สูตรมหัศจรรย์!! สไตล์ VI
-
- Verified User
- โพสต์: 27
- ผู้ติดตาม: 0
สูตรมหัศจรรย์!! สไตล์ VI
โพสต์ที่ 121
ขอบคุณครับ
- yoyo
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4833
- ผู้ติดตาม: 1
สูตรมหัศจรรย์!! สไตล์ VI
โพสต์ที่ 122
นับถือพี่ริวสุดๆ... ยอดมนุษย์จริงๆครับ
การลงทุนที่มีค่าที่สุด คือการลงทุนในความรู้
http://www.yoyoway.com
http://www.yoyoway.com
- Ryuga
- Verified User
- โพสต์: 1771
- ผู้ติดตาม: 0
สูตรมหัศจรรย์!! สไตล์ VI
โพสต์ที่ 123
ลองอภิปรายดูนะครับ ผมว่ามันเป็นกลยุทธ์ที่ใช้เก็บเกี่ยวขาขึ้นของหุ้นที่ผลประกอบการดีขึ้น (ค่า ROA สูงขึ้น) แต่ตลาดยังไม่ค่อยตอบสนอง (P/E ยังต่ำอยู่) วิธีการนี้ไม่เลือกทั้งสิ้นว่ามันจะเป็นหุ้นวัฏจักร หุ้น Growth หุ้นฟื้นตัวฯ มันจึงเป็นการเก็บเกี่ยวในช่วงท้ายที่ผลการดำเนินงานมันออกมาให้เห็นกันแล้ว
ที่เขากำหนดกรอบไว้ที่ 1 ปีก็ต้องขาย ก็เพราะปัจจัยที่เขาไปเลือกเก็บเอาตอนท้ายนั่นเอง พวกวัฏจักรก็เริ่มรอบใหม่ของเขาแล้ว พวกฟื้นตัวก็ฟื้นแล้ว ภายใต้กรอบ 1 ปี มันไม่ได้หมายความว่าวัฏจักรจะกลับไปขาลงหรือพวกฟื้นตัวจะเข้าภาวะจำศีล แม้แต่หุ้นที่ไม่ใช่วัฏจักรแต่กำไรดีขึ้นด้วยเหตุอะไรก็แล้วแต่มันก็อาจจะดีต่อไปหรือไม่ก็อาจจะตกลงก็ได้ ไม่ได้ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญกับหุ้นกลุ่มอื่นๆ
เห็นได้ว่า PSL, TTA ก็ติดโผมาต่อเนื่อง และภาพรวมก็ทำกำไรได้ดี ถ้าต่อไปในอนาคตผลการดำเนินงานเค้าแย่ลง (ROA ต่ำลง, P/E สูงขึ้น) ในที่สุดก็จะหลุด list ไปเอง
อย่าง UMS ก็ติดโผมาแต่แรกๆ เหมือนกัน แต่เมื่อราคาเค้าเริ่มจะสูงขึ้นเพราะมีนักลงทุนสนใจมากขึ้น ลำดับในตารางเค้าก็เริ่มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ถึงจุดหนึ่งก็คงจะหลุด list ไป ดูอย่าง UEC ก็จะเห็นว่า เพราะ P/E ขึ้นไปเยอะ ใน season หลังๆ จึงเริ่มหลุดจาก 30 อันดับแรก
TLUXE นั้นอาจเป็นตัวอย่างที่ดี ใน season ที่ 1 เค้ากำไร 40% มาถึง season 2 กำไรก็ลดลง พอมา season 3 จากกำไรกลายเป็นขาดทุน มา season สุดท้ายก็ขาดทุนหนักขึ้นไปอีก เห็นผลกันแจ่มๆ ทีเดียวว่าการเอาตัวเลขในอดีตมาใช้มันไม่ได้รับประกันอะไรที่ดีในอนาคต
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
หุ้นที่มี ROA สูงนั้น หากไม่ใช่รายการพิเศษย่อมหมายความว่าเค้าเป็นกิจการที่มีพื้นฐานดี เวลาขาดทุน เราทราบว่ามากสุดก็แค่ 100% ซึ่งจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อกิจการนั้นล้มละลาย แต่สำหรับกิจการพื้นฐานดี อย่างมากก็อาจร่วงเพียง 30-50% ซึ่งอาจไม่เกิดขึ้นทั้งหมดภายใน 1 ปี การกำหนดกรอบการขายที่ 1 ปี จึงเป็นวินัยที่ชาญฉลาดทีเดียว เพราะเป็นการจำกัดความเสี่ยงของผลตอบแทนเอาไว้ นั่นคือ
1. หากกิจการนั้นมีตัวเลขในอดีตที่ดีแต่ผลประกอบการในอนาคตแย่ลง การกำหนดกรอบขายที่ 1 ปี จะจำกัดขาดทุนเอาไว้
