเดียวกันบริษัทฯ ได้นำสินค้า
แบรนด์ใหม่เข้ามาเพื่อสร้างยอดขาย โดยควบคู่ไปกับการบริหารจัดการต้นทุน เพื่อรักษาระดับอัตราการทำ
กำไรให้ได้สูงสุด สำหรับภาพรวมของผลการดำเนินงานของบริษัทในไตรมาสนี้ ด้านยอดขายและกำไรของ
บริษัทยังคงแข็งแกร่ง เนื่องจากบริษัทมีการกระจายรายได้จากหลายแหล่งโดยเฉพาะอย่างยิ่งธุรกิจรับจ้าง
ผลิต ซึ่งการเติบโตของภาคการส่งออกมีส่วนทำให้บริษัทฯรักษาการเติบโตของยอดขายอย่างมีนัยสำคัญ การ
รับรู้ส่วนแบ่งกำไรจาก MINT เป็นอีกส่วนสำคัญในการทำกำไรของบริษัทฯ เนื่องจากให้ผลตอบแทนที่ต่อเนื่อง
กล่าวโดยสรุปในภาพรวมของเศรษฐกิจ เราเชื่อว่าปัจจัยที่มีส่วนสำคัญในการผลักดันเศรษฐกิจและกระตุ้น
การบริโภคในประเทศในช่วงท้ายของปี จะเป็นผลมาจากการประสบความสำเร็จในการเลือกตั้งทั่วไปและการ
จัดตั้งรัฐบาล ตลอดจนการเร่งการใช้จ่ายภาครัฐบาล
ในไตรมาสที่ผ่านมา เราได้เพิ่มสินค้าแบรนด์ใหม่ ภายใต้ชื่อ "JeansWest" ซึ่งถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์
ธุรกิจค้าปลีกในระยะยาวของบริษัทฯ โดยในอนาคตเชื่อว่าจะมีการนำเข้าสินค้าภายใต้แบรนด์อื่น ๆ เพื่อที่จะ
ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคที่จะขยายตัวในอนาคต ในส่วนธุรกิจรับจ้างผลิตมีการเติบโตอย่างเห็น
ได้ชัดเจนในช่วงไตรมาสผ่านมา ทั้งในด้านยอดขายและการทำกำไร เนื่องจากบริษัทฯ ได้ทำสัญญารับจ้าง
ผลิตในระยะยาว และสามารถขยายอัตรากำลังการผลิตเพื่อรองรับยอดขายที่เพิ่มขึ้น สำหรับกลยุทธ์การ
ลงทุนในระยะยาวใน MINT เป็นส่วนสำคัญในการสร้างกำไรให้กับบริษัทฯ ผู้บริหารของบริษัทฯ ได้ตระหนัก
ถึงปัจจัยภายนอกที่จะส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานและกลยุทธ์ทางธุรกิจ จึงมองเห็นความสำคัญของการ
กระจายแหล่งที่มาของรายได้ เพื่อการเติบโตของธุรกิจในระยะยาว ในระยะอันใกล้ บริษัทฯ มีเป้าหมายใน
การสร้างความแข็งแกร่งให้กับธุรกิจหลัก โดยการเพิ่มความหลายหลายของสินค้า และแบรนด์ต่าง ๆ การ
ขยายจำนวนร้านค้าและสาขาไปสู่ภูมิภาคตามลักษณะ (positioning) ของสินค้านั้น ๆ ตลอดจนการขยาย
ระยะเวลาของสัญญาในธุรกิจรับจ้างผลิต ซึ่งเชื่อว่าจะส่งผลดีกับผลการดำเนินงานของบริษัทในอนาคต
ลงชื่อ
(นางปรารถนา มโนมัยพิบูลย์)
กรรมการ
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
-
- Verified User
- โพสต์: 7514
- ผู้ติดตาม: 0
news12/11/07
โพสต์ที่ 239
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่ 3(F45-1)
Date: 2007-11-12 17:36:44
Source: SET
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่ 3(F45-1)
กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 212,215 217,214 636,396 644,797
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.1944 0.1990 0.5830 0.5907
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
Date: 2007-11-12 17:36:44
Source: SET
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.ไตรมาสที่ 3(F45-1)
กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2550
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ 212,215 217,214 636,396 644,797
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) 0.1944 0.1990 0.5830 0.5907
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและไม่มีข้อสังเกต
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4940
- ผู้ติดตาม: 1
ผลประกอบการ ไตรมาส3/2550
โพสต์ที่ 240
หลักทรัพย์ MALEE
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 19:56:08
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
งบการเงินรวม
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (28,572) 19,233 (115,021) 42,078
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) (0.41) 0.27 (1.64) 0.64
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (23,084) 24,481 (107,245) 35,834
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) (0.33) 0.35 (1.53) 0.55
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและมีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นายเทอดพงศ์ คณารักษ์ )
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารงานกลาง
หัวข้อข่าว สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
วันที่/เวลา 12 พ.ย. 2550 19:56:08
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยไตรมาสที่3(F45-3)
บริษัท มาลีสามพราน จำกัด (มหาชน)
สอบทาน
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
งบการเงินรวม
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (28,572) 19,233 (115,021) 42,078
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) (0.41) 0.27 (1.64) 0.64
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ไตรมาสที่ 3 งวด 9 เดือน
ปี 2550 2549 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (23,084) 24,481 (107,245) 35,834
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) (0.33) 0.35 (1.53) 0.55
ประเภทรายงานของผู้สอบบัญชีในงบการเงิน
ไม่มีเงื่อนไขและมีข้อสังเกต
หมายเหตุ : 1. โปรดดูรายละเอียดงบการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินจากระบบบริการข้อมูลตลาดหลักทรัพย์
"ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลที่รายงานข้างต้นนี้ถูกต้องทุกประการ พร้อมกันนี้บริษัทได้จัดส่งงบ
การเงินฉบับเต็มผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของตลาดหลักทรัพย์และส่งต้นฉบับให้กับสำนักงาน
ก.ล.ต.เรียบร้อยแล้ว"
ลงลายมือชื่อ _______________________
( นายเทอดพงศ์ คณารักษ์ )
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารงานกลาง
สีลํ พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์