อเมริกาประกาศลดภาษีเงินได้นิติบุคคล
- kabu
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 2149
- ผู้ติดตาม: 0
อเมริกาประกาศลดภาษีเงินได้นิติบุคคล
โพสต์ที่ 1
ไม่ทราบว่า จะมีผลกระทบในแง่ไหนบ้างครับ
เช่น
ข้อดี
1. มีการลงทุนเพิ่มขึ้นในอเมริกา
2. ร้านค้า ต่างๆ ผู้ทำธุรกิจมีกำไรดีขึ้น
ข้อเสีย
1. ประเทศได้เงินน้อยลง ตอนนี้ก็ขาดดุลงบประมาณจะแย่อยู่แล้ว
2. ค่าเงินแข็งขี้นเนื่องจากมีความต้องการเงินดอลล่าห์มากขึ้น ยิ่งทำให้การส่งออกแย่ ขาดดุลงบประมาณอีก
คิดไม่ออกแล้ว
เช่น
ข้อดี
1. มีการลงทุนเพิ่มขึ้นในอเมริกา
2. ร้านค้า ต่างๆ ผู้ทำธุรกิจมีกำไรดีขึ้น
ข้อเสีย
1. ประเทศได้เงินน้อยลง ตอนนี้ก็ขาดดุลงบประมาณจะแย่อยู่แล้ว
2. ค่าเงินแข็งขี้นเนื่องจากมีความต้องการเงินดอลล่าห์มากขึ้น ยิ่งทำให้การส่งออกแย่ ขาดดุลงบประมาณอีก
คิดไม่ออกแล้ว
"หนทางเดียวที่จะก้าวพ้นขอบเขตของความเป็นไปได้ คือก้าวเข้าสู่ความเป็นไปไม่ได้", Arthur C. Clarke
สมุดบันทึก: http://kabuvi.wordpress.com/
สมุดบันทึก: http://kabuvi.wordpress.com/
-
- Verified User
- โพสต์: 18364
- ผู้ติดตาม: 1
Re: อเมริกาประกาศลดภาษีเงินได้นิติบุคคล
โพสต์ที่ 2
ลดภาษีเป็นการกระตุ้นทางด้านการคลัง
จุดนี้ทำให้ภาระในการจัดเก็บเงินรายได้ของรัฐลดลง
ระยะยาวต้องออกพันธบัตรออกมาชดเชยการขาดดุลอีก
เอาเงินที่ไม่มีดอกเบี้ยไปจ่ายเงินที่มีดอกเบี้ย
เมื่อกระตุ้นทางด้านการคลังผ่านการลดภาษี
ทำให้นิติบุคคลสามารถขยายงานเพิ่มขึ้นได้ เนื่องจากต้นทุนในการทำกิจการลดลง
เมื่อขยายงานได้เิพิ่มขึ้นแล้ว ประชาชนก็ได้ประโยชน์มีการจ้างงานเพิ่มขึ้น
เมื่อมีการจ้างงานเพิ่มขึ้น ส่งผลทำให้ประชาชนจับจ่ายมากขึ้นจากคนที่จ้างงานเพิ่มและคนที่ได้รับเงินเดือนเพิ่ม
จนเกิดปัญหาเงินเฟ้อในระยะเวลาต่อมา
เงินเฟ้อเพิ่มขึ้นแลกกับอัตราการจ้างงานที่ลดลง ในช่วงนี้
และถ้าหากยิ่งตีเกลียวไปกับปัญหาออกพันธบัตรอีก งานนี้ ถ้าคุ้มเงินเฟ้อไม่ดี และ อัตราการจ้างงานไม่ดีล่ะก็
เจอเกลียวของสองปัญหานี้ก็แก้ไขยากขึ้น
จุดนี้ทำให้ภาระในการจัดเก็บเงินรายได้ของรัฐลดลง
ระยะยาวต้องออกพันธบัตรออกมาชดเชยการขาดดุลอีก
เอาเงินที่ไม่มีดอกเบี้ยไปจ่ายเงินที่มีดอกเบี้ย
เมื่อกระตุ้นทางด้านการคลังผ่านการลดภาษี
ทำให้นิติบุคคลสามารถขยายงานเพิ่มขึ้นได้ เนื่องจากต้นทุนในการทำกิจการลดลง
เมื่อขยายงานได้เิพิ่มขึ้นแล้ว ประชาชนก็ได้ประโยชน์มีการจ้างงานเพิ่มขึ้น
เมื่อมีการจ้างงานเพิ่มขึ้น ส่งผลทำให้ประชาชนจับจ่ายมากขึ้นจากคนที่จ้างงานเพิ่มและคนที่ได้รับเงินเดือนเพิ่ม
จนเกิดปัญหาเงินเฟ้อในระยะเวลาต่อมา
เงินเฟ้อเพิ่มขึ้นแลกกับอัตราการจ้างงานที่ลดลง ในช่วงนี้
และถ้าหากยิ่งตีเกลียวไปกับปัญหาออกพันธบัตรอีก งานนี้ ถ้าคุ้มเงินเฟ้อไม่ดี และ อัตราการจ้างงานไม่ดีล่ะก็
เจอเกลียวของสองปัญหานี้ก็แก้ไขยากขึ้น
- kabu
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 2149
- ผู้ติดตาม: 0
Re: อเมริกาประกาศลดภาษีเงินได้นิติบุคคล
โพสต์ที่ 3
อย่างที่พี่มิบอก ผมว่าอเมริกาคงอยากจะลดปัญหาการว่างงาน ซึ่งตอนนี้อยู่ในอัตราที่สูงมากๆ (ประมาณ 10%) สิ่งที่อเมริกากลัวมากๆ ผมว่าไม่ใช่เงินเฟ้อ แต่เป็น เงินฝืด
ตอนนี้อเมริกาเป็นหนี้ประเทศอื่นๆ เยอะมากๆ โดยการขายพันธบัตร และพิมพ์แบงค์เป็นว่าเล่น ถามว่าอนาคตข้างหน้ามีคนอยากถือดอลล่าห์มั้ย ??
