หมั่นฝึกปรือกับเป้าจริง
- ก้อนหิน
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 2344
- ผู้ติดตาม: 0
หมั่นฝึกปรือกับเป้าจริง
โพสต์ที่ 31
สงสัยนะครับ พี่แผ่วเบา
โดยส่วนตัวผมเชื่อ ใน แนวทาง vi อย่างแ้ท้จริง
แต่ที่พี่พูดถึง นักลงทุน ในระดับโลก ที่เป็น TA ที่เป็น VI นั้น
พี่ได้นับ Hedge Fund ไปด้วยหรือป่าวครับ
คือผมก็ไม่รู้หรอก ว่า Hedge Fund มันเป้น VI หรือว่า TA
แต่ว่า เวลาผมแนะนำเพื่อนๆ ไปแบบที่พี่พูด แล้วเจอเพื่อนมันถามมาก็เถียงไม่ค่อยออกนะครับ
ใครมีรายชื่อ TA เพียวๆแล้วประสบความสำเร็จ ระดับโลกบ้างครับ
โดยส่วนตัวผมเชื่อ ใน แนวทาง vi อย่างแ้ท้จริง
แต่ที่พี่พูดถึง นักลงทุน ในระดับโลก ที่เป็น TA ที่เป็น VI นั้น
พี่ได้นับ Hedge Fund ไปด้วยหรือป่าวครับ
คือผมก็ไม่รู้หรอก ว่า Hedge Fund มันเป้น VI หรือว่า TA
แต่ว่า เวลาผมแนะนำเพื่อนๆ ไปแบบที่พี่พูด แล้วเจอเพื่อนมันถามมาก็เถียงไม่ค่อยออกนะครับ
ใครมีรายชื่อ TA เพียวๆแล้วประสบความสำเร็จ ระดับโลกบ้างครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 391
- ผู้ติดตาม: 0
หมั่นฝึกปรือกับเป้าจริง
โพสต์ที่ 32
ผมเข้าใจว่า Hedge Fund ก็มีหลายแบบ
ทั้งแบบที่ไม่สนใจพื้นฐาน
และสนใจพื้นฐานมากๆ
อย่างโซรอสนี่ อยู่ในกลุ่มวิเคราะห์พื้นฐานจนทะลุปรุโปร่งเลยล่ะครับ
ตอนโจมตีค่าเงินปอนด์
เขาเข้าถึงข้อมูลลึกๆของแบงค์ชาติอังกฤษเลย
และอาจจะมีข้อมูลลึกๆที่แม้แต่แบงค์ชาติก็คาดไม่ถึง
ไม่อย่างนั้นเขาไม่กล้าสู้กับคู่ต่อสู้ที่ใหญ่ขนาดนั้นแน่
และสู้ด้วยทรัพย์สินที่มากขนาดนั้น
เพราะถ้าพลาด
หมายถึงเจ๊งแบบไม่ได้ผุดได้เกิด
ตอนโจมตีเงินบาท
เขาก็วิเคราะห์พื้นฐานของประเทศไทยจนรู้ไส้รู้พุงแบงค์ชาติ
เขายังวิเคราะห์ลึกไปจนถึงตัวบุคคลที่เป็นผู้ว่าแบงค์ชาติ
ตัวรมต.คลัง ตัวนายก
จนปรุโปร่ง
วิเคราะห์แม้แต่วิธีคิดของไทยเรา
ข้อจำกัดของไทยเรา
วัฒนธรรมการทำงานของรัฐบาลเรา
เขามียุทธศาสตร์ในการโจมตี
เขามียุทธวิธีที่แยบคายในการหลอกล่อ
