ข้อมูลSeahorse ที่ฟลอร์วันนี้ครับ (1.47 บาท)
-
- Verified User
- โพสต์: 999
- ผู้ติดตาม: 0
ข้อมูลSeahorse ที่ฟลอร์วันนี้ครับ (1.47 บาท)
โพสต์ที่ 1
ธุรกิจหลัก/ผลิตภัณฑ์หลัก
ดำเนินธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่เยือกแข็ง และอาหารทะเลกระป๋อง สินค้าหลักของบริษัทฯ ได้แก่ กุ้งแช่แข็ง ปลาหมึกแช่แข็ง ปลาซาดีนบรรจุกระป๋อง ในซอสมะเขือเทศ/ในน้ำมันถั่วเหลือง ปลาเมคเคอเรล ในซอสมะเขือเทศ/ในน้ำมันถั่วเหลือง กุ้งคอกเทล ฯลฯ ภายใต้เครื่องหมายการค้าของบริษัทฯ คือ FIVE ELEPHANTS, OCEAN STAR, ELEPHANT, SEA HORSE, SAPPHIRE เป็นต้น และภายใต้เครื่องหมายการค้าของลูกค้าแต่ละรายต้องการ เช่น ASIAN STAR, CAT TUNA, GEISHA, MASTER OF THE SEA เป็นต้น
ข้อมูลผู้ถือหุ้น
ชื่อ จำนวนหุ้น %
1 นาย วรเจตน์ อินทามระ 967,000,000 34.78
2 นาย สมโภชน์ อาหุนัย 421,000,096 15.14
3 นาย ศิริธัช โรจนพฤกษ์ 292,500,000 10.52
4 นาง จิราพรรณ ศรีนนท์ 195,000,000 7.01
5 นาย สาคร สุขศรีวงศ์ 168,750,000 6.07
6 บริษัท คอม-ลิงค์ จำกัด 146,250,000 5.26
7 นาย ศิริธัช โรจนพฤกษ์ 108,500,000 3.9
8 นาย สุธาบดี สัตตบุศย์ 100,000,000 3.6
9 นาย สุรชัย สุขศรีวงศ์ 75,000,000 2.7
10 นาง สุพิน โรจนพฤกษ์ 50,000,000 1.8
11 นาย ชาตรี มหัทธนาดุลย์ 40,382,000 1.45
12 นาย เกียรติศักดิ์ มหัทธนาดุลย์ 30,850,800 1.11
13 นาย มนตรี มหัทธนาดุลย์ 29,358,200 1.06
14 น.ส. สุธิดา มหัทธนาดุลย์ 25,050,800 0.9
15 นาย กัลป์ อดิเรกสาร 15,000,000 0.54
16 นาย วีระพล อดิเรกสาร 14,000,000 0.5
ดำเนินธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่เยือกแข็ง และอาหารทะเลกระป๋อง สินค้าหลักของบริษัทฯ ได้แก่ กุ้งแช่แข็ง ปลาหมึกแช่แข็ง ปลาซาดีนบรรจุกระป๋อง ในซอสมะเขือเทศ/ในน้ำมันถั่วเหลือง ปลาเมคเคอเรล ในซอสมะเขือเทศ/ในน้ำมันถั่วเหลือง กุ้งคอกเทล ฯลฯ ภายใต้เครื่องหมายการค้าของบริษัทฯ คือ FIVE ELEPHANTS, OCEAN STAR, ELEPHANT, SEA HORSE, SAPPHIRE เป็นต้น และภายใต้เครื่องหมายการค้าของลูกค้าแต่ละรายต้องการ เช่น ASIAN STAR, CAT TUNA, GEISHA, MASTER OF THE SEA เป็นต้น
ข้อมูลผู้ถือหุ้น
ชื่อ จำนวนหุ้น %
1 นาย วรเจตน์ อินทามระ 967,000,000 34.78
2 นาย สมโภชน์ อาหุนัย 421,000,096 15.14
3 นาย ศิริธัช โรจนพฤกษ์ 292,500,000 10.52
4 นาง จิราพรรณ ศรีนนท์ 195,000,000 7.01
5 นาย สาคร สุขศรีวงศ์ 168,750,000 6.07
6 บริษัท คอม-ลิงค์ จำกัด 146,250,000 5.26
7 นาย ศิริธัช โรจนพฤกษ์ 108,500,000 3.9
8 นาย สุธาบดี สัตตบุศย์ 100,000,000 3.6
9 นาย สุรชัย สุขศรีวงศ์ 75,000,000 2.7
10 นาง สุพิน โรจนพฤกษ์ 50,000,000 1.8
11 นาย ชาตรี มหัทธนาดุลย์ 40,382,000 1.45
12 นาย เกียรติศักดิ์ มหัทธนาดุลย์ 30,850,800 1.11
13 นาย มนตรี มหัทธนาดุลย์ 29,358,200 1.06
14 น.ส. สุธิดา มหัทธนาดุลย์ 25,050,800 0.9
15 นาย กัลป์ อดิเรกสาร 15,000,000 0.54
16 นาย วีระพล อดิเรกสาร 14,000,000 0.5
We are new KIDS.
