ยุโรปออม 5 อเมริกา 0.3 ญี่ปุ่น 11 แล้วคนไทยละครับ
- โอ@
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4246
- ผู้ติดตาม: 0
ยุโรปออม 5 อเมริกา 0.3 ญี่ปุ่น 11 แล้วคนไทยละครับ
โพสต์ที่ 1
ไปอ่านเจอในพันทิพเลยอยากจะรู้ว่าคนไทยนี่ออมกันร้อยละเท่าไหร่หรอครับโดยเฉลี่ย
แล้วก็อยากรู้ช่วงเกิดวิกฤตบัตรเครดิตของเกาหลีใต้ครับว่าตอนนั้นเกิดอะไรขึ้นบ้าง แล้วทำให้เกิดอะไรขึ้น ปัญหาตามๆมาคืออะไร
กลัวว่าไทยจะใช้กันจนเป็นเหมือนเกาหลีใต้แหละครับ
แล้วก็อยากรู้ช่วงเกิดวิกฤตบัตรเครดิตของเกาหลีใต้ครับว่าตอนนั้นเกิดอะไรขึ้นบ้าง แล้วทำให้เกิดอะไรขึ้น ปัญหาตามๆมาคืออะไร
กลัวว่าไทยจะใช้กันจนเป็นเหมือนเกาหลีใต้แหละครับ
_________
- วัวแดง
- Verified User
- โพสต์: 1429
- ผู้ติดตาม: 0
ยุโรปออม 5 อเมริกา 0.3 ญี่ปุ่น 11 แล้วคนไทยละครับ
โพสต์ที่ 4
คนไทยรายได้ต่อหัวน้อยครับ
ถ้าจะให้ออมคงน้อย
ส่วนมากถนัดสร้างหนี้ครับ
ถ้ามีเงินซื้อหวย
ถ้าจะให้ออมคงน้อย
ส่วนมากถนัดสร้างหนี้ครับ
ถ้ามีเงินซื้อหวย
ถ้าผมคิดเหมือนคนทั่วๆไป ผลตอบแทนผมก็เหมือนคนทั่วๆไป
ใจผมคงละลาย ถ้าผมคิดตามคนอื่น
ผู้ชนะไม่แน่ว่าจะต้องเป็นคนที่วิ่งเร็วที่สุด...แต่เป็นผู้ที่อดทนที่สุดต่างหาก
ใจผมคงละลาย ถ้าผมคิดตามคนอื่น
ผู้ชนะไม่แน่ว่าจะต้องเป็นคนที่วิ่งเร็วที่สุด...แต่เป็นผู้ที่อดทนที่สุดต่างหาก
- มือเก่าหัดขับ
- Verified User
- โพสต์: 1112
- ผู้ติดตาม: 0
ยุโรปออม 5 อเมริกา 0.3 ญี่ปุ่น 11 แล้วคนไทยละครับ
โพสต์ที่ 5
ใช่แล้วครับ
ลูกน้องผมแต่ละคน (ที่เป็นลูกน้องงานส่วนตัว ที่บริษัทก็เป็น แต่น้อยกว่า) ชอบก่อหนี้กันมาก
ผมต้องคอยเตือน คอยดูตลอด ก็เชื่อบ้าง ไม่เชื่อบ้าง ผมเองมีรายได้มากกว่าหลายสิบเท่า แต่
ใช้โทรศัพท์มือถืออายุ 3 ปี (เก่ากว่านั้นมันพังหมด) แต่ลูกน้องใช้รุ่นใหม่ๆ ตลอด (เปลี่ยนไป
เรื่อยๆ ตลอด - กลายเป็นทาสเทคโนโลยีไปแล้ว)
มันใจว่าการออมนั้นน้อยมาก เพราะมันเป็นที่นิสัยครับ เป็นที่คนจริงๆ ที่ฝึกนิสัยตัวเองมาอย่างไร
ลูกน้องผมแต่ละคน (ที่เป็นลูกน้องงานส่วนตัว ที่บริษัทก็เป็น แต่น้อยกว่า) ชอบก่อหนี้กันมาก
ผมต้องคอยเตือน คอยดูตลอด ก็เชื่อบ้าง ไม่เชื่อบ้าง ผมเองมีรายได้มากกว่าหลายสิบเท่า แต่
ใช้โทรศัพท์มือถืออายุ 3 ปี (เก่ากว่านั้นมันพังหมด) แต่ลูกน้องใช้รุ่นใหม่ๆ ตลอด (เปลี่ยนไป
เรื่อยๆ ตลอด - กลายเป็นทาสเทคโนโลยีไปแล้ว)
มันใจว่าการออมนั้นน้อยมาก เพราะมันเป็นที่นิสัยครับ เป็นที่คนจริงๆ ที่ฝึกนิสัยตัวเองมาอย่างไร
คนอื่นเขาสะสมอย่างอื่น เราขอสะสมความดี, ความรู้, ประสบการณ์, เงินทอง, กับหุ้นก็แล้วกัน
http://www.muegao.blogspot.com หุ้น การเงิน การลงทุน ธุรกิจ
http://www.muegao.blogspot.com หุ้น การเงิน การลงทุน ธุรกิจ
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 2273
- ผู้ติดตาม: 0
ยุโรปออม 5 อเมริกา 0.3 ญี่ปุ่น 11 แล้วคนไทยละครับ
โพสต์ที่ 7
หน่วยเป็น % ครับBangkok เขียน: หน่วยเป็นอะไรครับ เปอร์เซนต์? จำนวนคน หรือว่า ปริมาณเงินออม?
