CASE บริจาคของ BAY
-
- Verified User
- โพสต์: 18364
- ผู้ติดตาม: 1
CASE บริจาคของ BAY
โพสต์ที่ 1
การบริจาคหุ้นสามัญ บริษัท ศรีเทพไทยพลาสเคม จำกัด ("ศรีเทพไทย") ของบริษัท บริหารสินทรัพย์กรุงศรีอยุธยา
จำกัด ("AAMC") ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของธนาคาร ซึ่งธนาคารถือหุ้นร้อยละ 99.99 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมด โดยมี
รายละเอียด ดังนี้
-2-
วันที่ทำรายการ : จะเข้าทำรายการภายในเดือนธันวาคม 2552
คู่สัญญาที่เกี่ยวข้อง : ผู้โอน: บริษัท บริหารสินทรัพย์กรุงศรีอยุธยา จำกัด
ผู้รับโอน: กองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด
(มหาชน) ซึ่งจดทะเบียนแล้ว
สินทรัพย์ที่ทำรายการ : หุ้นสามัญ บริษัท ศรีเทพไทยพลาสเคม จำกัด
ประเภทกิจการ : ธุรกิจผลิตเม็ดพลาสติก
ทุนจดทะเบียนและเรียกชำระ : 83,332 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ จำนวน 83,332 หุ้น
มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1.00 บาท
ลักษณะการทำรายการ : AAMC โอนบริจาคหุ้นสามัญของบริษัท ศรีเทพไทยพลาสเคม จำกัด
จำนวน 16,592 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 19.91 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้
แล้วทั้งหมดของบริษัทฯ ให้กับกองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงาน
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ซึ่งจดทะเบียนแล้ว
วัตถุประสงค์ : ลดสัดส่วนการลงทุนตามข้อกำหนดของธนาคารแห่งประเทศไทย
สัดส่วนการถือหุ้นก่อนทำรายการ : 19.91%
สัดส่วนการถือหุ้นหลังทำรายการ : 0.00%
ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป : (หน่วย : ล้านบาท)
ของบริษัทฯ
ณ 31 ธ.ค. 2551
สินทรัพย์รวม 139.46
หนี้สินรวม 1,947.53
ส่วนของผู้ถือหุ้น (1,808.07)
มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (บาท) (21,697.17)
ม.ค. - ธ.ค. 2551
รายได้รวม 0.43
ค่าใช้จ่ายรวม 345.13
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (344.70)
กำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น (บาท) (3,970.34)
ขนาดของรายการ : ไม่ใช่รายการที่เกี่ยวโยงกันและขนาดของรายการไม่เข้าข่ายที่จะ
ต้องรายงานสารสนเทศตามหลักเกณฑ์การได้มาและจําหน่ายไป
ซึ่งสินทรัพย์
--------------------------------------------------------------------------------
ที่แปลกคือ AAMC บริจาคให้กองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด
CASE นี้แน่แปลกใจคือ บริษัทติดลบมหาศาล เอาออกจาก SVP
โดยบริษัทนี้ถ้าอยู่ในตลาดหลักทรัพย์คือต้องฟื้นฟูกิจการ
คำถามคือ กองทุนตัวนี้ถือนาน รอจนบริษัท
1. จดเลิกกิจการ
2. ฟื้นคืนชีวาจากหลุม (ไม่รู้กี่ปี)
3. เป็นแบบนี้ไปเรื่อย
แบบนี้พนักงานของธนาคาร BAY น่าไปกองทุนสำรองเลี้ยงชีวิตว่า รับโอนมาคุ้มค่าหรือไม่ ที่ต้องนั่งปวดหัวกับสิ่งที่โอนมา แม้มันมีต้องทุนเป็น 0 ก็ตาม
นานเจอ CASE แปลกๆๆ
จำกัด ("AAMC") ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของธนาคาร ซึ่งธนาคารถือหุ้นร้อยละ 99.99 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมด โดยมี