We don' t SMOKE.
ร่วมรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่
We don' t SMOKE.
ร่วมรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่
-
- Verified User
- โพสต์: 999
- ผู้ติดตาม: 0
ข้อมูลSeahorse ที่ฟลอร์วันนี้ครับ (1.47 บาท)
โพสต์ที่ 2
งบการเงินปีที่แล้วไม่งาม
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยประจำปี(F45-3)
บริษัท ซีฮอร์ส จำกัด (มหาชน)
ตรวจสอบ
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินรวม
งวด 1 ปี
ปี 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (140,893) (70,414)
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) (0.05) (0.10)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
งวด 1 ปี
ปี 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (108,045) (67,788)
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) (0.04) (0.09)
อันนี้เป็นคำชี้แจงงบ
ที่ SHC/SET/006/2551
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551
เรื่อง ชี้แจงผลประกอบการ ที่มีความแตกต่างมากกว่า 20%
เรียน กรรมการและผู้จัดการ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ทางบริษัท ซีฮอร์ส จำกัด (มหาชน) ขอเรียนชี้แจงเกี่ยวกับผลประกอบการของบริษัท สำหรับงวดปี พ.ศ. 2550 ที่ประสบผลขาดทุน 140.89 ล้านบาท ในงบการเงินรวม และขาดทุน 108.04 ล้านบาท ในงบการเงินเฉพาะกิจการ ซึ่งมีผลประกอบการแตกต่างมากกว่า 20% เมื่อเปรียบเทียบกับผลประกอบการของงวดปี พ.ศ. 2549 ดังนี้
1. เนื่องจากบริษัทรับรายได้อยู่ในรูปดอลลาร์สหรัฐมากกว่า 90% และจากการที่ค่าเงินบาทแข็งค่าอย่างต่อเนื่องจาก 35 บาทต่อ 1 ดอลลาร์เมื่อช่วงต้นปี 2550 มาอยู่ที่ประมาณ 33 บาทต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐในช่วงสิ้นปี 2550 ทำให้ศักยภาพในการแข่งขันของบริษัทลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่งขันของประเทศอื่น และยังส่งผลให้ยอดขายของบริษัทในรูปเงินบาทลดลงด้วย จาก 937.16 ล้านบาทในปี 2549 มาเป็น 756.69 ล้านบาท(งบการเงินเฉพาะกิจการ)
2. เนื่องจากวัตถุดิบที่ป้อนเข้าสู่บริษัทเกือบทั้งหมดเป็นสินค้าเกษตรประมงและจากการที่ราคานำมันที่สูงตลอดปี 2550 ทำให้ผู้ประกอบการเรือประมงส่วนใหญ่ประสบกับการขาดทุน และได้หยุดทำการประมงไปแล้วทำให้ปริมาณวัตถุดิบทางเกษตรประมงลดลงอย่างมากและไม่เพียงพอกับความต้องการของจำนวนโรงงานที่มีอยู่ส่งผลให้มีการแข่งขันด้านการซื้อวัตถุดิบเป็นอย่างมากซึ่งบางครั้งจำเป็นที่จะต้องซื้อในราคาที่สูงกว่าต้นทุนที่ควรจะเป็น
3. ในปี 2550 ทางบริษัทมีการตัดจำหน่ายค่าความนิยมจากการซื้อเงินลงทุนในบริษัท บุญอเนก จำกัด เป็นจำนวนเงิน 29.59 ล้านบาท
4. ในปี 2550 ทางบริษัทได้มีการตั้งการด้อยค่าของค่าใช้จ่ายล่วงหน้าค่าวัตถุดิบเป็นจำนวน 58.50 ล้านบาทซึ่งเป็นรายการที่ทางบริษัทได้มีการสั่งซื้อวัตถุดิบที่ทางประเทศมาเลเซีย โดยจะเริ่มมีกำหนดการส่งมอบในไตรมาสที่ 1 ปี 2551
จากสาเหตุดังกล่าวทำให้ทางบริษัทมีผลขาดทุนในปี 2550 140.89 ล้านบาท ในงบการเงินรวมและขาดทุน108.04 ล้านบาท ในงบการเงินเฉพาะกิจการ และมีผลประกอบการแตกต่างมากกว่า 20% เมื่อเปรียบเทียบกับผลประกอบการของงวดปี 2549