2. หากกิจการนั้นมีตัวเลขในอดีตที่ดีและผลประกอบการในอนาคตก็ยังดีต่อ เขาก็ตัดขายไปเสีย เป็นการมอบความเสี่ยงให้ผู้ซื้อต่อรับไว้แทน (ผู้ซื้อไม้สุดท้ายอาจจะเจ็บหนัก) หากมันจะขึ้นต่อก็ไม่เป็นไรเพราะถือว่ามันเป็นกลยุทธ์ที่เก็บเกี่ยวในช่วงท้ายๆ หุ้นเก่าหลุดไป หุ้นใหม่ก็มีเข้ามาแทนอยู่เรื่อยๆ ไม่เดือดร้อน คนซื้อต่อได้กำไรก็เป็นเรื่องดีเพราะถือเป็นการกระจายความสุขให้ทั่วถึงกัน :lol:
หุ้นลงจำกัดที่ 100% แต่หุ้นขึ้นนั้นไม่จำกัด สมมุติว่ามีหุ้นติดโผ 10 บริษัท ร่วงกันไปรายละ 30% แต่ปรากฏว่าในพอร์ตมี UEC ซึ่งบวกไป 300 กว่า% อยู่ด้วย ทั้งพอร์ตก็ยังกำไรอยู่
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
หากเราอยากได้กำไรมากๆ แทนที่จะใช้กลยุทธ์กินทีหลังแบบนี้ก็ต้องขยันทำการบ้านมากขึ้น อย่างกรณี ATC ซึ่งสร้างตำนาน 30 เด้ง เราได้บทเรียนอันชัดเจนว่ากำไรสูงสุดของพวกวัฏจักรเช่นนี้ต้องซื้อตอนที่ P/E เขายังติดลบอยู่ ในตารางข้างบน ATC ให้กำไร 63% เท่านั้นใน 1 ปี เทียบกับ 3,000% ใน 3 ปีไม่ได้เลย หรือแม้แต่กรณีอันใกล้นี้ PTL กลับน่าซื้อที่สุด ตอนที่ P/E 8 เท่า ROA แค่ 6% (ติดอันดับ 227 ของตาราง season 4)
วิธีนี้นับเป็นวิธีที่ไม่พ่ายแพ้ (ถ้ากระจายความเสี่ยงมากพอ) และก็ยังสามารถทุ่นแรงในการหาหุ้นได้ในระดับหนึ่งนะครับ แต่ถ้าจะให้ถึงขนาดเป็นเทพกับเขาบ้างก็อาจจะไม่พอ 8)
ที่เขากำหนดกรอบไว้ที่ 1 ปีก็ต้องขาย ก็เพราะปัจจัยที่เขาไปเลือกเก็บเอาตอนท้ายนั่นเอง พวกวัฏจักรก็เริ่มรอบใหม่ของเขาแล้ว พวกฟื้นตัวก็ฟื้นแล้ว ภายใต้กรอบ 1 ปี มันไม่ได้หมายความว่าวัฏจักรจะกลับไปขาลงหรือพวกฟื้นตัวจะเข้าภาวะจำศีล แม้แต่หุ้นที่ไม่ใช่วัฏจักรแต่กำไรดีขึ้นด้วยเหตุอะไรก็แล้วแต่มันก็อาจจะดีต่อไปหรือไม่ก็อาจจะตกลงก็ได้ ไม่ได้ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญกับหุ้นกลุ่มอื่นๆ
เห็นได้ว่า PSL, TTA ก็ติดโผมาต่อเนื่อง และภาพรวมก็ทำกำไรได้ดี ถ้าต่อไปในอนาคตผลการดำเนินงานเค้าแย่ลง (ROA ต่ำลง, P/E สูงขึ้น) ในที่สุดก็จะหลุด list ไปเอง
อย่าง UMS ก็ติดโผมาแต่แรกๆ เหมือนกัน แต่เมื่อราคาเค้าเริ่มจะสูงขึ้นเพราะมีนักลงทุนสนใจมากขึ้น ลำดับในตารางเค้าก็เริ่มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ถึงจุดหนึ่งก็คงจะหลุด list ไป ดูอย่าง UEC ก็จะเห็นว่า เพราะ P/E ขึ้นไปเยอะ ใน season หลังๆ จึงเริ่มหลุดจาก 30 อันดับแรก
TLUXE นั้นอาจเป็นตัวอย่างที่ดี ใน season ที่ 1 เค้ากำไร 40% มาถึง season 2 กำไรก็ลดลง พอมา season 3 จากกำไรกลายเป็นขาดทุน มา season สุดท้ายก็ขาดทุนหนักขึ้นไปอีก เห็นผลกันแจ่มๆ ทีเดียวว่าการเอาตัวเลขในอดีตมาใช้มันไม่ได้รับประกันอะไรที่ดีในอนาคต
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
หุ้นที่มี ROA สูงนั้น หากไม่ใช่รายการพิเศษย่อมหมายความว่าเค้าเป็นกิจการที่มีพื้นฐานดี เวลาขาดทุน เราทราบว่ามากสุดก็แค่ 100% ซึ่งจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อกิจการนั้นล้มละลาย แต่สำหรับกิจการพื้นฐานดี อย่างมากก็อาจร่วงเพียง 30-50% ซึ่งอาจไม่เกิดขึ้นทั้งหมดภายใน 1 ปี การกำหนดกรอบการขายที่ 1 ปี จึงเป็นวินัยที่ชาญฉลาดทีเดียว เพราะเป็นการจำกัดความเสี่ยงของผลตอบแทนเอาไว้ นั่นคือ
