มีใครถือ BCP-DR1 ตั้งแต่ต้นปีบ้างครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 18364
- ผู้ติดตาม: 1
มีใครถือ BCP-DR1 ตั้งแต่ต้นปีบ้างครับ
โพสต์ที่ 4
ส่งศาลภาษีตีความอย่างเดียวครับ
เนื่องจาก
BCP ให้ปันผล บริษัทลูกบริษัทหนึ่ง เพื่อจ่ายให้ BCP-DR1
แล้วบริษัทนี้จึงเอาปันผลก้อนที่ BCP จ่ายให้อีกต่อหนึ่ง
หากจริงๆๆแล้ว คุณต้องได้อัตราภาษีของบริษัทลูกที่จ่ายให้
แต่กรมสรรพากร เลี่ยงบาลี ไปตีความอีกอย่างหนึ่ง ครับ
อันนี้ถามจากการไปอบรมเกี่ยวกับเรื่องภาษีกับบริษัท SCSMG ที่จัดเหมือนกลางปี
ถ้าเอากันจริงๆ ไปหาอ่านในประมวลรัษฏากร ได้ครับ
ว่าถ้าไล่ที่มาที่ไปแล้ว ใครผิดระหว่างบริษัทกับกรมสรรพากร
ข้อหารือของกรมสรรพากรถือว่าไม่เป็นที่สิ้นสุดในทางกฏหมาย
ถือว่าเป็นแนวทางปฏิบัติแต่ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ทางด้านภาษีเท่านั้น
(ชี้โพร่งให้กระรอกแล้วน่าครับ)
ต้องให้ศาลตัดสินครับ
แต่ใครกล้าที่ไปฟ้องในเรื่องนี้ครับ
เพราะคนเดียวหัวหาย สองคนเพื่อนตาย สามคนผ่านฉลุย
เนื่องจาก
BCP ให้ปันผล บริษัทลูกบริษัทหนึ่ง เพื่อจ่ายให้ BCP-DR1
แล้วบริษัทนี้จึงเอาปันผลก้อนที่ BCP จ่ายให้อีกต่อหนึ่ง
หากจริงๆๆแล้ว คุณต้องได้อัตราภาษีของบริษัทลูกที่จ่ายให้
แต่กรมสรรพากร เลี่ยงบาลี ไปตีความอีกอย่างหนึ่ง ครับ
อันนี้ถามจากการไปอบรมเกี่ยวกับเรื่องภาษีกับบริษัท SCSMG ที่จัดเหมือนกลางปี
ถ้าเอากันจริงๆ ไปหาอ่านในประมวลรัษฏากร ได้ครับ
ว่าถ้าไล่ที่มาที่ไปแล้ว ใครผิดระหว่างบริษัทกับกรมสรรพากร
ข้อหารือของกรมสรรพากรถือว่าไม่เป็นที่สิ้นสุดในทางกฏหมาย
ถือว่าเป็นแนวทางปฏิบัติแต่ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ทางด้านภาษีเท่านั้น
(ชี้โพร่งให้กระรอกแล้วน่าครับ)
ต้องให้ศาลตัดสินครับ
แต่ใครกล้าที่ไปฟ้องในเรื่องนี้ครับ
เพราะคนเดียวหัวหาย สองคนเพื่อนตาย สามคนผ่านฉลุย
-
- Verified User
- โพสต์: 18364
- ผู้ติดตาม: 1
มีใครถือ BCP-DR1 ตั้งแต่ต้นปีบ้างครับ
โพสต์ที่ 7
http://www.listedcompany.com/ir/bangcha ... ent=faq_th
ผู้ถือ BCP-DR1 จะได้รับเงินปันผลที่บริษัทฯประกาศจ่ายด้วยหรือไม่และสามารถนำไปเครดิตภาษีได้หรือไม่
คำตอบ ผู้ถือ BCP-DR1 จะได้รับเงินปันผลที่บริษัทฯประกาศจ่ายผ่าน บ. สยามดีอาร์ ในอัตราเดียวกัน ถือเป็นเงินปันผล ดังนั้นจึงไม่สามารถนำไปเครดิตภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาได้ แต่ก็ได้รับสิทธิไม่ต้องนำไปรวมคำนวณภาษี โดยภาษีขั้นต่ำที่อัตราร้อยละ 10 หัก ไว้ ณ ที่จ่าย
BCP -> บริษัทสยามดีอาร์ -> นักลงทุน
ไม่สามารถนำไปคิดภาษีได้
ไม่ต้องนำมารวมในการคิดภาษี หาก หัก ณ ที่จ่าย 10%
ต้องถามกรมสรรพากรต่อครับว่า
ในกรณีนี้ทำไมคิดเครดิตภาษีไม่ได้เนื่องจาก
นักลงทุนได้รับเงินจากปันผลจากบริษัท สยามดีอาร์ ไม่ใช่ BCP เป็นคนจ่าย