คนไทยน่าจะเก็บออมได้น้อยมากถึงมากที่สุด
คนรู้จักเงินเดือน 15000 บาทอยุ่กับที่บ้าน เดินทางไปทำงานก็นั่งรถไฟฟ้า
บอกผมว่าไม่พอใช้
แต่ของที่เค้าแต่งตัวหรือว่าใช้อยุ่เป็นของมียี่ห้อเกือบทุกอย่างเลย
ผมก็งงๆ เหมือนกัน
การลงทุนคือความเสี่ยง
แต่ความเสี่ยงสูงคือ ไม่รุ้ว่าอะไรคือจุดชี้เป็นชี้ตายของบริษัท
ความเสียงสุงที่สุด คือ ไม่รู้ว่าเลยว่าตัวเองทำอะไรอยู่
แต่ความเสี่ยงสูงคือ ไม่รุ้ว่าอะไรคือจุดชี้เป็นชี้ตายของบริษัท
ความเสียงสุงที่สุด คือ ไม่รู้ว่าเลยว่าตัวเองทำอะไรอยู่
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 14784
- ผู้ติดตาม: 1
ยุโรปออม 5 อเมริกา 0.3 ญี่ปุ่น 11 แล้วคนไทยละครับ
โพสต์ที่ 9
โค้ด: เลือกทั้งหมด
คนไทยแปลกจริงๆ
พวกรวยๆจะไม่ค่อยใช้ของแพงเพราะคิดว่ารวยอยู่แล้วไม่เห็นต้องซื้อเลย
แต่พวกไม่รวยจริง อยากให้คนอื่นเห็นว่ารวยเลยต้องใช้ของแพงๆ
-
- Verified User
- โพสต์: 9
- ผู้ติดตาม: 0
ยุโรปออม 5 อเมริกา 0.3 ญี่ปุ่น 11 แล้วคนไทยละครับ
โพสต์ที่ 10
การออมโดยรวมของประเทศไทยในช่วงปี 1998-2003 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นครับจากปี 1998 ที่ 790.9 พันล้านบาท เป็น 1,037.9 พันล้านบาทในปี 2003 แต่การออมที่เพิ่มขึ้นส่วนใหญ่มาจากภาครัฐ ซึ่งประกอบด้วยส่วนของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ แต่ที่น่าเป็นห่วงคือการออมของภาคเอกชน ที่เป็นครัวเรือนลดลงอย่างมากครับ จากปี 1998 ที่ 470.3 พันล้านบาท ลดลงเหลือเป็น 229.6 พันล้านบาทในปี 2003
ข้อมูลที่นำมาโพส ผมเอามาจากธนาคารแห่งประเทศ ในส่วนของการลงทุนและการออมของประเทศ ณ ราคาประจำปี (ตารางที่ 85) จัดทำโดยสำนักบัญชีประชาชาติ และสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ตารางที่ 85 : การลงทุนและการออมของประเทศ ณ ราคาประจำปี 1/ 2/
(หน่วย : พันล้านบาท)
1998 1999 2000 2001 2002 2003 p
1 การลงทุนในประเทศ 946 950.6 1,124.20 1,237.10 1,299.80 1,483.20
2 ภาคเอกชน 588.9 535.5 679.1 784.7 865.7 1,038.30
3 ภาครัฐ 446.6 430.4 402.3 396.6 377.5 387
4 การเปลี่ยนแปลงสต๊อกสินค้า -89.5 -15.3 42.7 55.8 56.6 57.9
5 แหล่งที่มาของเงิน (line 6-15+16) 946 950.6 1,124.20 1,237.10 1,299.80 1,483.20
6 การออมของประเทศ (line 7+14) 1,470.10 1,397.70 1,548.00 1,551.00 1,666.30 1862.2
7 การออมสุทธิ 790.9 693.8 819.7 791.5 875.4 1037.9
8 ภาคเอกชน 581.6 499.9 597.9 512.9 461.2 564.2
9 ครัวเรือน 470.3 409.3 347.5 252.9 183.3 229.6
10 ธุรกิจ 111.3 90.6 250.4 260 277.9 334.6
11 ภาครัฐ 209.3 193.9 221.9 278.7 414.1 473.7
12 รัฐบาล 229.7 150.7 160.7 176 248.2 363.8
13 รัฐวิสาหกิจ -20.4 43.2 61.2 102.7 165.9 109.9
14 ค่าเสื่อมราคา 679.1 703.9 728.3 759.5 790.9 824.3
15 ความคลาดเคลื่อนทางสถิติ -71.6 -24.6 52.9 41.1 64.4 54.9
16 เงินออมจากต่างประเทศ -595.7 -471.7 -371 -272.8 -302.2 -324.1