1. หากกิจการนั้นมีตัวเลขในอดีตที่ดีแต่ผลประกอบการในอนาคตแย่ลง การกำหนดกรอบขายที่ 1 ปี จะจำกัดขาดทุนเอาไว้
2. หากกิจการนั้นมีตัวเลขในอดีตที่ดีและผลประกอบการในอนาคตก็ยังดีต่อ เขาก็ตัดขายไปเสีย เป็นการมอบความเสี่ยงให้ผู้ซื้อต่อรับไว้แทน (ผู้ซื้อไม้สุดท้ายอาจจะเจ็บหนัก) หากมันจะขึ้นต่อก็ไม่เป็นไรเพราะถือว่ามันเป็นกลยุทธ์ที่เก็บเกี่ยวในช่วงท้ายๆ หุ้นเก่าหลุดไป หุ้นใหม่ก็มีเข้ามาแทนอยู่เรื่อยๆ ไม่เดือดร้อน คนซื้อต่อได้กำไรก็เป็นเรื่องดีเพราะถือเป็นการกระจายความสุขให้ทั่วถึงกัน :lol:
หุ้นลงจำกัดที่ 100% แต่หุ้นขึ้นนั้นไม่จำกัด สมมุติว่ามีหุ้นติดโผ 10 บริษัท ร่วงกันไปรายละ 30% แต่ปรากฏว่าในพอร์ตมี UEC ซึ่งบวกไป 300 กว่า% อยู่ด้วย ทั้งพอร์ตก็ยังกำไรอยู่
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
หากเราอยากได้กำไรมากๆ แทนที่จะใช้กลยุทธ์กินทีหลังแบบนี้ก็ต้องขยันทำการบ้านมากขึ้น อย่างกรณี ATC ซึ่งสร้างตำนาน 30 เด้ง เราได้บทเรียนอันชัดเจนว่ากำไรสูงสุดของพวกวัฏจักรเช่นนี้ต้องซื้อตอนที่ P/E เขายังติดลบอยู่ ในตารางข้างบน ATC ให้กำไร 63% เท่านั้นใน 1 ปี เทียบกับ 3,000% ใน 3 ปีไม่ได้เลย หรือแม้แต่กรณีอันใกล้นี้ PTL กลับน่าซื้อที่สุด ตอนที่ P/E 8 เท่า ROA แค่ 6% (ติดอันดับ 227 ของตาราง season 4)
วิธีนี้นับเป็นวิธีที่ไม่พ่ายแพ้ (ถ้ากระจายความเสี่ยงมากพอ) และก็ยังสามารถทุ่นแรงในการหาหุ้นได้ในระดับหนึ่งนะครับ แต่ถ้าจะให้ถึงขนาดเป็นเทพกับเขาบ้างก็อาจจะไม่พอ 8)
Low Profile High Profit
หมากล้อมเย้ยยุทธจักร
หมากล้อมเย้ยยุทธจักร
- Ryuga
- Verified User
- โพสต์: 1771
- ผู้ติดตาม: 0
สูตรมหัศจรรย์!! สไตล์ VI
โพสต์ที่ 124
[quote="Radio"]สรุปจากขอ้มูลสุดยอดของคุณ ริว แสดงว่า การใช้ ROA และ PE
น่าจะได้ผล และที่ดีที่สุดคือคัดเลือกมา 20 ตัวแรก
น่าจะได้ผล และที่ดีที่สุดคือคัดเลือกมา 20 ตัวแรก
Low Profile High Profit
หมากล้อมเย้ยยุทธจักร
หมากล้อมเย้ยยุทธจักร
- Ryuga
- Verified User
- โพสต์: 1771
- ผู้ติดตาม: 0
สูตรมหัศจรรย์!! สไตล์ VI
โพสต์ที่ 125
ผมก็คิดแบบนี้เหมือนกันครับ 8)สามัญชน เขียน:น้องริวสุดยอดจริงๆ
ทีนี้ขอวานต่ออีกหน่อยเถอะครับ
เพราะผมตั้งสมมติฐานว่า
ถ้าเรายอมลงทุนเหนื่อยมากขึ้น
ผลตอบแทนเราจะมากขึ้น
เช่นเดียวกับเจ้าของทฤษฎีเองเขาก็ต้องใช้หลักเกณฑ์
ตัดพวกกำไรพิเศษออกไป
ทำให้ผลตอบแทนดีกว่า
สามัญชน เขียน:ผมขอวานให้น้องริว
ใส่ FACTOR อีกหนึ่งตัว
คือค่า p/b เข้าไป
แล้วเรียงลำดับโดยนำ ranking ของทั้งสามค่ามารวมกัน
เราจะได้ตัวหุ้นแตกต่างจากเดิม
แล้วดูว่า
ผลงานของหุ้นเหล่านี้เป็นอย่างไรเมื่อเทียบกับของเดิม
ขอบคุณครับ
Low Profile High Profit
หมากล้อมเย้ยยุทธจักร
หมากล้อมเย้ยยุทธจักร
-
- Verified User
- โพสต์: 1141
- ผู้ติดตาม: 0
สูตรมหัศจรรย์!! สไตล์ VI