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
(นายชาตรี มหัทธนาดุลย์)
กรรมการ
สรุปผลการดำเนินงานของบจ.และรวมของบริษัทย่อยประจำปี(F45-3)
บริษัท ซีฮอร์ส จำกัด (มหาชน)
ตรวจสอบ
(หน่วย : พันบาท)
สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินรวม
งวด 1 ปี
ปี 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (140,893) (70,414)
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) (0.05) (0.10)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
งวด 1 ปี
ปี 2550 2549
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (108,045) (67,788)
กำไร (ขาดทุน) สุทธิต่อหุ้น (บาท) (0.04) (0.09)
อันนี้เป็นคำชี้แจงงบ
ที่ SHC/SET/006/2551
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551
เรื่อง ชี้แจงผลประกอบการ ที่มีความแตกต่างมากกว่า 20%
เรียน กรรมการและผู้จัดการ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ทางบริษัท ซีฮอร์ส จำกัด (มหาชน) ขอเรียนชี้แจงเกี่ยวกับผลประกอบการของบริษัท สำหรับงวดปี พ.ศ. 2550 ที่ประสบผลขาดทุน 140.89 ล้านบาท ในงบการเงินรวม และขาดทุน 108.04 ล้านบาท ในงบการเงินเฉพาะกิจการ ซึ่งมีผลประกอบการแตกต่างมากกว่า 20% เมื่อเปรียบเทียบกับผลประกอบการของงวดปี พ.ศ. 2549 ดังนี้
1. เนื่องจากบริษัทรับรายได้อยู่ในรูปดอลลาร์สหรัฐมากกว่า 90% และจากการที่ค่าเงินบาทแข็งค่าอย่างต่อเนื่องจาก 35 บาทต่อ 1 ดอลลาร์เมื่อช่วงต้นปี 2550 มาอยู่ที่ประมาณ 33 บาทต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐในช่วงสิ้นปี 2550 ทำให้ศักยภาพในการแข่งขันของบริษัทลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่งขันของประเทศอื่น และยังส่งผลให้ยอดขายของบริษัทในรูปเงินบาทลดลงด้วย จาก 937.16 ล้านบาทในปี 2549 มาเป็น 756.69 ล้านบาท(งบการเงินเฉพาะกิจการ)
2. เนื่องจากวัตถุดิบที่ป้อนเข้าสู่บริษัทเกือบทั้งหมดเป็นสินค้าเกษตรประมงและจากการที่ราคานำมันที่สูงตลอดปี 2550 ทำให้ผู้ประกอบการเรือประมงส่วนใหญ่ประสบกับการขาดทุน และได้หยุดทำการประมงไปแล้วทำให้ปริมาณวัตถุดิบทางเกษตรประมงลดลงอย่างมากและไม่เพียงพอกับความต้องการของจำนวนโรงงานที่มีอยู่ส่งผลให้มีการแข่งขันด้านการซื้อวัตถุดิบเป็นอย่างมากซึ่งบางครั้งจำเป็นที่จะต้องซื้อในราคาที่สูงกว่าต้นทุนที่ควรจะเป็น
3. ในปี 2550 ทางบริษัทมีการตัดจำหน่ายค่าความนิยมจากการซื้อเงินลงทุนในบริษัท บุญอเนก จำกัด เป็นจำนวนเงิน 29.59 ล้านบาท
4. ในปี 2550 ทางบริษัทได้มีการตั้งการด้อยค่าของค่าใช้จ่ายล่วงหน้าค่าวัตถุดิบเป็นจำนวน 58.50 ล้านบาทซึ่งเป็นรายการที่ทางบริษัทได้มีการสั่งซื้อวัตถุดิบที่ทางประเทศมาเลเซีย โดยจะเริ่มมีกำหนดการส่งมอบในไตรมาสที่ 1 ปี 2551
จากสาเหตุดังกล่าวทำให้ทางบริษัทมีผลขาดทุนในปี 2550 140.89 ล้านบาท ในงบการเงินรวมและขาดทุน108.04 ล้านบาท ในงบการเงินเฉพาะกิจการ และมีผลประกอบการแตกต่างมากกว่า 20% เมื่อเปรียบเทียบกับผลประกอบการของงวดปี 2549
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
(นายชาตรี มหัทธนาดุลย์)
กรรมการ
We are new KIDS.
We don' t SMOKE.
ร่วมรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่
We don' t SMOKE.