17 การออมของประเทศ ที่ไม่รวมค่าความคลาดเคลื่อนทางสถิติ 1,541.70 1,422.30 1,495.20 1,509.90 1,601.90 1807.3
18 GNS/GDP (%) 31.8 30.1 31.4 30.2 30.6 31.4
19 GNS 3/ /GDP (%) 33.3 30.7 30.4 29.4 29.4 30.5
20 GDI/GDP (%) 20.4 20.5 22.8 24.1 23.9 25
21 GNS/GDI (%) 155.4 147 137.7 125.4 128.2 125.6
22 GNS 3/ /GDI (%) 163 149.6 133 122.1 123.2 121.9
1/ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้ปรับปรุงวิธีการประมวลข้อมูลรายได้ประชาชาติใหม่
พร้อมทั้งปรับปีฐานจากปี พ.ศ. 2515 เป็น พ.ศ. 2531 และปรับข้อมูลย้อนหลังถึงปี พ.ศ. 2523
2/ เดือนมกราคม 2548 สศช. ได้ปรับปรุงข้อมูลรายได้ประชาชาติรายปี ย้อนหลังถึงปี 2543
3/ ไม่รวมค่าความคลาดเคลื่อนทางสถิติ
ที่มา : สำนักบัญชีประชาชาติ, สศช.
ข้อมูลที่นำมาโพส ผมเอามาจากธนาคารแห่งประเทศ ในส่วนของการลงทุนและการออมของประเทศ ณ ราคาประจำปี (ตารางที่ 85) จัดทำโดยสำนักบัญชีประชาชาติ และสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ตารางที่ 85 : การลงทุนและการออมของประเทศ ณ ราคาประจำปี 1/ 2/
(หน่วย : พันล้านบาท)
1998 1999 2000 2001 2002 2003 p
1 การลงทุนในประเทศ 946 950.6 1,124.20 1,237.10 1,299.80 1,483.20
2 ภาคเอกชน 588.9 535.5 679.1 784.7 865.7 1,038.30
3 ภาครัฐ 446.6 430.4 402.3 396.6 377.5 387
4 การเปลี่ยนแปลงสต๊อกสินค้า -89.5 -15.3 42.7 55.8 56.6 57.9
5 แหล่งที่มาของเงิน (line 6-15+16) 946 950.6 1,124.20 1,237.10 1,299.80 1,483.20
6 การออมของประเทศ (line 7+14) 1,470.10 1,397.70 1,548.00 1,551.00 1,666.30 1862.2
7 การออมสุทธิ 790.9 693.8 819.7 791.5 875.4 1037.9
8 ภาคเอกชน 581.6 499.9 597.9 512.9 461.2 564.2
9 ครัวเรือน 470.3 409.3 347.5 252.9 183.3 229.6
10 ธุรกิจ 111.3 90.6 250.4 260 277.9 334.6
11 ภาครัฐ 209.3 193.9 221.9 278.7 414.1 473.7
12 รัฐบาล 229.7 150.7 160.7 176 248.2 363.8
13 รัฐวิสาหกิจ -20.4 43.2 61.2 102.7 165.9 109.9
14 ค่าเสื่อมราคา 679.1 703.9 728.3 759.5 790.9 824.3
15 ความคลาดเคลื่อนทางสถิติ -71.6 -24.6 52.9 41.1 64.4 54.9
16 เงินออมจากต่างประเทศ -595.7 -471.7 -371 -272.8 -302.2 -324.1
17 การออมของประเทศ ที่ไม่รวมค่าความคลาดเคลื่อนทางสถิติ 1,541.70 1,422.30 1,495.20 1,509.90 1,601.90 1807.3
18 GNS/GDP (%) 31.8 30.1 31.4 30.2 30.6 31.4
19 GNS 3/ /GDP (%) 33.3 30.7 30.4 29.4 29.4 30.5
20 GDI/GDP (%) 20.4 20.5 22.8 24.1 23.9 25
21 GNS/GDI (%) 155.4 147 137.7 125.4 128.2 125.6
22 GNS 3/ /GDI (%) 163 149.6 133 122.1 123.2 121.9
1/ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้ปรับปรุงวิธีการประมวลข้อมูลรายได้ประชาชาติใหม่
พร้อมทั้งปรับปีฐานจากปี พ.ศ. 2515 เป็น พ.ศ. 2531 และปรับข้อมูลย้อนหลังถึงปี พ.ศ. 2523
2/ เดือนมกราคม 2548 สศช. ได้ปรับปรุงข้อมูลรายได้ประชาชาติรายปี ย้อนหลังถึงปี 2543
3/ ไม่รวมค่าความคลาดเคลื่อนทางสถิติ
ที่มา : สำนักบัญชีประชาชาติ, สศช.