โพสต์ที่ 127
ขอบคุณสำหรับความเห็นทุก ๆ ท่านที่ดีครับ เพราะทำให้เรามีความรู้ในเรื่องการลงทุนเพิ่มเติม โดยมีข้อมูลและความเห็นที่ประกอบการลงทุนอย่างชัดเจน
ในทางปฏิบัติ แม้ผลตอบแทนจะเป็นไปตามแบบที่คุณ Ryuga คำนวณมาให้และดูเหมือนว่าผลตอบแทนเมื่อเทียบกับตลาดจะดีกว่าจริง แต่ผมมีข้อสังเกตดังนี้
1. ในการประเมินผลตอบแทนเทียบกับตลาดนั้น ข้อมูลผลการดำเนินงานแต่ละไตรมาสที่ได้มานั้นจะมี Lag Time อยู่ประมาณ 1 เดือนครึ่ง ถึง 2 เดือน ( 1 เดือนครึ่ง กรณีเป็นงบไตรมาสปกติ และ 2 เดือน กรณีไตรมาสสุดท้าย) ดังนั้นการปรับปรุงค่า ROA PE หรือ ROE ก็ตาม ก็ต้องใช้เวลาในการคำนวณตามระยะเวลาดังกล่าว ผมไม่แน่ใจว่า เมื่อได้คำนวณตามเวลาที่ควรจะเป็นหลังจากที่นักลงทุนทุกคนได้ข้อมูลกันครบถ้วนแล้ว ผลตอบแทนหลังจากนั้นจะดีกว่าตลาดจริงหรือไม่ครับ
2. ปัญหาการปรับปรุงข้อมูลกำไรหรือขาดทุนที่ผิดปกติ ซึ่งต้องใช้ดุลยพินิจส่วนหนึ่งในการพิจารณา อาจทำให้ตัวเลขที่คำนวณได้ของแต่ละคนไม่ตรงกัน
3. เท่าที่ดูตัวเลขผลตอบแทนที่คุณ Ryuga คำนวณมาให้ จะพบว่า ตัวเลขผลตอบแทนนั้นค่อนข้างผันผวนสุด ๆ เหมือนกัน ดังนั้นการลงทุนที่จะให้ผลตอบแทนตามข้อมูล จึงต้องมีการกระจายความเสี่ยงในกลุ่มดังกล่าว และต้องมีสัดส่วนการลงทุนที่เหมาะสมในหุ้นแต่ละตัวด้วยครับ
เอาข้อสังเกตเบื้องต้นก่อนนะครับ :lol:
ในทางปฏิบัติ แม้ผลตอบแทนจะเป็นไปตามแบบที่คุณ Ryuga คำนวณมาให้และดูเหมือนว่าผลตอบแทนเมื่อเทียบกับตลาดจะดีกว่าจริง แต่ผมมีข้อสังเกตดังนี้
1. ในการประเมินผลตอบแทนเทียบกับตลาดนั้น ข้อมูลผลการดำเนินงานแต่ละไตรมาสที่ได้มานั้นจะมี Lag Time อยู่ประมาณ 1 เดือนครึ่ง ถึง 2 เดือน ( 1 เดือนครึ่ง กรณีเป็นงบไตรมาสปกติ และ 2 เดือน กรณีไตรมาสสุดท้าย) ดังนั้นการปรับปรุงค่า ROA PE หรือ ROE ก็ตาม ก็ต้องใช้เวลาในการคำนวณตามระยะเวลาดังกล่าว ผมไม่แน่ใจว่า เมื่อได้คำนวณตามเวลาที่ควรจะเป็นหลังจากที่นักลงทุนทุกคนได้ข้อมูลกันครบถ้วนแล้ว ผลตอบแทนหลังจากนั้นจะดีกว่าตลาดจริงหรือไม่ครับ
2. ปัญหาการปรับปรุงข้อมูลกำไรหรือขาดทุนที่ผิดปกติ ซึ่งต้องใช้ดุลยพินิจส่วนหนึ่งในการพิจารณา อาจทำให้ตัวเลขที่คำนวณได้ของแต่ละคนไม่ตรงกัน
3. เท่าที่ดูตัวเลขผลตอบแทนที่คุณ Ryuga คำนวณมาให้ จะพบว่า ตัวเลขผลตอบแทนนั้นค่อนข้างผันผวนสุด ๆ เหมือนกัน ดังนั้นการลงทุนที่จะให้ผลตอบแทนตามข้อมูล จึงต้องมีการกระจายความเสี่ยงในกลุ่มดังกล่าว และต้องมีสัดส่วนการลงทุนที่เหมาะสมในหุ้นแต่ละตัวด้วยครับ
เอาข้อสังเกตเบื้องต้นก่อนนะครับ :lol:
- Ryuga
- Verified User
- โพสต์: 1771
- ผู้ติดตาม: 0
สูตรมหัศจรรย์!! สไตล์ VI
โพสต์ที่ 130
ขอชี้แจงให้ละเอียดมากขึ้น กันการเข้าใจคลาดเคลื่อนกันนะครับ คือว่า
ข้อมูลที่ผมใช้ครั้งนี้ ใช้ ณ ที่ปรากฏขณะสิ้นไตรมาสนั้นๆ อ้างอิงตามที่นักลงทุนทราบ เช่น