รายละเอียด ดังนี้
-2-
วันที่ทำรายการ : จะเข้าทำรายการภายในเดือนธันวาคม 2552
คู่สัญญาที่เกี่ยวข้อง : ผู้โอน: บริษัท บริหารสินทรัพย์กรุงศรีอยุธยา จำกัด
ผู้รับโอน: กองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด
(มหาชน) ซึ่งจดทะเบียนแล้ว
สินทรัพย์ที่ทำรายการ : หุ้นสามัญ บริษัท ศรีเทพไทยพลาสเคม จำกัด
ประเภทกิจการ : ธุรกิจผลิตเม็ดพลาสติก
ทุนจดทะเบียนและเรียกชำระ : 83,332 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญ จำนวน 83,332 หุ้น
มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1.00 บาท
ลักษณะการทำรายการ : AAMC โอนบริจาคหุ้นสามัญของบริษัท ศรีเทพไทยพลาสเคม จำกัด
จำนวน 16,592 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 19.91 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้
แล้วทั้งหมดของบริษัทฯ ให้กับกองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงาน
ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ซึ่งจดทะเบียนแล้ว
วัตถุประสงค์ : ลดสัดส่วนการลงทุนตามข้อกำหนดของธนาคารแห่งประเทศไทย
สัดส่วนการถือหุ้นก่อนทำรายการ : 19.91%
สัดส่วนการถือหุ้นหลังทำรายการ : 0.00%
ข้อมูลทางการเงินโดยสรุป : (หน่วย : ล้านบาท)
ของบริษัทฯ
ณ 31 ธ.ค. 2551
สินทรัพย์รวม 139.46
หนี้สินรวม 1,947.53
ส่วนของผู้ถือหุ้น (1,808.07)
มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (บาท) (21,697.17)
ม.ค. - ธ.ค. 2551
รายได้รวม 0.43
ค่าใช้จ่ายรวม 345.13
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ (344.70)
กำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น (บาท) (3,970.34)
ขนาดของรายการ : ไม่ใช่รายการที่เกี่ยวโยงกันและขนาดของรายการไม่เข้าข่ายที่จะ
ต้องรายงานสารสนเทศตามหลักเกณฑ์การได้มาและจําหน่ายไป
ซึ่งสินทรัพย์
--------------------------------------------------------------------------------
ที่แปลกคือ AAMC บริจาคให้กองทุนสำรองเลี้ยงชีพพนักงานธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด
CASE นี้แน่แปลกใจคือ บริษัทติดลบมหาศาล เอาออกจาก SVP
โดยบริษัทนี้ถ้าอยู่ในตลาดหลักทรัพย์คือต้องฟื้นฟูกิจการ
คำถามคือ กองทุนตัวนี้ถือนาน รอจนบริษัท
1. จดเลิกกิจการ
2. ฟื้นคืนชีวาจากหลุม (ไม่รู้กี่ปี)
3. เป็นแบบนี้ไปเรื่อย
แบบนี้พนักงานของธนาคาร BAY น่าไปกองทุนสำรองเลี้ยงชีวิตว่า รับโอนมาคุ้มค่าหรือไม่ ที่ต้องนั่งปวดหัวกับสิ่งที่โอนมา แม้มันมีต้องทุนเป็น 0 ก็ตาม
นานเจอ CASE แปลกๆๆ
-
- Verified User
- โพสต์: 18364
- ผู้ติดตาม: 1
CASE บริจาคของ BAY
โพสต์ที่ 3
มันไม่มีหนี้สินครับanakinnet เขียน:เอ.. งงเหมือนกัน พี่ mi
แล้วงี้หนี้สินใครต้องจ่ายอ่ะครับ เจ้าของใหม่ต้องเป็นคนรับผิดชอบหรือเปล่าครับ
มีแต่หุ้นบริษัทที่ขาดทุน
มีส่วนของผู้ถือหุ้นติดลบเมื่อปี 2551จำนวน -1,808.07ล้านบาท
บริษัทนี้มีหนี้สิน 1,947.53 ล้านบาท
มีสินทรัพย์ 139.46 ล้านบาท
มูลค่าบัญชีติดลบ 21,697.17 บาท