ร่วมรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่
-
- Verified User
- โพสต์: 999
- ผู้ติดตาม: 0
ข้อมูลSeahorse ที่ฟลอร์วันนี้ครับ (1.47 บาท)
โพสต์ที่ 3
ที่ SHC/SET/ 008/2551
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551
เรื่อง ชี้แจงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
เรียน กรรมการผู้จัดการ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัทฯ ขอชี้แจงถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชี เกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยในงบการเงิน ตามที่สภาวิชาชีพบัญชีได้ประกาศปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 45 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่วม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 46 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง ส่วนได้เสียในการร่วมค้า กำหนดให้บริษัทใหญ่ที่มีการลงทุนในบริษัทย่อย ที่มีอำนาจควบคุมร่วม หรือบริษัทร่วมที่ไม่จัดจำแนกเป็นการลงทุนสำหรับ การถือเพื่อขาย บันทึกเงินลงทุนดังกล่าวตามวิธีราคาทุน หรือตามเกณฑ์การรับรู้และการวัดมูลค่าตราสารทางการเงิน(เมื่อมีการบังคับใช้) แทนวิธีส่วนได้เสียซึ่งใช้อยู่ในปัจจุบัน บริษัทได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับเงินลงทุนในบริษัทย่อย ในงบการเงินเฉพาะกิจการจากวิธีส่วนได้เสียเป็นวิธีราคาทุนตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550 เพื่อให้เป็นไปตามประกาศของสภาฯดังกล่าว การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว บริษัทได้ปรับปรุงงบการเงินปีก่อนเสมือนว่าบริษัทได้บันทึกเงินลงทุนตามวิธีราคาทุนตามนโยบายการบัญชีใหม่มาโดยตลอด ดังนั้น ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีต่องบการเงินเฉพาะกิจการสำหรับงวด 2550 และ 2549 มีดังนี้
1.ทำให้งบการเงินเฉพาะกิจการ แสดงผลกำไร(ขาดทุน) และกำไร(ขาดทุน)สะสม และกำไร(ขาดทุน)สุทธิ ดังนี้
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2550 2549
(บาท)
เงินลงทุนในบริษัทย่อย
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม ก่อนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี 12,215,529 14,840,993
ขาดทุนสะสมเพิ่มขึ้น (2,915,529) (5,540,993)
เพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ (2,915,529) (5,540,993)
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม หลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี 9,300,000 9,300,000
ขาดทุนสะสม
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม ก่อนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (477,049,325) (406,634,933)
ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียเพิ่มขึ้นสุทธิ (2,915,529) (5,540,993)
เพิ่มขึ้นสุทธิ (2,915,529) (5,540,993)
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม หลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (479,964,854) (412,175,926)
ขาดทุนสุทธิ
ขาดทุนสุทธิสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ก่อนการเปลี่ยนแปลง
แปลงนโยบายการบัญชี (109,771,315) (70,414,392)
ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย(เพิ่มขึ้น)ลดลงสุทธิ 1,725,559 2,625,464
เพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ (1,725,559) (2,625,464)
ขาดทุนสุทธิสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม หลังการ
เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (108,045,756) (67,788,928)
ขาดทุนต่อหุ้นเพิ่มขึ้น(ลดลง) 0.00 0.00
2. ผลกระทบต่อเงินลงทุนในบริษัทย่อย และ ผลขาดทุนสะสม ในงบการเงินเฉพาะกิจการโดย ณ วันที่ 1มกราคม 2549 ปรับปรุงด้วยผลขาดทุน 5.54 ล้านบาท และ ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 ปรับปรุงด้วยผลขาดทุน 2.92 ล้านบาท โดยหลังการปรับปรุง เงินลงทุนในบริษัทย่อยจะเปลี่ยนแปลงตามราคาทุนเดิม คือ 9.3 ล้านบาท และมีผลขาดทุนสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2549 เป็น 412.17 ล้านบาท และ ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 ขาดทุนสะสม 479.97 ล้านบาท และยอด ขาดทุนสุทธิหลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชี
ซึ่งถูกปรับปรุงด้วยยอด 2.62 ล้านบาทในปี 2549 และ 1.72 ล้านบาทในปี 2550 เป็นดังนี้ คือขาดทุนสุทธิในปี 2549 67.78 ล้านบาท และ ปี2550 ขาดทุนสุทธิ 108.04 ล้านบาท
อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีของบริษัทดังกล่าว ไม่มีผลกระทบต่องบการเงินรวมของกลุ่มบริษัท