ใน season 4 ราคาหลักทรัพย์เริ่มต้นก็คือราคาปิดหุ้นที่สิ้นปี 49 คิดอัตราผลตอบแทนเทียบกับราคาปิดของปี 50 แต่ ณ ขณะนั้น งบจะออกให้เห็นเพียง 3Q แรกของปี ค่า ROA จึงถูกคิดจาก EBIT ของ Q4/48+Q1/49+Q2/49+Q3/49 ทั้งหมดหารด้วยสินทรัพย์เฉลี่ยตั้งแต่งวดต้นถึงท้าย และแน่นอนว่าค่า P/E ย่อมคิดจากกำไรสี่ไตรมาสล่าสุดที่รับรู้ก็คือ กำไรของ Q4/48+Q1/49+Q2/49+Q3/49
การใช้ราคาสิ้นไตรมาสพอดีก็เพราะว่ามันเป็นราคาที่อยู่ระหว่างการประกาศงบการเงินแต่ละงวดพอดีนั่นเอง ถ้าหากราคาหุ้นจะขึ้นจะลงอะไรไปตามงบที่ประกาศก็คงจะขึ้นจะลงกันไปแล้ว ถือเป็นราคาที่รับข่าวแล้วอะครับ 8)
ข้อมูลที่ผมใช้ครั้งนี้ ใช้ ณ ที่ปรากฏขณะสิ้นไตรมาสนั้นๆ อ้างอิงตามที่นักลงทุนทราบ เช่น
ใน season 4 ราคาหลักทรัพย์เริ่มต้นก็คือราคาปิดหุ้นที่สิ้นปี 49 คิดอัตราผลตอบแทนเทียบกับราคาปิดของปี 50 แต่ ณ ขณะนั้น งบจะออกให้เห็นเพียง 3Q แรกของปี ค่า ROA จึงถูกคิดจาก EBIT ของ Q4/48+Q1/49+Q2/49+Q3/49 ทั้งหมดหารด้วยสินทรัพย์เฉลี่ยตั้งแต่งวดต้นถึงท้าย และแน่นอนว่าค่า P/E ย่อมคิดจากกำไรสี่ไตรมาสล่าสุดที่รับรู้ก็คือ กำไรของ Q4/48+Q1/49+Q2/49+Q3/49
การใช้ราคาสิ้นไตรมาสพอดีก็เพราะว่ามันเป็นราคาที่อยู่ระหว่างการประกาศงบการเงินแต่ละงวดพอดีนั่นเอง ถ้าหากราคาหุ้นจะขึ้นจะลงอะไรไปตามงบที่ประกาศก็คงจะขึ้นจะลงกันไปแล้ว ถือเป็นราคาที่รับข่าวแล้วอะครับ 8)
Low Profile High Profit
หมากล้อมเย้ยยุทธจักร
หมากล้อมเย้ยยุทธจักร
- Ryuga
- Verified User
- โพสต์: 1771
- ผู้ติดตาม: 0
สูตรมหัศจรรย์!! สไตล์ VI
โพสต์ที่ 131
ที่จริงเรื่อง P/B นี่ ผมก็ไม่ทราบข้อเท็จจริงนะครับว่าจะเป็นฉันใด(ไม่ได้สนใจดู) แต่ความเห็นอย่างเดาๆ ของผมคือ 8)
หากเรานำ P/B มาคิดด้วย มันจะหักกลบลบล้างกับค่า ROA สูงไป เนื่องจาก ROA สูงบ่งบอกว่ากิจการสร้างผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ได้ดี แต่ถ้า P/B ต่ำ กลับบ่งบอกทางอ้อมว่ากิจการนั้นสร้างอัตราผลตอบแทนต่อเงินลงทุนต่ำ นักลงทุนมีปกติไม่ชื่นชอบ หุ้นต่ำบุ๊คบ้านเราขณะนี้มีมากกว่า 200 บริษัท ถ้าเอามาคิดด้วย หุ้นเน่าๆ อย่าง TT&T หรือโรงงานปั่นด้าย-ทอผ้า อาจจะเข้ามาติดโผบ้างก็ได้
ผลสุดท้ายเราอาจจะได้กลุ่มหุ้นกลางๆ ที่ไม่มีอะไรน่าสนใจ หรือไม่ก็อาจกลายเป็นการวัดด้วย P/E อย่างโดดเด่นมากขึ้น เพราะ P/B ต่ำ ROA สูง ฉะกันเองไปแล้ว เท่าที่ดูจาก List ผมว่า ถ้ารวม P/B ต่ำ ทั้ง UMS, UEC, TEAM, PSL, TTA etc. อาจหลุดหมดก็ได้ แม้แต่ PTT ก็อาจไม่ติดโผเหมือนกัน
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
เอ... ผมอาจจะเข้าใจพี่หมอศรรามผิด หมายความว่า เอาเฉพาะที่ติดโผ 50 อันดับตามวิธีการแรกแล้ว บวกค่า P/B เฉพาะกลุ่มนี้แล้วเรียงรึเปล่าครับ
หากเรานำ P/B มาคิดด้วย มันจะหักกลบลบล้างกับค่า ROA สูงไป เนื่องจาก ROA สูงบ่งบอกว่ากิจการสร้างผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ได้ดี แต่ถ้า P/B ต่ำ กลับบ่งบอกทางอ้อมว่ากิจการนั้นสร้างอัตราผลตอบแทนต่อเงินลงทุนต่ำ นักลงทุนมีปกติไม่ชื่นชอบ หุ้นต่ำบุ๊คบ้านเราขณะนี้มีมากกว่า 200 บริษัท ถ้าเอามาคิดด้วย หุ้นเน่าๆ อย่าง TT&T หรือโรงงานปั่นด้าย-ทอผ้า อาจจะเข้ามาติดโผบ้างก็ได้