ปัญหาคือ บริษัทนี้เข้าข่ายล้มละลาย และนำสู่กระบวนการฟื้นฟู
ซึ่ง AAMC ก็เป็นบริษัทที่สามารถเข้าบริหารแผนกิจการและฟื้นฟูกิจการได้
แต่ไม่ทำ แล้วโอนหุ้นบริษัทแบบนี้ให้แก่กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
เนี่ยคือสิ่งที่ผมชี้ให้เห็นว่า มันเอาบริษัทแบบนี้ให้ฟรีๆ ต้นทุนเป็น 0
ถ้าบริหารกลับมาก็เป็นทอง แต่ถ้าเน่าต่อก็ไปเละเทะที่กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เพราะ ตั้งต้นเป็น 0 ไม่มีต้นทุน แต่ตอนไปเมื่อเข้าไปจัดการต้องมีต้นทุนค่าจัดการเกิดขึ้น เป็นภาระแก่กองทุนสำรองฯ
ประเด็นถัดมา
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ นี้สามารถฟื้นฟูกิจการที่มีปัญหาได้หรือไม่
พวกกิจการที่ต้องดำเนินตามแผนฟื้นฟูกิจการ หรือ ฟ้องล้มละลายแก่กิจการ
ประเด็นนี้ตั้งแต่ผมศึกษาเรื่องของพวกตราสารทางการเงินเป็นต้นมา
ไม่มี CASE แบบนี้เกิดขึ้น เพราะ การฟื้นฟูกิจการ คนที่สามารถเข้าฟื้นฟูกิจการหรือทำแผนได้ น่าจะมีใบอนุญาตจาก ธนาคารแห่งประเทศไทยด้วย
CASE นี้ใครเป็นพนักงานใน BAY ช่วยสืบต่อด้วยก็ีดี
-
- Verified User
- โพสต์: 18364
- ผู้ติดตาม: 1
CASE บริจาคของ BAY
โพสต์ที่ 4
ผมเห็นอะไรแปลกๆๆคือ
"ลดสัดส่วนการลงทุนตามข้อกำหนดของธนาคารแห่งประเทศไทย"
แสดงว่า มีเหตุผลอันหนึ่งที่ตอนนี้นึกออกคือ
BAY ถือ AAMC 99.9%
แล้ว AAMC ถือหุ้น บริษัทที่โอนออกให้กองทุนสำรอง 19.9%
ตอน BAY รวมงบ คิดผลประกอบการ AAMC แบบบริษัทลูกคือมีอะไรก็คิดหมด
แต่ AAMC คิดผลประกอบของบริษัทที่โอนออก 19.9%
--------------------------------------------------------------------------------------
สมมุติฐาน
ซึ่งหากบริษัทนี้ขาดทุนเท่ากับปีที่แล้วคือ (334.70*19.9)/100 คือ 68.8 ล้านบาท
นั้นคือ BAY ก็โดนไปด้วยจำนวน 68.8 ล้านบาท
--------------------------------------------------------------------------------------
ซึ่งถ้าโอนออกให้กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
กองทุนก็เป็นผู้รับไปแทน
BAY และ AAMC ไม่ต้องรับกำไร/ขาดทุนจากบริษัทนี้
ถ้าจำกันได้ว่า
CASE ของดูไบ เวิร์ดที่พักชำระหนี้
มีรายชื่อของธนาคารไหนบ้างล่ะ
"ลดสัดส่วนการลงทุนตามข้อกำหนดของธนาคารแห่งประเทศไทย"
แสดงว่า มีเหตุผลอันหนึ่งที่ตอนนี้นึกออกคือ
BAY ถือ AAMC 99.9%
แล้ว AAMC ถือหุ้น บริษัทที่โอนออกให้กองทุนสำรอง 19.9%
ตอน BAY รวมงบ คิดผลประกอบการ AAMC แบบบริษัทลูกคือมีอะไรก็คิดหมด
แต่ AAMC คิดผลประกอบของบริษัทที่โอนออก 19.9%
--------------------------------------------------------------------------------------
สมมุติฐาน
ซึ่งหากบริษัทนี้ขาดทุนเท่ากับปีที่แล้วคือ (334.70*19.9)/100 คือ 68.8 ล้านบาท
นั้นคือ BAY ก็โดนไปด้วยจำนวน 68.8 ล้านบาท
--------------------------------------------------------------------------------------
ซึ่งถ้าโอนออกให้กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
กองทุนก็เป็นผู้รับไปแทน
BAY และ AAMC ไม่ต้องรับกำไร/ขาดทุนจากบริษัทนี้
ถ้าจำกันได้ว่า
CASE ของดูไบ เวิร์ดที่พักชำระหนี้
มีรายชื่อของธนาคารไหนบ้างล่ะ