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
(นายชาตรี มหัทธนาดุลย์)
กรรมการ
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2551
เรื่อง ชี้แจงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
เรียน กรรมการผู้จัดการ
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัทฯ ขอชี้แจงถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชี เกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อยในงบการเงิน ตามที่สภาวิชาชีพบัญชีได้ประกาศปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 45 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทร่วม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 46 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง ส่วนได้เสียในการร่วมค้า กำหนดให้บริษัทใหญ่ที่มีการลงทุนในบริษัทย่อย ที่มีอำนาจควบคุมร่วม หรือบริษัทร่วมที่ไม่จัดจำแนกเป็นการลงทุนสำหรับ การถือเพื่อขาย บันทึกเงินลงทุนดังกล่าวตามวิธีราคาทุน หรือตามเกณฑ์การรับรู้และการวัดมูลค่าตราสารทางการเงิน(เมื่อมีการบังคับใช้) แทนวิธีส่วนได้เสียซึ่งใช้อยู่ในปัจจุบัน บริษัทได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับเงินลงทุนในบริษัทย่อย ในงบการเงินเฉพาะกิจการจากวิธีส่วนได้เสียเป็นวิธีราคาทุนตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2550 เพื่อให้เป็นไปตามประกาศของสภาฯดังกล่าว การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกล่าว บริษัทได้ปรับปรุงงบการเงินปีก่อนเสมือนว่าบริษัทได้บันทึกเงินลงทุนตามวิธีราคาทุนตามนโยบายการบัญชีใหม่มาโดยตลอด ดังนั้น ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีต่องบการเงินเฉพาะกิจการสำหรับงวด 2550 และ 2549 มีดังนี้
1.ทำให้งบการเงินเฉพาะกิจการ แสดงผลกำไร(ขาดทุน) และกำไร(ขาดทุน)สะสม และกำไร(ขาดทุน)สุทธิ ดังนี้
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2550 2549
(บาท)
เงินลงทุนในบริษัทย่อย
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม ก่อนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี 12,215,529 14,840,993
ขาดทุนสะสมเพิ่มขึ้น (2,915,529) (5,540,993)
เพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ (2,915,529) (5,540,993)
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม หลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี 9,300,000 9,300,000
ขาดทุนสะสม
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม ก่อนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (477,049,325) (406,634,933)
ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียเพิ่มขึ้นสุทธิ (2,915,529) (5,540,993)
เพิ่มขึ้นสุทธิ (2,915,529) (5,540,993)
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม หลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (479,964,854) (412,175,926)
ขาดทุนสุทธิ
ขาดทุนสุทธิสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ก่อนการเปลี่ยนแปลง
แปลงนโยบายการบัญชี (109,771,315) (70,414,392)
ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย(เพิ่มขึ้น)ลดลงสุทธิ 1,725,559 2,625,464
เพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ (1,725,559) (2,625,464)
ขาดทุนสุทธิสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม หลังการ
เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (108,045,756) (67,788,928)
ขาดทุนต่อหุ้นเพิ่มขึ้น(ลดลง) 0.00 0.00
2. ผลกระทบต่อเงินลงทุนในบริษัทย่อย และ ผลขาดทุนสะสม ในงบการเงินเฉพาะกิจการโดย ณ วันที่ 1มกราคม 2549 ปรับปรุงด้วยผลขาดทุน 5.54 ล้านบาท และ ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 ปรับปรุงด้วยผลขาดทุน 2.92 ล้านบาท โดยหลังการปรับปรุง เงินลงทุนในบริษัทย่อยจะเปลี่ยนแปลงตามราคาทุนเดิม คือ 9.3 ล้านบาท และมีผลขาดทุนสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2549 เป็น 412.17 ล้านบาท และ ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 ขาดทุนสะสม 479.97 ล้านบาท และยอด ขาดทุนสุทธิหลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชี
ซึ่งถูกปรับปรุงด้วยยอด 2.62 ล้านบาทในปี 2549 และ 1.72 ล้านบาทในปี 2550 เป็นดังนี้ คือขาดทุนสุทธิในปี 2549 67.78 ล้านบาท และ ปี2550 ขาดทุนสุทธิ 108.04 ล้านบาท
อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีของบริษัทดังกล่าว ไม่มีผลกระทบต่องบการเงินรวมของกลุ่มบริษัท
จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
(นายชาตรี มหัทธนาดุลย์)
กรรมการ