ผลสุดท้ายเราอาจจะได้กลุ่มหุ้นกลางๆ ที่ไม่มีอะไรน่าสนใจ หรือไม่ก็อาจกลายเป็นการวัดด้วย P/E อย่างโดดเด่นมากขึ้น เพราะ P/B ต่ำ ROA สูง ฉะกันเองไปแล้ว เท่าที่ดูจาก List ผมว่า ถ้ารวม P/B ต่ำ ทั้ง UMS, UEC, TEAM, PSL, TTA etc. อาจหลุดหมดก็ได้ แม้แต่ PTT ก็อาจไม่ติดโผเหมือนกัน
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
เอ... ผมอาจจะเข้าใจพี่หมอศรรามผิด หมายความว่า เอาเฉพาะที่ติดโผ 50 อันดับตามวิธีการแรกแล้ว บวกค่า P/B เฉพาะกลุ่มนี้แล้วเรียงรึเปล่าครับ
Low Profile High Profit
หมากล้อมเย้ยยุทธจักร
หมากล้อมเย้ยยุทธจักร
- krisy
- Verified User
- โพสต์: 736
- ผู้ติดตาม: 0
สูตรมหัศจรรย์!! สไตล์ VI
โพสต์ที่ 132
[quote="Ryuga"]ลองอภิปรายดูนะครับ ผมว่ามันเป็นกลยุทธ์ที่ใช้เก็บเกี่ยวขาขึ้นของหุ้นที่ผลประกอบการดีขึ้น (ค่า ROA สูงขึ้น) แต่ตลาดยังไม่ค่อยตอบสนอง (P/E ยังต่ำอยู่)
ที่เขากำหนดกรอบไว้ที่ 1 ปีก็ต้องขาย ก็เพราะปัจจัยที่เขาไปเลือกเก็บเอาตอนท้ายนั่นเอง พวกวัฏจักรก็เริ่มรอบใหม่ของเขาแล้ว พวกฟื้นตัวก็ฟื้นแล้ว ภายใต้กรอบ 1 ปี มันไม่ได้หมายความว่าวัฏจักรจะกลับไปขาลงหรือพวกฟื้นตัวจะเข้าภาวะจำศีล แม้แต่หุ้นที่ไม่ใช่วัฏจักรแต่กำไรดีขึ้นด้วยเหตุอะไรก็แล้วแต่มันก็อาจจะดีต่อไปหรือไม่ก็อาจจะตกลงก็ได้ ไม่ได้ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญกับหุ้นกลุ่มอื่นๆ
วิธีนี้นับเป็นวิธีที่ไม่พ่ายแพ้ (ถ้ากระจายความเสี่ยงมากพอ) และก็ยังสามารถทุ่นแรงในการหาหุ้นได้ในระดับหนึ่งนะครับ แต่ถ้าจะให้ถึงขนาดเป็นเทพกับเขาบ้างก็อาจจะไม่พอ
ที่เขากำหนดกรอบไว้ที่ 1 ปีก็ต้องขาย ก็เพราะปัจจัยที่เขาไปเลือกเก็บเอาตอนท้ายนั่นเอง พวกวัฏจักรก็เริ่มรอบใหม่ของเขาแล้ว พวกฟื้นตัวก็ฟื้นแล้ว ภายใต้กรอบ 1 ปี มันไม่ได้หมายความว่าวัฏจักรจะกลับไปขาลงหรือพวกฟื้นตัวจะเข้าภาวะจำศีล แม้แต่หุ้นที่ไม่ใช่วัฏจักรแต่กำไรดีขึ้นด้วยเหตุอะไรก็แล้วแต่มันก็อาจจะดีต่อไปหรือไม่ก็อาจจะตกลงก็ได้ ไม่ได้ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญกับหุ้นกลุ่มอื่นๆ
วิธีนี้นับเป็นวิธีที่ไม่พ่ายแพ้ (ถ้ากระจายความเสี่ยงมากพอ) และก็ยังสามารถทุ่นแรงในการหาหุ้นได้ในระดับหนึ่งนะครับ แต่ถ้าจะให้ถึงขนาดเป็นเทพกับเขาบ้างก็อาจจะไม่พอ
.....Give Everything but not Give Up.....
- por_jai
- Verified User
- โพสต์: 14338
- ผู้ติดตาม: 0
สูตรมหัศจรรย์!! สไตล์ VI
โพสต์ที่ 135
พี่ริวงะ เขียน:วิธีนี้นับเป็นวิธีที่ไม่พ่ายแพ้ (ถ้ากระจายความเสี่ยงมากพอ) และก็ยังสามารถทุ่นแรงในการหาหุ้นได้ในระดับหนึ่งนะครับ แต่ถ้าจะให้ถึงขนาดเป็นเทพกับเขาบ้างก็อาจจะไม่พอ
ชอบศัพท์พี่ริวจัง
วิธีที่ไม่พ่ายแพ้
ส่วนเรื่องเทพนี่สมัยก่อนมีเทพ เทียนชัย
สมัยนี้ที่ยังอยู่ก็เทพ โพธิงาม
เที่ยวคาเฟ่ เจอทั้งคู่เลยครับ ตลกโคตรๆ
ผมไม่อยากเป็นเทพ
เป็นแค่สีหนุ่ม เชิญยิ้ม ก็ตลกพอใช้ได้แล้ว...