อเมริกาพยายามทำทุกวิถีทางให้ดอลล่าห์ตัวเองน่าเชื่อถือไม่อ่อนค่าไปกว่านี้
กำลังดูว่าจะไปได้ขนาดไหน
ตอนนี้อเมริกาเป็นหนี้ประเทศอื่นๆ เยอะมากๆ โดยการขายพันธบัตร และพิมพ์แบงค์เป็นว่าเล่น ถามว่าอนาคตข้างหน้ามีคนอยากถือดอลล่าห์มั้ย ??
อเมริกาพยายามทำทุกวิถีทางให้ดอลล่าห์ตัวเองน่าเชื่อถือไม่อ่อนค่าไปกว่านี้
กำลังดูว่าจะไปได้ขนาดไหน
"หนทางเดียวที่จะก้าวพ้นขอบเขตของความเป็นไปได้ คือก้าวเข้าสู่ความเป็นไปไม่ได้", Arthur C. Clarke
สมุดบันทึก: http://kabuvi.wordpress.com/
สมุดบันทึก: http://kabuvi.wordpress.com/
-
- Verified User
- โพสต์: 18364
- ผู้ติดตาม: 1
Re: อเมริกาประกาศลดภาษีเงินได้นิติบุคคล
โพสต์ที่ 4
ภาวะถดถอยผ่านไปแล้ว
เพราะ หลายไตรมาสที่ผ่านมา GDP โตขึ้นมาจากจุดที่ต่ำที่สุด จากจุดที่ต่ำที่สุดของการถดถอย
แต่อย่างไงก็ตาม GDP ที่เพิ่มขึ้นยังไม่เท่ากับก่อนเกิดวิกฤติแฮมเบอร์เกอร์
และการเติบโตยังอยู่ในภาวะที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิด Double dip ถ้าหากน้ำมันดิบพุ่งเกิน 100 เหรียญต่อบาร์เรล
GDP ของ US คิดแบบ chain weighted แล้ว
คือ แบบเป็นลูกโซ่ไม่มีปีฐานแบบเมืองไทยแล้ว
ตอนนี้ตัวเลขที่หยุดไม่ค่อยอยู่คือตัวเลขการว่างงานครับ
ต้องแก้ไขให้ได้ ไม่งั้นอาจจะมีผลต่อการเมืองในปีกว่าที่เหลือครับ
เพราะ หลายไตรมาสที่ผ่านมา GDP โตขึ้นมาจากจุดที่ต่ำที่สุด จากจุดที่ต่ำที่สุดของการถดถอย
แต่อย่างไงก็ตาม GDP ที่เพิ่มขึ้นยังไม่เท่ากับก่อนเกิดวิกฤติแฮมเบอร์เกอร์
และการเติบโตยังอยู่ในภาวะที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิด Double dip ถ้าหากน้ำมันดิบพุ่งเกิน 100 เหรียญต่อบาร์เรล
GDP ของ US คิดแบบ chain weighted แล้ว
คือ แบบเป็นลูกโซ่ไม่มีปีฐานแบบเมืองไทยแล้ว
ตอนนี้ตัวเลขที่หยุดไม่ค่อยอยู่คือตัวเลขการว่างงานครับ
ต้องแก้ไขให้ได้ ไม่งั้นอาจจะมีผลต่อการเมืองในปีกว่าที่เหลือครับ