We are new KIDS.
We don' t SMOKE.
ร่วมรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่
We don' t SMOKE.
ร่วมรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่
-
- Verified User
- โพสต์: 999
- ผู้ติดตาม: 0
ข้อมูลSeahorse ที่ฟลอร์วันนี้ครับ (1.47 บาท)
โพสต์ที่ 4
ขายฝันหรือเปล่า ต้องตามดูกันต่อไป :shock:
ที่ SHC/SET/004/2551
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551
เรื่อง ชี้แจงเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดตั้งบริษัทย่อย และธุรกิจของบริษัท ซีฮอร์ส จำกัด(มหาชน)
เรียน กรรมการและผู้จัดการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
สืบเนื่องจากการรายงานเกี่ยวกับการที่บริษัท ซีฮอร์ส จำกัด(มหาชน) จะจัดตั้งบริษัทย่อย คือ บริษัท ซีฮอร์ส ฟู้ดส์ จำกัด นั้น ทางบริษัทฯ ขอเรียนชี้แจงเพิ่มเติมดังนี้
1.สาเหตุที่บริษัท ซีฮอร์ส จำกัด(มหาชน) จะจัดตั้งบริษัทย่อย คือ บริษัท ซีฮอร์ส ฟู้ดส์ จำกัด นั้น ก็เพื่อเป็นการจัดโครงสร้างธุรกิจภายในองค์กร ให้มีความชัดเจนมากขึ้น ซึ่งในขณะนี้ทางบริษัทฯ กำลังอยู่ในระหว่างการติดต่อกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดตั้งบริษัทย่อยและทางบริษัทฯ จะรายงานความคืบหน้าในการจัดตั้งบริษัทย่อยแห่งนี้ ต่อไป
2. บริษัท ซีฮอร์ส ฟู้ดส์ จำกัด จะดำเนินธุรกิจด้านอาหารทะเลทั้งหมด แทนที่ บริษัท ซีฮอร์ส จำกัด (มหาชน) ซึ่งจะมีการโอนถ่ายทรัพย์สิน, หนี้สิน, บุคคลากร, ซึ่งรวมถึงนโยบายและธุรกรรมต่างๆ ที่ทางบริษัท ซีฮอร์ส จำกัด(มหาชน) ได้ดำเนินการอยู่ทั้งหมด เกี่ยวกับธุรกิจอาหารทะเล มาไว้ที่
บริษัทย่อยแห่งนี้ บริษัท ซีฮอร์ส จำกัด(มหาชน) จะถือหุ้นในบริษัทย่อยแห่งนี้ 99.99% และในขณะนี้ ทางบริษัทฯ ยังไม่มีนโยบายใดๆ ในการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทย่อยแห่งนี้
3. บริษัท ซีฮอร์ส จำกัด(มหาชน) จะยังคงมีวัตถุประสงค์ที่จะประกอบธุรกิจด้านพลังงาน ซึ่งปัจจุบันได้เริ่มมีการปลูกมันสำปะหลังแล้ว เพื่อเป็นการเริ่มต้นในการดำเนินการทางด้านวัตถุดิบ ที่จะป้อนสู่โรงงานผลิตเอธานอล ซึ่งจะดำเนินการสร้างในอนาคตต่อไป อย่างไรก็ตาม ทางบริษัทฯ ยังไม่มี
ความคืบหน้าในการดำเนินการเกี่ยวกับการสร้างโรงงานเอธานอลในขณะนี้ และหากทางบริษัทฯ มีพัฒนาการเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจด้านพลังงาน ทางบริษัทฯ ก็จะเรียนให้ทราบต่อไป
ทางบริษัท ฯ จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
(นายชาตรี มหัทธนาดุลย์)
กรรมการ
ที่ SHC/SET/004/2551
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551
เรื่อง ชี้แจงเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดตั้งบริษัทย่อย และธุรกิจของบริษัท ซีฮอร์ส จำกัด(มหาชน)
เรียน กรรมการและผู้จัดการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
สืบเนื่องจากการรายงานเกี่ยวกับการที่บริษัท ซีฮอร์ส จำกัด(มหาชน) จะจัดตั้งบริษัทย่อย คือ บริษัท ซีฮอร์ส ฟู้ดส์ จำกัด นั้น ทางบริษัทฯ ขอเรียนชี้แจงเพิ่มเติมดังนี้
1.สาเหตุที่บริษัท ซีฮอร์ส จำกัด(มหาชน) จะจัดตั้งบริษัทย่อย คือ บริษัท ซีฮอร์ส ฟู้ดส์ จำกัด นั้น ก็เพื่อเป็นการจัดโครงสร้างธุรกิจภายในองค์กร ให้มีความชัดเจนมากขึ้น ซึ่งในขณะนี้ทางบริษัทฯ กำลังอยู่ในระหว่างการติดต่อกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดตั้งบริษัทย่อยและทางบริษัทฯ จะรายงานความคืบหน้าในการจัดตั้งบริษัทย่อยแห่งนี้ ต่อไป
2. บริษัท ซีฮอร์ส ฟู้ดส์ จำกัด จะดำเนินธุรกิจด้านอาหารทะเลทั้งหมด แทนที่ บริษัท ซีฮอร์ส จำกัด (มหาชน) ซึ่งจะมีการโอนถ่ายทรัพย์สิน, หนี้สิน, บุคคลากร, ซึ่งรวมถึงนโยบายและธุรกรรมต่างๆ ที่ทางบริษัท ซีฮอร์ส จำกัด(มหาชน) ได้ดำเนินการอยู่ทั้งหมด เกี่ยวกับธุรกิจอาหารทะเล มาไว้ที่
บริษัทย่อยแห่งนี้ บริษัท ซีฮอร์ส จำกัด(มหาชน) จะถือหุ้นในบริษัทย่อยแห่งนี้ 99.99% และในขณะนี้ ทางบริษัทฯ ยังไม่มีนโยบายใดๆ ในการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทย่อยแห่งนี้
3. บริษัท ซีฮอร์ส จำกัด(มหาชน) จะยังคงมีวัตถุประสงค์ที่จะประกอบธุรกิจด้านพลังงาน ซึ่งปัจจุบันได้เริ่มมีการปลูกมันสำปะหลังแล้ว เพื่อเป็นการเริ่มต้นในการดำเนินการทางด้านวัตถุดิบ ที่จะป้อนสู่โรงงานผลิตเอธานอล ซึ่งจะดำเนินการสร้างในอนาคตต่อไป อย่างไรก็ตาม ทางบริษัทฯ ยังไม่มี
ความคืบหน้าในการดำเนินการเกี่ยวกับการสร้างโรงงานเอธานอลในขณะนี้ และหากทางบริษัทฯ มีพัฒนาการเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจด้านพลังงาน ทางบริษัทฯ ก็จะเรียนให้ทราบต่อไป
ทางบริษัท ฯ จึงเรียนมาเพื่อทราบ
ขอแสดงความนับถือ
(นายชาตรี มหัทธนาดุลย์)
กรรมการ
We are new KIDS.
