เครดิตภาษีเงินปันผล
- vichit
- Verified User
- โพสต์: 15833
- ผู้ติดตาม: 0
เครดิตภาษีเงินปันผล
โพสต์ที่ 1
นางสาวขาหมูได้รับเงินปันผลจากหุ้นที่ถืออยู่ราคา 10 บาท จำนวน 1000 หุ้น ได้ปันผลมาหุ้นละ 0.15 บาท ขณะที่ฐานรายได้ของนางสาวขาหมูอยู่ที่ 500000 บาทต่อปี นางสาวขาหมูควรจะใช้วิธีใดเพื่อเสียภาษีเงินได้ให้น้อยที่สุด และเงินปันผลที่ได้หลังหักภาษีเท่ากับเท่าไหร่
(เฉลย) หากบริษัทที่นางสาวขาหมูได้รับปันผลมาไม่มีเครดิตภาษี ก็ไม่ต้องนำไปคำนวณภาษีปลายปี แค่หัก ณ ที่จ่าย 10% พอคะ
แต่หากบริษัทมีเครดิตภาษีก็ควรนำไปคำนวณภาษีปลายปีด้วย เพื่อลดหย่อนหรือได้คืนเงินภาษีคะ
กรณีได้รับเงินปันผลจากบริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย
ภาษี ณ ที่จ่าย : ถูกหักในอัตรา ร้อยละ 10
ภาษีสิ้นปี : สามารถเลือกดำเนินการได้ 2 วิธี
1.นำเงินปันผลที่ได้รับทั้งสิ้นในปีนั้นมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีรวมกับเงินได้ประเภทอื่น ซึ่งจะได้รับเครดิตภาษีเงินปันผล
2. ไม่นำเงินปันผลที่ได้รับทั้งสิ้นในปีนั้นมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีตอนสิ้นปี โดยกรณีนี้ถือว่าผู้ลงทุนยอมเสียภาษีสำหรับเงินปันผลในอัตราร้อยละ 10 = อัตราภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ดังนั้น เงินปันผลหลังหักภาษี 10% = (1000 x 0.15)-10% = 135 บาท
หาเครดิตภาษี หากบริษัทมีเครดิตภาษีร้อยละดังนี้
0% = 0
10% = (150*10)/90 = 16.67
20% = (150*20)/80 = 37.5
30% = (150*30)/70 = 64.29
40% = (150*40)/60 = 100
50% = (150*50)/50 = 150
สามารถโหลดโปรแกรมคำนวณเครดิตภาษีได้ที่นี่คะ
http://www.set.in.th/excel/xd/
จากคุณ : ขาหมู (Ooh 1234)
เขียนเมื่อ : 19 ส.ค. 53 07:28:36
ต่อไป รวมเงินได้ในปีภาษี คือ เงินได้ + เงินปันผล + เครดิตภาษีเงินปันผล = 500000+150+เครดิตภาษี
0% = 500000+150 = 500150
10% = 500000+150+16.67 = 500166.67
20% = 500000+150+37.5 = 500187.5
30% = 500000+150+64.29 = 500214.29
40% = 500000+150+100 = 500250
50% = 500000+150+150 = 500300
ต่อไป (ยาวเหลือเกิน -_-)
นำรายได้ทั้งปีไปคำนวณภาษีบุคคลธรรมดา โสด จะได้จำนวนเงินที่ต้องเสียภาษี ดังนี้
0% = 26015.0
10% = 26016.67
20% = 26018.75
30% = 26021.43
40% = 26025.0
50% = 26030.0
ต่อไปอีก -_- นำเงินภาษีที่ต้องจ่ายมาหักภาษีเงินปันผลหัก ณ ที่จ่าย 10% หัก เครดิตภาษีเงินปันผล
ได้เงินภาษีที่ต้องจ่ายจริง ดังนี้
0% = 26015.0-15-0 = 26000.0
10% = 26016.67-15-16.67 = 25985.0