กรูเก่ง กิเลสเก่งกว่า
- ครรชิต ไพศาล
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 4637
- ผู้ติดตาม: 1
สูตรมหัศจรรย์!! สไตล์ VI
โพสต์ที่ 139
ผมมีเพิ่มสูตรตัวใหม่ให้เพื่อนๆช่วยกันพิจารณา อยู่ใน EPS15YEAR ชีต Price&PE
คือค่าของ P/E + A/R
เพื่อใช้ พิจารณา ความถูกแพง + คุณภาพ ของหุ้นแต่ละตัว
หรือจะเรียกให้สั้นๆว่าค่า PEAR
คือค่าของ P/E + A/R
เพื่อใช้ พิจารณา ความถูกแพง + คุณภาพ ของหุ้นแต่ละตัว
หรือจะเรียกให้สั้นๆว่าค่า PEAR
ความสุขอื่น ยิ่งกว่าความสงบใจไม่มี นตฺถิ สนฺติ ปรํ สุขํ
หัดเล่น Facebook กะเขาบ้างแล้วนะครับ ใช้ชื่อ Kanchit Paisan ครับ
Facebook เพจ Eps16year Settrade Set ตลาดหลักทรัพย์ งบดุล ปันผล อัตราส่วนการเงิน กราฟ
Google เพจ kanchitpaisan
Google+ KANCHIT PAISAN
หัดเล่น Facebook กะเขาบ้างแล้วนะครับ ใช้ชื่อ Kanchit Paisan ครับ
Facebook เพจ Eps16year Settrade Set ตลาดหลักทรัพย์ งบดุล ปันผล อัตราส่วนการเงิน กราฟ
Google เพจ kanchitpaisan
Google+ KANCHIT PAISAN
- crazyrisk
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 4562
- ผู้ติดตาม: 0
สูตรมหัศจรรย์!! สไตล์ VI
โพสต์ที่ 142
สุดยอดครับ กระทู้นี้ เต็มไปด้วย พลังจริงๆ
ผมอ่านหนังสือเล่มนี้ จบไป ขว้างไปหัวเตียงแบบงงๆ
ไม่คิดว่าจะ สุดยอดขนาดนี้
ขอบคุณ สามทหารเสือ
พี่ ลูกอิสาน คุณ ryuga และ พี่ครรชิตครับ
ผมอ่านหนังสือเล่มนี้ จบไป ขว้างไปหัวเตียงแบบงงๆ
ไม่คิดว่าจะ สุดยอดขนาดนี้
ขอบคุณ สามทหารเสือ
พี่ ลูกอิสาน คุณ ryuga และ พี่ครรชิตครับ
"Champions aren't made in gyms. Champions are made from something they have deep inside them: A desire, a dream, a vision.
- crazyrisk
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 4562
- ผู้ติดตาม: 0
สูตรมหัศจรรย์!! สไตล์ VI
โพสต์ที่ 143
เหลือ อีกคนเดียวคับ
ที่ยังไม่ปรากฏตัว แต่ผมแอบรออยู่อย่างโจ่งแจ้ง
พี่ ชาติชายยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยย
อยู่หนายครับ....
ที่ยังไม่ปรากฏตัว แต่ผมแอบรออยู่อย่างโจ่งแจ้ง
พี่ ชาติชายยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยย
อยู่หนายครับ....
"Champions aren't made in gyms. Champions are made from something they have deep inside them: A desire, a dream, a vision.
- ครรชิต ไพศาล
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 4637
- ผู้ติดตาม: 1
สูตรมหัศจรรย์!! สไตล์ VI
โพสต์ที่ 146
ควรใช้ งบรวม
เพราะอย่างไรก็ตาม
การดำเนินงานของบริษัทลูกจะดีหรือไม่ดี ก็ต้องมีผลต่อบริษัทแม่เช่นกัน
เพราะอย่างไรก็ตาม
การดำเนินงานของบริษัทลูกจะดีหรือไม่ดี ก็ต้องมีผลต่อบริษัทแม่เช่นกัน
ความสุขอื่น ยิ่งกว่าความสงบใจไม่มี นตฺถิ สนฺติ ปรํ สุขํ
หัดเล่น Facebook กะเขาบ้างแล้วนะครับ ใช้ชื่อ Kanchit Paisan ครับ
Facebook เพจ Eps16year Settrade Set ตลาดหลักทรัพย์ งบดุล ปันผล อัตราส่วนการเงิน กราฟ
Google เพจ kanchitpaisan
Google+ KANCHIT PAISAN
หัดเล่น Facebook กะเขาบ้างแล้วนะครับ ใช้ชื่อ Kanchit Paisan ครับ
Facebook เพจ Eps16year Settrade Set ตลาดหลักทรัพย์ งบดุล ปันผล อัตราส่วนการเงิน กราฟ
Google เพจ kanchitpaisan
Google+ KANCHIT PAISAN
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 11444