We don' t SMOKE.
ร่วมรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่
We don' t SMOKE.
ร่วมรณรงค์ต่อต้านการสูบบุหรี่
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 512
- ผู้ติดตาม: 0
ข้อมูลSeahorse ที่ฟลอร์วันนี้ครับ (1.47 บาท)
โพสต์ที่ 5
ผมกำลังสนใจตัวนี้เหมือนกันครับ ผมว่าเค้าก็จะเริ่มทำอะไรบ้างแล้วล่ะ ปีที่ผ่านมามีการกระจายหุ้นไปตาม port ต่างๆ นี่ก็ครบปีแล้ว หลุด silent period ประมาณ 2 ใน 3 ตามแผนงาน SH ต้องทำ PP 370 ล้านหุ้น ที่ราคา 3.40 บาท ก่อน แล้วขอกู้เงินจากแบงก์อีก 4,600 ล้าน เพื่อตั้งโรงงาน
ที่ผ่านมาไม่เคยมี Vol. เลย ส่วนตัวผมคิดว่าใกล้ๆนี้น่าจะมีการทำราคาเพื่อทำ PP กำลังติดตาม Vol. อยู่ครับ
ที่ผ่านมาไม่เคยมี Vol. เลย ส่วนตัวผมคิดว่าใกล้ๆนี้น่าจะมีการทำราคาเพื่อทำ PP กำลังติดตาม Vol. อยู่ครับ
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 512
- ผู้ติดตาม: 0
ข้อมูลSeahorse ที่ฟลอร์วันนี้ครับ (1.47 บาท)
โพสต์ที่ 8
ผมว่าพรุ่งนี้น่าจะแกว่งตัวนะครับ รู้สึกเจ้าของกำลังแจกไพ่อยู่
ยังงัยเค้าลงจากหลังเสือไม่ได้หรอก ถ้าไม่ได้ทำ PP แล้วขอกู้เงินจาก bank รอลุ้นก็แล้วกันครับ ผมว่าน่าจะ 3 เด้งนะ (อย่าลืมอ่านกระทู้ เราเตือน....คุณแล้วด้วยครับ)
ยังงัยเค้าลงจากหลังเสือไม่ได้หรอก ถ้าไม่ได้ทำ PP แล้วขอกู้เงินจาก bank รอลุ้นก็แล้วกันครับ ผมว่าน่าจะ 3 เด้งนะ (อย่าลืมอ่านกระทู้ เราเตือน....คุณแล้วด้วยครับ)
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 512
- ผู้ติดตาม: 0
ข้อมูลSeahorse ที่ฟลอร์วันนี้ครับ (1.47 บาท)
โพสต์ที่ 9
บิ๊ก SH ยันโครงการเอทานอลไม่ล้ม แม้ราคาวัตถุดิบบั่นทอน ระบุสรุปแผนสร้าง รง.ได้ปีนี้
นายสมโภชน์ อาหุนัย ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฎิบัติการ(การลงทุน) บริษัท ซีฮอร์ส
จำกัด(มหาชน) หรือ SH เปิดเผยว่า ตามแผนที่บริษัทฯ จะหันมาดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับเอทานอ
ลนั้น เชื่อว่าบริษัทจะยังคงดำเนินธุรกิจดังกล่าวได้อย่างแน่นอน แม้ราคาวัตถุดิบ คือ มันสำปะหลัง
จะปรับตัวขึ้นมาค่อนข้างสูง โดยราคาล่าสุดอยู่ที่ระดับ 2.50-2.70 บาทต่อกิโลกรัม จากราคาช่วง
ต้นปี 2549 อยู่ที่ 1.30-1.50 บาทต่อกิโลกรัม
สำหรับแผนการสร้างโรงงานผลิตเอทานอลนั้น ขณะนี้อยู่ระหว่างการเจรจากับพันธมิตร
หลายราย แต่เชื่อว่าน่าจะได้พันธมิตรจากประเทศจีน จากเดิมที่ได้ยกเลิกการเป็นพันธมิตรจาก
ไชน่าไลท์ ที่คิดค่าเครื่องจักรประมาณ 3,000 ล้านบาท แต่เชื่อว่าพันธมิตรรายใหม่น่าจะได้
ราคาที่ถูกกว่า ทั้งนี้โรงงานผลิตเอทานอลคงไม่ได้เห็นในปีนี้เพราะต้องใช้เวลาในการสร้าง