20% = 26018.75-15-37.5 = 25966.25
30% = 26021.43-15-64.29 = 25942.14
40% = 26025.0-15-100 = 25910.0
50% = 26030.0-15-150 = 25865.0
ดังนั้นเฉลยว่า หากบริษัทที่นางสาวขาหมูได้รับปันผลมาไม่มีเครดิตภาษี ก็ไม่ต้องนำไปคำนวณภาษีปลายปี แค่หัก ณ ที่จ่าย 10% พอคะ
แต่หากบริษัทมีเครดิตภาษีก็ควรนำไปคำนวณภาษีปลายปีด้วย เพื่อลดหย่อนหรือได้คืนเงินภาษีคะ
จากคุณ : ขาหมู (Ooh 1234)
http://www.pantip.com/cafe/sinthorn/top ... 94947.html
(เฉลย) หากบริษัทที่นางสาวขาหมูได้รับปันผลมาไม่มีเครดิตภาษี ก็ไม่ต้องนำไปคำนวณภาษีปลายปี แค่หัก ณ ที่จ่าย 10% พอคะ
แต่หากบริษัทมีเครดิตภาษีก็ควรนำไปคำนวณภาษีปลายปีด้วย เพื่อลดหย่อนหรือได้คืนเงินภาษีคะ
กรณีได้รับเงินปันผลจากบริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย
ภาษี ณ ที่จ่าย : ถูกหักในอัตรา ร้อยละ 10
ภาษีสิ้นปี : สามารถเลือกดำเนินการได้ 2 วิธี
1.นำเงินปันผลที่ได้รับทั้งสิ้นในปีนั้นมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีรวมกับเงินได้ประเภทอื่น ซึ่งจะได้รับเครดิตภาษีเงินปันผล
2. ไม่นำเงินปันผลที่ได้รับทั้งสิ้นในปีนั้นมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีตอนสิ้นปี โดยกรณีนี้ถือว่าผู้ลงทุนยอมเสียภาษีสำหรับเงินปันผลในอัตราร้อยละ 10 = อัตราภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ดังนั้น เงินปันผลหลังหักภาษี 10% = (1000 x 0.15)-10% = 135 บาท
หาเครดิตภาษี หากบริษัทมีเครดิตภาษีร้อยละดังนี้
0% = 0
10% = (150*10)/90 = 16.67
20% = (150*20)/80 = 37.5
30% = (150*30)/70 = 64.29
40% = (150*40)/60 = 100
50% = (150*50)/50 = 150
สามารถโหลดโปรแกรมคำนวณเครดิตภาษีได้ที่นี่คะ
http://www.set.in.th/excel/xd/
จากคุณ : ขาหมู (Ooh 1234)
เขียนเมื่อ : 19 ส.ค. 53 07:28:36
ต่อไป รวมเงินได้ในปีภาษี คือ เงินได้ + เงินปันผล + เครดิตภาษีเงินปันผล = 500000+150+เครดิตภาษี
0% = 500000+150 = 500150
10% = 500000+150+16.67 = 500166.67
20% = 500000+150+37.5 = 500187.5
30% = 500000+150+64.29 = 500214.29
40% = 500000+150+100 = 500250
50% = 500000+150+150 = 500300
ต่อไป (ยาวเหลือเกิน -_-)
นำรายได้ทั้งปีไปคำนวณภาษีบุคคลธรรมดา โสด จะได้จำนวนเงินที่ต้องเสียภาษี ดังนี้
0% = 26015.0
10% = 26016.67
20% = 26018.75
30% = 26021.43
40% = 26025.0
50% = 26030.0
ต่อไปอีก -_- นำเงินภาษีที่ต้องจ่ายมาหักภาษีเงินปันผลหัก ณ ที่จ่าย 10% หัก เครดิตภาษีเงินปันผล
ได้เงินภาษีที่ต้องจ่ายจริง ดังนี้