TA ในที่นี้จึงไม่นับโซรอสเข้าไปด้วยครับ
ทั้งแบบที่ไม่สนใจพื้นฐาน
และสนใจพื้นฐานมากๆ
อย่างโซรอสนี่ อยู่ในกลุ่มวิเคราะห์พื้นฐานจนทะลุปรุโปร่งเลยล่ะครับ
ตอนโจมตีค่าเงินปอนด์
เขาเข้าถึงข้อมูลลึกๆของแบงค์ชาติอังกฤษเลย
และอาจจะมีข้อมูลลึกๆที่แม้แต่แบงค์ชาติก็คาดไม่ถึง
ไม่อย่างนั้นเขาไม่กล้าสู้กับคู่ต่อสู้ที่ใหญ่ขนาดนั้นแน่
และสู้ด้วยทรัพย์สินที่มากขนาดนั้น
เพราะถ้าพลาด
หมายถึงเจ๊งแบบไม่ได้ผุดได้เกิด
ตอนโจมตีเงินบาท
เขาก็วิเคราะห์พื้นฐานของประเทศไทยจนรู้ไส้รู้พุงแบงค์ชาติ
เขายังวิเคราะห์ลึกไปจนถึงตัวบุคคลที่เป็นผู้ว่าแบงค์ชาติ
ตัวรมต.คลัง ตัวนายก
จนปรุโปร่ง
วิเคราะห์แม้แต่วิธีคิดของไทยเรา
ข้อจำกัดของไทยเรา
วัฒนธรรมการทำงานของรัฐบาลเรา
เขามียุทธศาสตร์ในการโจมตี
เขามียุทธวิธีที่แยบคายในการหลอกล่อ
TA ในที่นี้จึงไม่นับโซรอสเข้าไปด้วยครับ
- por_jai
- Verified User
- โพสต์: 14338
- ผู้ติดตาม: 0
หมั่นฝึกปรือกับเป้าจริง
โพสต์ที่ 33
8) พี่แผ่ววิจารณ์ซะจนผมคิดว่าพี่อยู่ในก๊วนของพี่จอร์จ เลยนะเนี่ย
ตามหนังสือเศรษฐศาสตร์แห่งความจริงเขาว่า
พวกนี้เขาระดับคิดทฤษฎีมาสอนพวกเรา
เขารู้ท่าเพลงเราหมดว่ามีกี่ท่า
ที่เราเต้นนี่ เต้นตามที่เขาสอนทั้งนั้น...
ตามหนังสือเศรษฐศาสตร์แห่งความจริงเขาว่า
พวกนี้เขาระดับคิดทฤษฎีมาสอนพวกเรา
เขารู้ท่าเพลงเราหมดว่ามีกี่ท่า
ที่เราเต้นนี่ เต้นตามที่เขาสอนทั้งนั้น...
กรูเก่ง กิเลสเก่งกว่า
- yoyo
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4833
- ผู้ติดตาม: 1
หมั่นฝึกปรือกับเป้าจริง
โพสต์ที่ 35
นับถือพี่แผ่วเบาด้วยอีกคน .. แนวทางการเขียนไม่เหมือนใครจริงๆ ....
ส่วนไอ้เรื่องจุดร่วมของหุ้นที่ขึ้นมาเยอะๆ มีคนเค้าทำวิจัยเอาไว้อย่างดีมากๆ criteria แน่นปึ๊ก แถมเอาเฉพาะที่ขึ้นแล้วแข็งอยู่นาน ไม่ยอมลงเป็นเวลาถึง 15 ปี ... ผมอ่านจบแล้วก็นับถือในคนทำวิจัยนี่มากๆ อ่านแล้วได้ประโยชน์มากๆจริงๆ
วิจัยนี้ทำออกมาเป็นหนังสือขาย .. อ่านง่ายและสนุก ..
