อ่านบทความ เครดิตภาษีเงินปันผล ผลประโยชน์ที่ถูกมองข้าม
- suthepj
- Verified User
- โพสต์: 125
- ผู้ติดตาม: 0
อ่านบทความ เครดิตภาษีเงินปันผล ผลประโยชน์ที่ถูกมองข้าม
โพสต์ที่ 2
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 1011
- ผู้ติดตาม: 0
อ่านบทความ เครดิตภาษีเงินปันผล ผลประโยชน์ที่ถูกมองข้าม
โพสต์ที่ 3
ขอบคุณครับสำหรับคำติชมครับ คุณมดง่าม
ผมเขียนดู เผื่อจะเป็นจะโยชน์กับชาว VI บ้าง
ความจริงแล้ว ผมส่งขอภาษีคืนไปจำนวนหนึ่ง
ทางกรมสรรพกรบอกว่าผมคำณวนผิด ให้คืนมาอีกจนผมตกใจ
ต้องลองศึกษาใหม่ รู้สึกว่า ชาว VI อาจจะมองข้ามจุดนี้ไป
ผมได้รับ e-mail เป็นจำนวนหนึ่ง ซึ่งก็ทำให้มีกำลังใจขึ้นอีกครับ
ถ้าท่านผู้รู้ทั้งหลาย อยากจะแบ่งปันความรู้ก็เชิญเลยครับ
หลายคนเขียนมาถามว่า ทำไมต้้องเป็น 3/7 ด้วย
ตัวช่วยของผมก็เลยตัดข้อความข้างล่างนี้มาให้ครับ
-----------------------------------------------------------------
มาตรา 47 ทวิ ให้ผู้มีเงินได้ตามมาตรา 40 (4)(ข) ซึ่งได้รับจากบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยได้รับเครดิตในการคำนวณภาษี โดยให้นำอัตราภาษีเงินได้ที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้น ต้องเสียหารด้วยผลต่างของหนึ่งร้อยลบด้วยอัตราภาษีเงินได้ดังกล่าวนั้น ได้ผลลัพธ์เท่าใดให้คูณด้วยจำนวนเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรที่ได้รับ ผลลัพธ์ที่ได้เป็นเครดิตในการคำนวณภาษี ในกรณีที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลผู้จ่ายเงินได้ประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีเงินได้หลายอัตรา ผู้จ่ายเงินได้ต้องระบุในหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ให้ชัดเจนว่าเงินได้ที่จ่ายนั้นจำนวนใดได้มาจากกิจการที่ต้องเสียภาษีเงินได้ในอัตราใด
( พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 32) พ.ศ. 2540 ใช้บังคับปีภาษี 2540 เป็นต้นไป )
( ดูประกาศอธิบดีฯ เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 62) )
( ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.119/2545 )
( ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.122/2545 )
เครดิตภาษีที่คำนวณได้ตามความในวรรคหนึ่ง ให้นำมารวมคำนวณเป็นเงินได้พึงประเมินเพื่อเสียภาษีเงินได้ตามเกณฑ์ในมาตรา 48 เป็นเงินภาษีทั้งสิ้นเท่าใด ให้นำเครดิตภาษีที่คำนวณได้ดังกล่าวหักออกจากภาษีที่ต้องเสีย ถ้ายังขาดหรือเหลือเท่าใดให้ผู้มีเงินได้เสียภาษีสำหรับจำนวนที่ขาด หรือมีสิทธิได้รับเงินจำนวนที่เหลือนั้นคืน
ความในวรรคหนึ่งและวรรคสองมิให้ใช้บังคับแก่ผู้มีเงินได้ซึ่งมิได้มีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศไทย และมิได้เป็นผู้อยู่ในประเทศไทย
( พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 16) พ.ศ. 2534 ใช้บังคับปีภาษี 2535 เป็นต้นไป )