0% = 26015.0-15-0 = 26000.0
10% = 26016.67-15-16.67 = 25985.0
20% = 26018.75-15-37.5 = 25966.25
30% = 26021.43-15-64.29 = 25942.14
40% = 26025.0-15-100 = 25910.0
50% = 26030.0-15-150 = 25865.0
ดังนั้นเฉลยว่า หากบริษัทที่นางสาวขาหมูได้รับปันผลมาไม่มีเครดิตภาษี ก็ไม่ต้องนำไปคำนวณภาษีปลายปี แค่หัก ณ ที่จ่าย 10% พอคะ
แต่หากบริษัทมีเครดิตภาษีก็ควรนำไปคำนวณภาษีปลายปีด้วย เพื่อลดหย่อนหรือได้คืนเงินภาษีคะ
จากคุณ : ขาหมู (Ooh 1234)
http://www.pantip.com/cafe/sinthorn/top ... 94947.html
- jek ae
- Verified User
- โพสต์: 899
- ผู้ติดตาม: 1
เครดิตภาษีเงินปันผล
โพสต์ที่ 2
มีคำถามเพิ่มเติมครับ
เดิมที นส.ขาหมูมีรายได้ประจำจากการประกอบวิชาชีพอิสระ และเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภงด.94 มาตลอดซึ่งหักค่าใช้จ่ายได้ร้อยละ60 โดยชำระภาษีเป็นรายครึ่งปี เนื่องจากปีนี้ นส.ขาหมูมีรายได้จากเงินปันผลเป็นปีแรก เงินปันผลสามารถนำมาขอเครดิตภาษีได้ อยากถามว่าการยื่นขอเครดิตภาษีตอนต้นปีของนส.ขาหมูจะต้องมีขั้นตอนอย่างไรครับ เพราะเท่าที่ทราบการขอเครดิตภาษีจะยื่นผ่านภงด.90 ส่วนรายได้ประจำจะเสียภาษีผ่านภงด.94
เดิมที นส.ขาหมูมีรายได้ประจำจากการประกอบวิชาชีพอิสระ และเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภงด.94 มาตลอดซึ่งหักค่าใช้จ่ายได้ร้อยละ60 โดยชำระภาษีเป็นรายครึ่งปี เนื่องจากปีนี้ นส.ขาหมูมีรายได้จากเงินปันผลเป็นปีแรก เงินปันผลสามารถนำมาขอเครดิตภาษีได้ อยากถามว่าการยื่นขอเครดิตภาษีตอนต้นปีของนส.ขาหมูจะต้องมีขั้นตอนอย่างไรครับ เพราะเท่าที่ทราบการขอเครดิตภาษีจะยื่นผ่านภงด.90 ส่วนรายได้ประจำจะเสียภาษีผ่านภงด.94
-
- Verified User
- โพสต์: 36
- ผู้ติดตาม: 0
เครดิตภาษีเงินปันผล
โพสต์ที่ 5
ขอสอบถามเพิ่มเติมครับ
กรณี ที่มีการจ่ายปันผลและเงินปันผลนั้นไม่หักภาษี ณ ที่จ่าย ตัวอย่างเช่น หุ้น PTL จ่ายปันผลมา และไม่มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย
กรณี อย่างนี้ ต้องนำเงินปันผลที่ได้รับมารวมเป็นรายได้เพื่อยื่นภาษี ถูกต้องหรือไม่ครับ
กรณี ที่มีการจ่ายปันผลและเงินปันผลนั้นไม่หักภาษี ณ ที่จ่าย ตัวอย่างเช่น หุ้น PTL จ่ายปันผลมา และไม่มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย
กรณี อย่างนี้ ต้องนำเงินปันผลที่ได้รับมารวมเป็นรายได้เพื่อยื่นภาษี ถูกต้องหรือไม่ครับ
- simplelife
- Verified User
- โพสต์: 756
- ผู้ติดตาม: 0
เครดิตภาษีเงินปันผล
โพสต์ที่ 7
[quote="bk"]ขอสอบถามเพิ่มเติมครับ