แต่ปัญหาคือมันวิจัยเรื่องหุ้น แต่หนังสืออยู่ในหมวดบริหารเลยทำให้ vi หลายๆท่านหลุดสายตาไป (แต่คนที่ชอบอ่านหนังสือๆเยอะๆ โดยเฉพาะแนวบริหารน่าจะเคยได้ยิน เพราะดังไม่น้อย)
หนังสือเล่มนั้นชื่อ Good to Great ลองหาอ่านดูนะครับ
ส่วนไอ้เรื่องจุดร่วมของหุ้นที่ขึ้นมาเยอะๆ มีคนเค้าทำวิจัยเอาไว้อย่างดีมากๆ criteria แน่นปึ๊ก แถมเอาเฉพาะที่ขึ้นแล้วแข็งอยู่นาน ไม่ยอมลงเป็นเวลาถึง 15 ปี ... ผมอ่านจบแล้วก็นับถือในคนทำวิจัยนี่มากๆ อ่านแล้วได้ประโยชน์มากๆจริงๆ
วิจัยนี้ทำออกมาเป็นหนังสือขาย .. อ่านง่ายและสนุก ..
แต่ปัญหาคือมันวิจัยเรื่องหุ้น แต่หนังสืออยู่ในหมวดบริหารเลยทำให้ vi หลายๆท่านหลุดสายตาไป (แต่คนที่ชอบอ่านหนังสือๆเยอะๆ โดยเฉพาะแนวบริหารน่าจะเคยได้ยิน เพราะดังไม่น้อย)
หนังสือเล่มนั้นชื่อ Good to Great ลองหาอ่านดูนะครับ
การลงทุนที่มีค่าที่สุด คือการลงทุนในความรู้
http://www.yoyoway.com
http://www.yoyoway.com
- ก้อนหิน
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 2344
- ผู้ติดตาม: 0
หมั่นฝึกปรือกับเป้าจริง
โพสต์ที่ 36
เล่มนี้มันระดับตำนานเลยนี่ครับพี่โย ได้ยินมาจากปาก หลายคนแล้วนะเนี่ย ต้องไม่พลาดซะแล้วyoyo เขียน:นับถือพี่แผ่วเบาด้วยอีกคน .. แนวทางการเขียนไม่เหมือนใครจริงๆ ....
ส่วนไอ้เรื่องจุดร่วมของหุ้นที่ขึ้นมาเยอะๆ มีคนเค้าทำวิจัยเอาไว้อย่างดีมากๆ criteria แน่นปึ๊ก แถมเอาเฉพาะที่ขึ้นแล้วแข็งอยู่นาน ไม่ยอมลงเป็นเวลาถึง 15 ปี ... ผมอ่านจบแล้วก็นับถือในคนทำวิจัยนี่มากๆ อ่านแล้วได้ประโยชน์มากๆจริงๆ
วิจัยนี้ทำออกมาเป็นหนังสือขาย .. อ่านง่ายและสนุก ..
แต่ปัญหาคือมันวิจัยเรื่องหุ้น แต่หนังสืออยู่ในหมวดบริหารเลยทำให้ vi หลายๆท่านหลุดสายตาไป (แต่คนที่ชอบอ่านหนังสือๆเยอะๆ โดยเฉพาะแนวบริหารน่าจะเคยได้ยิน เพราะดังไม่น้อย)
หนังสือเล่มนั้นชื่อ Good to Great ลองหาอ่านดูนะครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 391
- ผู้ติดตาม: 0
หมั่นฝึกปรือกับเป้าจริง
โพสต์ที่ 37
ผมก็บังเอิญได้อ่านครับ
good to great เป็นงานวิจัยของศาสตราจารย์ท่านหนึ่ง
พบว่ามีองค์ประกอบอยู่ประมาณห้าข้อที่ทำให้บริษัททั่วไปกลายเป็นบริษัทที่ยิ่งใหญ่
ได้แก่ เรื่องผู้นำ
เรื่องคนทำงาน
เรื่องแนวคิด
เรื่องวัฒนธรรมองค์กร