ในกรณีที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลผู้จ่ายเงินได้แสดงข้อความที่กำหนดให้ต้องระบุในหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามวรรคหนึ่งไม่ถูกต้อง อันเป็นเหตุให้เครดิตภาษีที่คำนวณได้มีจำนวนเกินกว่าที่ผู้มีเงินได้พึงได้รับ ให้ผู้จ่ายเงินได้รับผิดร่วมกับผู้มีเงินได้เท่ากับจำนวนเงินที่ได้รับคืนเกินไป หรือที่ชำระไว้ไม่ครบ และถ้าผู้จ่ายเงินได้หรือผู้มีเงินได้ไม่ชำระเงินดังกล่าวภายในเจ็ดวันนับแต่ได้รับหนังสือแจ้งจากพนักงานประเมิน ให้ถือว่าเงินจำนวนที่เรียกให้ชำระเป็นภาษีอากรค้าง ในกรณีที่เจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบพบว่าเครดิตภาษีที่คำนวณได้มีจำนวนน้อยกว่าที่ผู้มีเงินได้พึงได้รับ ให้แจ้งผู้มีเงินได้ทราบถึงสิทธิที่จะได้รับเงินที่เหลือนั้นคืนตามกฎหมาย
( พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 32) พ.ศ. 2540 ใช้บังคับปีภาษี 2540 เป็นต้นไป )
( ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.119/2545 )
( ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.120/2545 )
( ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.122/2545 )
---------------------------------------------------------------------------------
อาจจะอ่านยากแล้วเข้าใจยากสักนิดนะครับภาษีกฎหมาย ผมยังไม่ค่อยเข้าใจเลย เอาเป็นว่า
สูตรเป็นอย่างนี้ครับ = tax rate / (100 - tax rate).
ถ้าเสีย 30% = 30/(100-30) = 30/70 = 3/7
ถ้าเสีย 20% = 20/(100-20) = 20/80 = 1/4
ถ้าเสีย 10% = 10/(100-10) = 10/90 = 1/9
PTTEP50% = 50/(100-50) = 50/50 = 1
ขอขอบคุณ คุณ suthepj ด้วยที่ส่ง link มาให้พวกเรา
เพราะหลายท่านถามผมมาเหมือนกันว่าจะเช็คได้ที่ไหนครับ
ผมเขียนดู เผื่อจะเป็นจะโยชน์กับชาว VI บ้าง
ความจริงแล้ว ผมส่งขอภาษีคืนไปจำนวนหนึ่ง
ทางกรมสรรพกรบอกว่าผมคำณวนผิด ให้คืนมาอีกจนผมตกใจ
ต้องลองศึกษาใหม่ รู้สึกว่า ชาว VI อาจจะมองข้ามจุดนี้ไป
ผมได้รับ e-mail เป็นจำนวนหนึ่ง ซึ่งก็ทำให้มีกำลังใจขึ้นอีกครับ
ถ้าท่านผู้รู้ทั้งหลาย อยากจะแบ่งปันความรู้ก็เชิญเลยครับ
หลายคนเขียนมาถามว่า ทำไมต้้องเป็น 3/7 ด้วย
ตัวช่วยของผมก็เลยตัดข้อความข้างล่างนี้มาให้ครับ
-----------------------------------------------------------------
มาตรา 47 ทวิ ให้ผู้มีเงินได้ตามมาตรา 40 (4)(ข) ซึ่งได้รับจากบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยได้รับเครดิตในการคำนวณภาษี โดยให้นำอัตราภาษีเงินได้ที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้น ต้องเสียหารด้วยผลต่างของหนึ่งร้อยลบด้วยอัตราภาษีเงินได้ดังกล่าวนั้น ได้ผลลัพธ์เท่าใดให้คูณด้วยจำนวนเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรที่ได้รับ ผลลัพธ์ที่ได้เป็นเครดิตในการคำนวณภาษี ในกรณีที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลผู้จ่ายเงินได้ประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีเงินได้หลายอัตรา ผู้จ่ายเงินได้ต้องระบุในหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ให้ชัดเจนว่าเงินได้ที่จ่ายนั้นจำนวนใดได้มาจากกิจการที่ต้องเสียภาษีเงินได้ในอัตราใด
( พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 32) พ.ศ. 2540 ใช้บังคับปีภาษี 2540 เป็นต้นไป )
( ดูประกาศอธิบดีฯ เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 62) )
( ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.119/2545 )
( ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.122/2545 )
เครดิตภาษีที่คำนวณได้ตามความในวรรคหนึ่ง ให้นำมารวมคำนวณเป็นเงินได้พึงประเมินเพื่อเสียภาษีเงินได้ตามเกณฑ์ในมาตรา 48 เป็นเงินภาษีทั้งสิ้นเท่าใด ให้นำเครดิตภาษีที่คำนวณได้ดังกล่าวหักออกจากภาษีที่ต้องเสีย ถ้ายังขาดหรือเหลือเท่าใดให้ผู้มีเงินได้เสียภาษีสำหรับจำนวนที่ขาด หรือมีสิทธิได้รับเงินจำนวนที่เหลือนั้นคืน
ความในวรรคหนึ่งและวรรคสองมิให้ใช้บังคับแก่ผู้มีเงินได้ซึ่งมิได้มีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศไทย และมิได้เป็นผู้อยู่ในประเทศไทย
( พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 16) พ.ศ. 2534 ใช้บังคับปีภาษี 2535 เป็นต้นไป )
ในกรณีที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลผู้จ่ายเงินได้แสดงข้อความที่กำหนดให้ต้องระบุในหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามวรรคหนึ่งไม่ถูกต้อง อันเป็นเหตุให้เครดิตภาษีที่คำนวณได้มีจำนวนเกินกว่าที่ผู้มีเงินได้พึงได้รับ ให้ผู้จ่ายเงินได้รับผิดร่วมกับผู้มีเงินได้เท่ากับจำนวนเงินที่ได้รับคืนเกินไป หรือที่ชำระไว้ไม่ครบ และถ้าผู้จ่ายเงินได้หรือผู้มีเงินได้ไม่ชำระเงินดังกล่าวภายในเจ็ดวันนับแต่ได้รับหนังสือแจ้งจากพนักงานประเมิน ให้ถือว่าเงินจำนวนที่เรียกให้ชำระเป็นภาษีอากรค้าง ในกรณีที่เจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบพบว่าเครดิตภาษีที่คำนวณได้มีจำนวนน้อยกว่าที่ผู้มีเงินได้พึงได้รับ ให้แจ้งผู้มีเงินได้ทราบถึงสิทธิที่จะได้รับเงินที่เหลือนั้นคืนตามกฎหมาย
( พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 32) พ.ศ. 2540 ใช้บังคับปีภาษี 2540 เป็นต้นไป )
( ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.119/2545 )
( ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.120/2545 )
( ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.122/2545 )
---------------------------------------------------------------------------------
อาจจะอ่านยากแล้วเข้าใจยากสักนิดนะครับภาษีกฎหมาย ผมยังไม่ค่อยเข้าใจเลย เอาเป็นว่า
สูตรเป็นอย่างนี้ครับ = tax rate / (100 - tax rate).