กรณี ที่มีการจ่ายปันผลและเงินปันผลนั้นไม่หักภาษี ณ ที่จ่าย ตัวอย่างเช่น หุ้น PTL จ่ายปันผลมา และไม่มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย
กรณี ที่มีการจ่ายปันผลและเงินปันผลนั้นไม่หักภาษี ณ ที่จ่าย ตัวอย่างเช่น หุ้น PTL จ่ายปันผลมา และไม่มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย
"I believe what I said yesterday. I don't know what I said, but I know what I think... and I assume it's what I said." -- Donald Rumsfeld
- simplelife
- Verified User
- โพสต์: 756
- ผู้ติดตาม: 0
เครดิตภาษีเงินปันผล
โพสต์ที่ 8
[quote="tinfoil"]สอบถามเพิ่มเติมครับ
"I believe what I said yesterday. I don't know what I said, but I know what I think... and I assume it's what I said." -- Donald Rumsfeld
-
- Verified User
- โพสต์: 36
- ผู้ติดตาม: 0
เครดิตภาษีเงินปันผล
โพสต์ที่ 9
bk wrote:
ขอสอบถามเพิ่มเติมครับ
กรณี ที่มีการจ่ายปันผลและเงินปันผลนั้นไม่หักภาษี ณ ที่จ่าย ตัวอย่างเช่น หุ้น PTL จ่ายปันผลมา และไม่มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย
กรณี อย่างนี้ ต้องนำเงินปันผลที่ได้รับมารวมเป็นรายได้เพื่อยื่นภาษี ถูกต้องหรือไม่ครับ
ถ้าได้ปันผลจากหุ้นหลายตัว จะยื่นปันผลก็ต้องเอามารวมทุกตัวครับ แต่เราเลือกไม่รวมเลยก็ได้ครับ ลองคำนวณทั้งสองแบบแล้วดูว่าเป็นยังไง
ถ้ากรณี PTL เข้าใจว่าได้ BOI ดังนั้นตอนยื่นก็ให้กรอกลงไปในช่องยกเว้นภาษีครับ แต่ต้องคำนวณดีๆ เพราะถ้าเราเสียภาษีฐาน 10% แปลว่า PTL จ่ายมาเท่าไร คุณก็ต้องจ่ายภาษี (ควักกระเป๋า) 10% ของเงินปันผลครับ แต่ลองคำนวณดูดีๆ อาจจะได้เครดิตจากตัวอื่นมาแล้วคุ้มที่จะยื่นก็ได้ครับ
ขอบคุณ คุณ simplelife
ขอสอบถามเพิ่มเติมครับ
กรณี ที่มีการจ่ายปันผลและเงินปันผลนั้นไม่หักภาษี ณ ที่จ่าย ตัวอย่างเช่น หุ้น PTL จ่ายปันผลมา และไม่มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย
กรณี อย่างนี้ ต้องนำเงินปันผลที่ได้รับมารวมเป็นรายได้เพื่อยื่นภาษี ถูกต้องหรือไม่ครับ
ถ้าได้ปันผลจากหุ้นหลายตัว จะยื่นปันผลก็ต้องเอามารวมทุกตัวครับ แต่เราเลือกไม่รวมเลยก็ได้ครับ ลองคำนวณทั้งสองแบบแล้วดูว่าเป็นยังไง
ถ้ากรณี PTL เข้าใจว่าได้ BOI ดังนั้นตอนยื่นก็ให้กรอกลงไปในช่องยกเว้นภาษีครับ แต่ต้องคำนวณดีๆ เพราะถ้าเราเสียภาษีฐาน 10% แปลว่า PTL จ่ายมาเท่าไร คุณก็ต้องจ่ายภาษี (ควักกระเป๋า) 10% ของเงินปันผลครับ แต่ลองคำนวณดูดีๆ อาจจะได้เครดิตจากตัวอื่นมาแล้วคุ้มที่จะยื่นก็ได้ครับ
ขอบคุณ คุณ simplelife