- ผู้ติดตาม: 1
สูตรมหัศจรรย์!! สไตล์ VI
โพสต์ที่ 147
ถ้าใช้งบรวมจะมีกรณีนี้หรือไม่ครับ
บริษัท A ดำเนินธุรกิจเป็น Holding Company
มีส่วนผู้ถือหุ้น 100 ล้านบาท ไม่มีหนี้สิน
ถือหุ้นลงทุนอยู่ 4 บริษัท คือ ก ข ค และ ง จำนวนเงินบริษัทละ 25 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน 25% ของแต่ละบริษัท
บริษัท ก ข ค และ ง มีการกู้ยืมเงิน และมีหนี้สินอื่น รวมเป็นหนี้สินทั้งหมด 200 ล้านบาท (ส่วนผู้ถือหุ้นแต่ละบริษัท 100 ล้านบาท)
บริษัททั้ง 4 มีผลการดำเนินงานกำไรบริษัทละ 30 ล้านบาท (ROA 10%)
บริษัท A จะรับรู้ผลกำไรจากทั้ง 4 บริษัทในงบรวมจำนวนทั้งหมด 30 ล้านบาท ROA ของ บริษัท A จะสูงถึง 30%
ปัจจัยอะไรทำให้ A มี ROA สูงถึงขนาดนั้น
จงอยู่เหนือความดี อย่าหลงความดี
- doodeemak
- Verified User
- โพสต์: 411
- ผู้ติดตาม: 0
สูตรมหัศจรรย์!! สไตล์ VI
โพสต์ที่ 148
ดูเหมือนว่าถ้าเป็น Holding company ROA ตามตัวอย่างของคุณฉัตรชัยจะเท่ากับ ROE ของ 3 บริษัทเลยนะครับ
เป็นเพราะว่า Holding company นั้นไม่มี Liability ดังนั้น ROA จะเท่ากับ ROE
ซึ่งถ้ามองในมุมมองของผลตอบแทนจากการลงทุนหรือ ROE ก็จะไม่มีความแตกต่างกันนะครับ ระหว่างการลงทุนในบริษัทลูกหรือการลงทุนใน Holding
แต่ถ้านำ ROA มาจัดอันดับ ก็อาจจะดูแปลกๆไปซะหน่อย ถ้าอันดับ ROA ของ Holding จะดูดีกว่าบริษัทลูก แต่ได้ Return เหมือนกัน
ทำไมผมรู้สึก งงๆ ไม่รู้แฮะ :? :?
เป็นเพราะว่า Holding company นั้นไม่มี Liability ดังนั้น ROA จะเท่ากับ ROE
ซึ่งถ้ามองในมุมมองของผลตอบแทนจากการลงทุนหรือ ROE ก็จะไม่มีความแตกต่างกันนะครับ ระหว่างการลงทุนในบริษัทลูกหรือการลงทุนใน Holding
แต่ถ้านำ ROA มาจัดอันดับ ก็อาจจะดูแปลกๆไปซะหน่อย ถ้าอันดับ ROA ของ Holding จะดูดีกว่าบริษัทลูก แต่ได้ Return เหมือนกัน
ทำไมผมรู้สึก งงๆ ไม่รู้แฮะ :? :?
Inactive investor
- ครรชิต ไพศาล
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 4637
- ผู้ติดตาม: 1
สูตรมหัศจรรย์!! สไตล์ VI
โพสต์ที่ 149
[quote="chatchai"]บริษัท A
ความสุขอื่น ยิ่งกว่าความสงบใจไม่มี นตฺถิ สนฺติ ปรํ สุขํ
หัดเล่น Facebook กะเขาบ้างแล้วนะครับ ใช้ชื่อ Kanchit Paisan ครับ
Facebook เพจ Eps16year Settrade Set ตลาดหลักทรัพย์ งบดุล ปันผล อัตราส่วนการเงิน กราฟ
Google เพจ kanchitpaisan
Google+ KANCHIT PAISAN
หัดเล่น Facebook กะเขาบ้างแล้วนะครับ ใช้ชื่อ Kanchit Paisan ครับ
Facebook เพจ Eps16year Settrade Set ตลาดหลักทรัพย์ งบดุล ปันผล อัตราส่วนการเงิน กราฟ
Google เพจ kanchitpaisan
Google+ KANCHIT PAISAN
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 11444
- ผู้ติดตาม: 1
สูตรมหัศจรรย์!! สไตล์ VI
โพสต์ที่ 150
ขอเพิ่มให้ชัดเจนนะครับ
หนี้สินทั้งหมด 200 ล้านบาทนั้น เป็นหนี้ของบริษัทลูกแต่ละบริษัทนะครับ
งบการเงินของบริษัทลูกแต่ละบริษัท จะมีทุน 100 ล้านบาท หนี้สินทั้งหมด 200 ล้านบาท รวมสินทรัพย์ทั้งหมด 300 ล้านบาท มีกำไรจำนวน 30 ล้านบาท (ROA 10%)
หนี้สินทั้งหมด 200 ล้านบาทนั้น เป็นหนี้ของบริษัทลูกแต่ละบริษัทนะครับ
งบการเงินของบริษัทลูกแต่ละบริษัท จะมีทุน 100 ล้านบาท หนี้สินทั้งหมด 200 ล้านบาท รวมสินทรัพย์ทั้งหมด 300 ล้านบาท มีกำไรจำนวน 30 ล้านบาท (ROA 10%)
จงอยู่เหนือความดี อย่าหลงความดี