แต่นักลงทุนต้องไปหา รายละเอียดการอนุมัติการจ่ายปันผลของบริษัท สยามดีอาร์แทนในการส่งภาษี
ไม่ชัดเจนในการตอบ เนื่องจาก
ประมวลรัษฏากรเป็นกฏหมายหลัก
กฏกระทรวง
ประกาศกรม
เป็นตัวรองลงมา
แล้วไม่มี ประเด็นดังกล่าวในการเป็นบรรทัดฐาน
หากเป็นข้อหารือก็เป็นเพียงแค่หลักปฏิบัติของเจ้าหน้าหรือข้าราชการเท่านั้น
ผู้ถือ BCP-DR1 จะได้รับเงินปันผลที่บริษัทฯประกาศจ่ายด้วยหรือไม่และสามารถนำไปเครดิตภาษีได้หรือไม่
คำตอบ ผู้ถือ BCP-DR1 จะได้รับเงินปันผลที่บริษัทฯประกาศจ่ายผ่าน บ. สยามดีอาร์ ในอัตราเดียวกัน ถือเป็นเงินปันผล ดังนั้นจึงไม่สามารถนำไปเครดิตภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาได้ แต่ก็ได้รับสิทธิไม่ต้องนำไปรวมคำนวณภาษี โดยภาษีขั้นต่ำที่อัตราร้อยละ 10 หัก ไว้ ณ ที่จ่าย
BCP -> บริษัทสยามดีอาร์ -> นักลงทุน
ไม่สามารถนำไปคิดภาษีได้
ไม่ต้องนำมารวมในการคิดภาษี หาก หัก ณ ที่จ่าย 10%
ต้องถามกรมสรรพากรต่อครับว่า
ในกรณีนี้ทำไมคิดเครดิตภาษีไม่ได้เนื่องจาก
นักลงทุนได้รับเงินจากปันผลจากบริษัท สยามดีอาร์ ไม่ใช่ BCP เป็นคนจ่าย
แต่นักลงทุนต้องไปหา รายละเอียดการอนุมัติการจ่ายปันผลของบริษัท สยามดีอาร์แทนในการส่งภาษี
ไม่ชัดเจนในการตอบ เนื่องจาก
ประมวลรัษฏากรเป็นกฏหมายหลัก
กฏกระทรวง
ประกาศกรม
เป็นตัวรองลงมา
แล้วไม่มี ประเด็นดังกล่าวในการเป็นบรรทัดฐาน
หากเป็นข้อหารือก็เป็นเพียงแค่หลักปฏิบัติของเจ้าหน้าหรือข้าราชการเท่านั้น
-
- Verified User
- โพสต์: 1230
- ผู้ติดตาม: 0
มีใครถือ BCP-DR1 ตั้งแต่ต้นปีบ้างครับ
โพสต์ที่ 9
ผมขอ share idea ดังนี้
บริษัทสยามดีอาร์ ถือเป็นนิติบุคคลไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เมื่อจ่ายเงินปันผลให้เรา เราจึงไม่สามารถเครดิตภาษีได้
อย่างไรก็ดีเงินปันผลที่บริษัทสยามดีอาร์ได้รับจาก BCP น่าจะสามารถนำมาเครดิตภาษีได้ แต่ขณะเดียวกันก็ต้องจ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคลที่อัตรา 30% (??) จึงอนุโลมให้เจ๊ากันไป เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการ
(ปล. สรรพากรคิดถึงประโยชน์ของรัฐเป็นหลัก ยกตัวอย่าง เงินที่นิติบุคคลอาคารชุดเรียกเก็บจากเจ้าของห้องชุด เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายส่วนกลาง ยังให้ถือเป็นรายได้ ต้องเสียภาษีอีกทอดหนึ่ง เป็นต้น....ต่อมามีการต่อสู้ในทางคดีความหลายยก ซึ่งปัจจุบันผมไม่ทราบครับว่าจบอย่างไร)
บริษัทสยามดีอาร์ ถือเป็นนิติบุคคลไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เมื่อจ่ายเงินปันผลให้เรา เราจึงไม่สามารถเครดิตภาษีได้
อย่างไรก็ดีเงินปันผลที่บริษัทสยามดีอาร์ได้รับจาก BCP น่าจะสามารถนำมาเครดิตภาษีได้ แต่ขณะเดียวกันก็ต้องจ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคลที่อัตรา 30% (??) จึงอนุโลมให้เจ๊ากันไป เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการ
(ปล. สรรพากรคิดถึงประโยชน์ของรัฐเป็นหลัก ยกตัวอย่าง เงินที่นิติบุคคลอาคารชุดเรียกเก็บจากเจ้าของห้องชุด เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายส่วนกลาง ยังให้ถือเป็นรายได้ ต้องเสียภาษีอีกทอดหนึ่ง เป็นต้น....ต่อมามีการต่อสู้ในทางคดีความหลายยก ซึ่งปัจจุบันผมไม่ทราบครับว่าจบอย่างไร)
-
- Verified User
- โพสต์: 18364
- ผู้ติดตาม: 1
มีใครถือ BCP-DR1 ตั้งแต่ต้นปีบ้างครับ
โพสต์ที่ 10
ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดแต่ขอเครดิตภาษีได้นี่น่าครับ
เพราะ กรมสรรพากรมองว่า บริษัทมีกำไรหักจากหักภาษีแล้ว ตามเกณฑ์ที่บริษัทได้จ่าย จึงเอากำไรนั้นมาปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท
ผู้ถือหุ้น ก็เอากำไรมาเป็นรายได้ ทำให้เกิดภาษีซับซ้อนขึ้น
คือบริษัทจ่ายไปแล้ว ผู้ถือหุ้นก็จ่ายอีก จึงให้คิดเครดิตภาษีขึ้น
ไม่เฉพาะแก่บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เท่านั้น
บริษัทธรรมดาก็สามารถขอได้ แต่ต้องหาบันทึกการประชุมที่มีมติจ่ายปันผล แนบให้กับกรมสรรพากรตอนยื่นภาษี
อันนี้สังเกตเห็นชัดเจนในตอนยื่นแบบครับ
กรณีที่มีปัญหาตามประเด็นของผมที่บอกไว้คือ
BCP-DR1 เป็นอนุพันธ์ชนิดหนึ่งที่จ่ายปันผล
ไม่เข้าข่ายประมวลรัษฏากร ที่มาบังคับใช้
แต่ BCP ดันไปทำให้ซับซ้อนคือ ตั้งบริษัทสยามดีอาร์ มารับปันผลที่เกิดขึ้น แล้วให้ บริษัทดังกล่าวจ่ายปันผลที่ได้รับ BCP ให้แก่ผู้ถือ BCP-DR1
ถ้ามองดูแล้ว มันเหมือนกับว่า BCP จงใจที่ไม่จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นโดยตรง
ซึ่งจุดนี้ ไปไล่กันเอาเองล่ะกัน
แต่ผมชี้ประเด็นว่า ในเมื่อ มันจ่ายมาจาก บริษัทสยามดีอาร์ ก็ต้องไปหาบันทึกที่บอกว่า บริษัทสยามดีอาร์จ่ายปันผลเท่าไร ยื่นให้กับกรมสรรพากรครับ
ประเด็นมันซ้อนประเด็นอยู่ครับ มองให้ออกว่ากลมันคืออะไรครับ
ประเด็นนี้มันเป็นข้อถกเถียงตั้งแต่ผู้ถือ BCP-DR1,ตัว BCP เองก็ไม่เคลียร์ ,ผู้ที่มีความรู้ ที่พวกเราไปปรึกษา (บริษัทปรึกษาทางด้านภาษี) ก็ให้ความกระจ่างในเรื่องนี้ไม่ได้ ตัวกรมสรรพากรเองก็ไม่มีหลักยึด มีแต่ข้อปรึกษาเท่านั้น เลยทำให้เกิดแบบนี้ขึ้น
เนี่ยเป็นตัวอ้างที่บอกว่า เมืองไทยชอบเลี่ยงบาลี
เพราะ กรมสรรพากรมองว่า บริษัทมีกำไรหักจากหักภาษีแล้ว ตามเกณฑ์ที่บริษัทได้จ่าย จึงเอากำไรนั้นมาปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท
ผู้ถือหุ้น ก็เอากำไรมาเป็นรายได้ ทำให้เกิดภาษีซับซ้อนขึ้น
คือบริษัทจ่ายไปแล้ว ผู้ถือหุ้นก็จ่ายอีก จึงให้คิดเครดิตภาษีขึ้น
ไม่เฉพาะแก่บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เท่านั้น
บริษัทธรรมดาก็สามารถขอได้ แต่ต้องหาบันทึกการประชุมที่มีมติจ่ายปันผล แนบให้กับกรมสรรพากรตอนยื่นภาษี
อันนี้สังเกตเห็นชัดเจนในตอนยื่นแบบครับ