ถ้าเสีย 30% = 30/(100-30) = 30/70 = 3/7
ถ้าเสีย 20% = 20/(100-20) = 20/80 = 1/4
ถ้าเสีย 10% = 10/(100-10) = 10/90 = 1/9
PTTEP50% = 50/(100-50) = 50/50 = 1
ขอขอบคุณ คุณ suthepj ด้วยที่ส่ง link มาให้พวกเรา
เพราะหลายท่านถามผมมาเหมือนกันว่าจะเช็คได้ที่ไหนครับ
-
- ผู้ติดตาม: 0
อ่านบทความ เครดิตภาษีเงินปันผล ผลประโยชน์ที่ถูกมองข้าม
โพสต์ที่ 4
ผมเองเคยถามหลายคนที่ได้คืนภาษีแต่คำตอบไม่กระจ่างครับ กรณีที่ผมรับเงินปันผลปีนี้ ปีหน้าผมก้ต้องขอคืนได้แล้วสิ ใช่ไหมครับ
ผมได้สิทธิเข้าอบรมเสาร์นี้ด้วยครับ
ผมได้สิทธิเข้าอบรมเสาร์นี้ด้วยครับ
- มดง่าม
- Verified User
- โพสต์: 584
- ผู้ติดตาม: 0
อ่านบทความ เครดิตภาษีเงินปันผล ผลประโยชน์ที่ถูกมองข้าม
โพสต์ที่ 5
ลืมล็อคอินครับAnonymous เขียน: ผมเองเคยถามหลายคนที่ได้คืนภาษีแต่คำตอบไม่กระจ่างครับ กรณีที่ผมรับเงินปันผลปีนี้ ปีหน้าผมก้ต้องขอคืนได้แล้วสิ ใช่ไหมครับ
ผมได้สิทธิเข้าอบรมเสาร์นี้ด้วยครับ
เหงาให้ตาย ถ้าไม่ใช่เธอ(หุ้นดี) ไม่เอา
ขอให้โชคดีในการลงทุนครับ
ขอให้โชคดีในการลงทุนครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 2509
- ผู้ติดตาม: 1
อ่านบทความ เครดิตภาษีเงินปันผล ผลประโยชน์ที่ถูกมองข้าม
โพสต์ที่ 7
จากกระทู้นั้นเอง ผมรวบรวมข้อมูลทั้งหมดเป็น ไฟล์ Excel แต่ไม่รู้จะกระจายให้เพื่อนๆยังไงครับsuthepj เขียน:ท่าน FE เคยเปิดประเด็นที่นี่ก็ดีครับ
http://www.taladhoon.com/taladhoon/yabb ... 58;start=0
จริงๆ ยังอยากให้ช่วยกันเพิ่มเติมเข้ามาอีก ยิ่งถ้าได้ครบทุกตัวเลยยิ่งดี
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 1011
- ผู้ติดตาม: 0
อ่านบทความ เครดิตภาษีเงินปันผล ผลประโยชน์ที่ถูกมองข้าม
โพสต์ที่ 8
คุณมดง่ามเข้าใจถูกต้องแล้วครับ
ภาษีที่ได้รับปีนี้ ได้รับคืนปีหน้าครับ
คุณ genie และ คุณ CK ครับ
ไม่ทราบว่า ตั้งกระทู้หนึ่งในโครงการทดลองซักอันเรื่องอัตราภาษีที่ บมจ. จ่ายสักอันดีไหมครับ ไว้ที่ ร้อยคนร้อยหุ้นก็ได้ เพราะมีการสอบถามมาพอสมควร คุณ Financial Engineer รวบรวมไว้แล้วยิ่งดีใหญ่เลย คราวหลังใครต้องการทราบจะไว้แวะเข้าไปดูได้เลย
เรียนคุณ Financial Engineer อาจจะลองส่งไปให้คุณ CK หรือคุณ Genie ช่วยนะจะดีนะครับ
ภาษีที่ได้รับปีนี้ ได้รับคืนปีหน้าครับ
คุณ genie และ คุณ CK ครับ
ไม่ทราบว่า ตั้งกระทู้หนึ่งในโครงการทดลองซักอันเรื่องอัตราภาษีที่ บมจ. จ่ายสักอันดีไหมครับ ไว้ที่ ร้อยคนร้อยหุ้นก็ได้ เพราะมีการสอบถามมาพอสมควร คุณ Financial Engineer รวบรวมไว้แล้วยิ่งดีใหญ่เลย คราวหลังใครต้องการทราบจะไว้แวะเข้าไปดูได้เลย
เรียนคุณ Financial Engineer อาจจะลองส่งไปให้คุณ CK หรือคุณ Genie ช่วยนะจะดีนะครับ