ประมาณ 1 ปี แต่น่าจะสรุปแผนได้ทันในปีนี้อย่างแน่นอน
อย่างไรก็ตามขณะนี้บริษัทรอเพียงการย้ายไลเซ่นส์มาอยู่ในบริษัท ซีฮอร์ส จำกัด
(มหาชน) จากก่อนหน้านี้ทาง BOI ได้มีการอนุมัติมาแล้ว
'ตอนนี้อุปสรรคของบริษัทฯ คือ ราคาวัตถุดิบที่ปรับตัวขึ้นมาค่อนข้างสูง ซึ่งหากบริษัท
จะทำธุรกิจพลังงานต้องดูว่าบริษัทและผู้ถือหุ้นได้รับผลประโยชน์มากน้อยเพียงใด บริษัทต้องมี
การทบทวนอย่างจริงจัง ซึ่งบริษัทต้องมีการทบทวนภาพรวมทั้งอุตสาหกรรมและแนวทางที่บริษัท
จะเดินต่อไป'นายสมโภชน์กล่าว
ปัจจุบันบริษัทมีที่ดินอยู่ประมาณ 6,000 ไร่ ซึ่งได้ใช้ปลูกมันสัมปะหลังไปแล้ว 3,000
ไร่ นอกจากนี้ยังได้มีการเซ็นสัญญากับทาง สปก.อีก 5 แสนไร่เพื่อปลูกมันสัมปะหลัง ดังนั้นเชื่อว่า
จะเพียงพอหากบริษัทจะดำเนินธุรกิจเอทานอล
ที่มา อีไฟแนนซ์ไทย วันที่ 22/04/08 เวลา 17:35:11
นายสมโภชน์ อาหุนัย ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฎิบัติการ(การลงทุน) บริษัท ซีฮอร์ส
จำกัด(มหาชน) หรือ SH เปิดเผยว่า ตามแผนที่บริษัทฯ จะหันมาดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับเอทานอ
ลนั้น เชื่อว่าบริษัทจะยังคงดำเนินธุรกิจดังกล่าวได้อย่างแน่นอน แม้ราคาวัตถุดิบ คือ มันสำปะหลัง
จะปรับตัวขึ้นมาค่อนข้างสูง โดยราคาล่าสุดอยู่ที่ระดับ 2.50-2.70 บาทต่อกิโลกรัม จากราคาช่วง
ต้นปี 2549 อยู่ที่ 1.30-1.50 บาทต่อกิโลกรัม
สำหรับแผนการสร้างโรงงานผลิตเอทานอลนั้น ขณะนี้อยู่ระหว่างการเจรจากับพันธมิตร
หลายราย แต่เชื่อว่าน่าจะได้พันธมิตรจากประเทศจีน จากเดิมที่ได้ยกเลิกการเป็นพันธมิตรจาก
ไชน่าไลท์ ที่คิดค่าเครื่องจักรประมาณ 3,000 ล้านบาท แต่เชื่อว่าพันธมิตรรายใหม่น่าจะได้
ราคาที่ถูกกว่า ทั้งนี้โรงงานผลิตเอทานอลคงไม่ได้เห็นในปีนี้เพราะต้องใช้เวลาในการสร้าง
ประมาณ 1 ปี แต่น่าจะสรุปแผนได้ทันในปีนี้อย่างแน่นอน
อย่างไรก็ตามขณะนี้บริษัทรอเพียงการย้ายไลเซ่นส์มาอยู่ในบริษัท ซีฮอร์ส จำกัด
(มหาชน) จากก่อนหน้านี้ทาง BOI ได้มีการอนุมัติมาแล้ว
'ตอนนี้อุปสรรคของบริษัทฯ คือ ราคาวัตถุดิบที่ปรับตัวขึ้นมาค่อนข้างสูง ซึ่งหากบริษัท
จะทำธุรกิจพลังงานต้องดูว่าบริษัทและผู้ถือหุ้นได้รับผลประโยชน์มากน้อยเพียงใด บริษัทต้องมี
การทบทวนอย่างจริงจัง ซึ่งบริษัทต้องมีการทบทวนภาพรวมทั้งอุตสาหกรรมและแนวทางที่บริษัท
จะเดินต่อไป'นายสมโภชน์กล่าว
ปัจจุบันบริษัทมีที่ดินอยู่ประมาณ 6,000 ไร่ ซึ่งได้ใช้ปลูกมันสัมปะหลังไปแล้ว 3,000
ไร่ นอกจากนี้ยังได้มีการเซ็นสัญญากับทาง สปก.อีก 5 แสนไร่เพื่อปลูกมันสัมปะหลัง ดังนั้นเชื่อว่า
จะเพียงพอหากบริษัทจะดำเนินธุรกิจเอทานอล
ที่มา อีไฟแนนซ์ไทย วันที่ 22/04/08 เวลา 17:35:11