กรณีที่มีปัญหาตามประเด็นของผมที่บอกไว้คือ
BCP-DR1 เป็นอนุพันธ์ชนิดหนึ่งที่จ่ายปันผล
ไม่เข้าข่ายประมวลรัษฏากร ที่มาบังคับใช้
แต่ BCP ดันไปทำให้ซับซ้อนคือ ตั้งบริษัทสยามดีอาร์ มารับปันผลที่เกิดขึ้น แล้วให้ บริษัทดังกล่าวจ่ายปันผลที่ได้รับ BCP ให้แก่ผู้ถือ BCP-DR1
ถ้ามองดูแล้ว มันเหมือนกับว่า BCP จงใจที่ไม่จ่ายให้กับผู้ถือหุ้นโดยตรง
ซึ่งจุดนี้ ไปไล่กันเอาเองล่ะกัน
แต่ผมชี้ประเด็นว่า ในเมื่อ มันจ่ายมาจาก บริษัทสยามดีอาร์ ก็ต้องไปหาบันทึกที่บอกว่า บริษัทสยามดีอาร์จ่ายปันผลเท่าไร ยื่นให้กับกรมสรรพากรครับ
ประเด็นมันซ้อนประเด็นอยู่ครับ มองให้ออกว่ากลมันคืออะไรครับ
ประเด็นนี้มันเป็นข้อถกเถียงตั้งแต่ผู้ถือ BCP-DR1,ตัว BCP เองก็ไม่เคลียร์ ,ผู้ที่มีความรู้ ที่พวกเราไปปรึกษา (บริษัทปรึกษาทางด้านภาษี) ก็ให้ความกระจ่างในเรื่องนี้ไม่ได้ ตัวกรมสรรพากรเองก็ไม่มีหลักยึด มีแต่ข้อปรึกษาเท่านั้น เลยทำให้เกิดแบบนี้ขึ้น
เนี่ยเป็นตัวอ้างที่บอกว่า เมืองไทยชอบเลี่ยงบาลี
-
- Verified User
- โพสต์: 1230
- ผู้ติดตาม: 0
มีใครถือ BCP-DR1 ตั้งแต่ต้นปีบ้างครับ
โพสต์ที่ 11
กาละมัง เขียน: บริษัทสยามดีอาร์ ถือเป็นนิติบุคคลไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เมื่อจ่ายเงินปันผลให้เรา เราจึงไม่สามารถเครดิตภาษีได้
ถูกต้องตามความเห็นคุณ miracle......ขอบคุณที่ช่วยแก้ให้ครับmiracle เขียน: ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดแต่ขอเครดิตภาษีได้นี่น่าครับ
- abscisic
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 180
- ผู้ติดตาม: 0
มีใครถือ BCP-DR1 ตั้งแต่ต้นปีบ้างครับ
โพสต์ที่ 13
ก็คือ เครดิตภาษีไม่ได้ครับ ถ้าฐานภาษีสูงกว่า 10% ก็ไม่ควรยื่น4704074 เขียน:แล้วยังไงนี่
ต้องกรอกเป็นอย่างไรครับ
ขอสรุปๆหน่อยนะครับ
จะได้ทำตามกันหมด เพื่อสรรพากรจะได้ออกเป็นกฏหมายให้สักเลย(เหมือนptt )
- abscisic
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 180
- ผู้ติดตาม: 0
มีใครถือ BCP-DR1 ตั้งแต่ต้นปีบ้างครับ
โพสต์ที่ 15
พี่สงสัยแบบผมเลยครับ4704074 เขียน:ถ้าเกิดจะยื่นต้องไปรวมกับช่องไหน
-ดอกเบี้ย
-เงินปันผล
ชักจะงงแล้วครับ
ในใบรับรองเงินปันผล มันเขียนว่า"เงินเทียบเท่าเงินปันผลตามมาตรา 40(4)(ก)"
40(4)(ก) มันคือดอกเบี้ยหนิครับ เล่นผมงง เหมือนกัน
ใครรู้รบกวนตอบทีครับ
- abscisic
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 180
- ผู้ติดตาม: 0
มีใครถือ BCP-DR1 ตั้งแต่ต้นปีบ้างครับ
โพสต์ที่ 17
ไม่เหมือนครับ ถ้าลงชองดอกเบี้ย พี่ต้องไปเอาดอกเบี้ยที่พี่ได้รับทั้งหมดมาลงรวมคำนวน เป็นรายได้ของเราด้วย ยาวเลยครับ4704074 เขียน:ถ้ายังงั้น ก็แสดงว่าไม่มีเครดิตภาษีแล้ว
จะยื่นช่องดอกเบี้ย หรือ เงินปันผลก็ได้ยอดรายได้เท่ากันเหมือนๆกันทั้งนั้น