และเรื่องเทคโนโลยีในฐานะตัวช่วย
ถ้าบริษัทไหนมีครบหรือแค่ใกล้เคียง ก็มีโอกาสสูงที่จะยิ่งใหญ่
แต่ทั้งห้าข้อนั้นไม่ใช่ทำได้ง่ายๆเลย
good to great เป็นงานวิจัยของศาสตราจารย์ท่านหนึ่ง
พบว่ามีองค์ประกอบอยู่ประมาณห้าข้อที่ทำให้บริษัททั่วไปกลายเป็นบริษัทที่ยิ่งใหญ่
ได้แก่ เรื่องผู้นำ
เรื่องคนทำงาน
เรื่องแนวคิด
เรื่องวัฒนธรรมองค์กร
และเรื่องเทคโนโลยีในฐานะตัวช่วย
ถ้าบริษัทไหนมีครบหรือแค่ใกล้เคียง ก็มีโอกาสสูงที่จะยิ่งใหญ่
แต่ทั้งห้าข้อนั้นไม่ใช่ทำได้ง่ายๆเลย
- ก้อนหิน
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 2344
- ผู้ติดตาม: 0
หมั่นฝึกปรือกับเป้าจริง
โพสต์ที่ 38
[quote="แผ่วเบา"]ผมก็บังเอิญได้อ่านครับ
good to great เป็นงานวิจัยของศาสตราจารย์ท่านหนึ่ง
พบว่ามีองค์ประกอบอยู่ประมาณห้าข้อที่ทำให้บริษัททั่วไปกลายเป็นบริษัทที่ยิ่งใหญ่
ได้แก่ เรื่องผู้นำ
เรื่องคนทำงาน
เรื่องแนวคิด
เรื่องวัฒนธรรมองค์กร
และเรื่องเทคโนโลยีในฐานะตัวช่วย
good to great เป็นงานวิจัยของศาสตราจารย์ท่านหนึ่ง
พบว่ามีองค์ประกอบอยู่ประมาณห้าข้อที่ทำให้บริษัททั่วไปกลายเป็นบริษัทที่ยิ่งใหญ่
ได้แก่ เรื่องผู้นำ
เรื่องคนทำงาน
เรื่องแนวคิด
เรื่องวัฒนธรรมองค์กร
และเรื่องเทคโนโลยีในฐานะตัวช่วย
-
- Verified User
- โพสต์: 391
- ผู้ติดตาม: 0
หมั่นฝึกปรือกับเป้าจริง
โพสต์ที่ 39
great เป็นคำทั่วๆไป
จึงมีหลายนิยาม
ขึ้นกับความเข้มข้นว่าจะเอา criteria แน่นปึ้กระดับไหน
ถ้ายึด criteria ตามที่ศาสตราจารย์ผู้แต่ง good to great นิยามไว้
ซึ่งหมายถึง great ระดับโลก ขยายกิจการได้ทั่วโลก
หุ้นไทยก็อาจจะหาแบบนั้นยาก
ที่จริงผมมองว่า ไม่มีครับ
แต่ถ้าปรับระดับความเข้มข้นลงมาหน่อย
เพื่อใช้กับเมืองไทย
ก็มีดร.นิเวศน์ให้คำนิยามไว้ว่า
หมายถึงบริษัทที่เก่งมากๆ
เป็นเบอร์หนึ่งในอุตสาหกรรม
ทิ้งห่างเบอร์สองมากๆ
หุ้นไทยก็มีหลายตัวครับ
ที่ผมนึกออกก็ เซเว่น stanly
แต่ great ก็ต้องดูด้วยว่ามี growth ด้วยไหม
ถ้าไม่มี growth จะกลายเป็นแกร่ง
หุ้นแข็งแกร่ง ตามนิยามของปีเตอร์ ลินช์นั้น
เราหวังในความแข็งแกร่งของธุรกิจ
แต่จะหวังให้ราคาหุ้นเติบโตเป้นเท่าตัวภายในหนึ่งปีนั้นยากมาก
เพราะเมื่อไม่ growth กำไรก็เปลี่ยนแปลงไม่มากนัก
คงหวัง 10-20 % ได้เท่านั้นเอง
ถ้าจะหวังเท่าตัวภายในหนึ่งปี
ต้องเป็นพวกหุ้น growth
หรือหุ้นวัฏจักร
หรือหุ้นสินทรัพย์มาก
หรือหุ้นฟื้นตัว
และถ้าได้ keyword อีกหนึ่งตัวมาช่วย
คือ "undervalue" มากๆ
ก็ยิ่งมีสิทธิได้เท่าตัวสูงขึ้นไปอีก
เพราะหุ้นทุกตัวมีสิทธิวิ่งไปสู่ราคา
overvalue ได้เหมือนกัน
จึงมีหลายนิยาม
ขึ้นกับความเข้มข้นว่าจะเอา criteria แน่นปึ้กระดับไหน
ถ้ายึด criteria ตามที่ศาสตราจารย์ผู้แต่ง good to great นิยามไว้
ซึ่งหมายถึง great ระดับโลก ขยายกิจการได้ทั่วโลก
หุ้นไทยก็อาจจะหาแบบนั้นยาก
ที่จริงผมมองว่า ไม่มีครับ
แต่ถ้าปรับระดับความเข้มข้นลงมาหน่อย
เพื่อใช้กับเมืองไทย
ก็มีดร.นิเวศน์ให้คำนิยามไว้ว่า
หมายถึงบริษัทที่เก่งมากๆ
เป็นเบอร์หนึ่งในอุตสาหกรรม
ทิ้งห่างเบอร์สองมากๆ
หุ้นไทยก็มีหลายตัวครับ
ที่ผมนึกออกก็ เซเว่น stanly
แต่ great ก็ต้องดูด้วยว่ามี growth ด้วยไหม
ถ้าไม่มี growth จะกลายเป็นแกร่ง
หุ้นแข็งแกร่ง ตามนิยามของปีเตอร์ ลินช์นั้น
เราหวังในความแข็งแกร่งของธุรกิจ
แต่จะหวังให้ราคาหุ้นเติบโตเป้นเท่าตัวภายในหนึ่งปีนั้นยากมาก
เพราะเมื่อไม่ growth กำไรก็เปลี่ยนแปลงไม่มากนัก
คงหวัง 10-20 % ได้เท่านั้นเอง
ถ้าจะหวังเท่าตัวภายในหนึ่งปี
ต้องเป็นพวกหุ้น growth
หรือหุ้นวัฏจักร
หรือหุ้นสินทรัพย์มาก
หรือหุ้นฟื้นตัว
และถ้าได้ keyword อีกหนึ่งตัวมาช่วย
คือ "undervalue" มากๆ
ก็ยิ่งมีสิทธิได้เท่าตัวสูงขึ้นไปอีก
เพราะหุ้นทุกตัวมีสิทธิวิ่งไปสู่ราคา
overvalue ได้เหมือนกัน
-
- Verified User
- โพสต์: 2712
- ผู้ติดตาม: 0
หมั่นฝึกปรือกับเป้าจริง
โพสต์ที่ 44
ขอคารวะ 1 จอก
อย่าลืมให้เวลากับครอบครัว และสังคมรอบๆข้างของคุณนะครับ
มีสติ และมีความสุขกับการลงทุนนะครับผม
นักลงทุนที่เก่งที่สุดมิใช่คนที่ซื้อขายไวที่สุด
แต่คือคนที่นำสติกลับมาได้เร็วที่สุด
หลายครั้งส่งคำสั่งซื้อทางไปรษณีย์ได้ผลตอบแทนมากกว่าซื้อผ่านnetหากเราขาดสติ
มีสติ และมีความสุขกับการลงทุนนะครับผม
นักลงทุนที่เก่งที่สุดมิใช่คนที่ซื้อขายไวที่สุด
แต่คือคนที่นำสติกลับมาได้เร็วที่สุด
หลายครั้งส่งคำสั่งซื้อทางไปรษณีย์ได้ผลตอบแทนมากกว่าซื้อผ่านnetหากเราขาดสติ
- SEHJU
- Verified User
- โพสต์: 1238
- ผู้ติดตาม: 0
ขอบคุณครับ
โพสต์ที่ 46
เป็นกระทู้ที่ดีมากครับ
อ่านแล้วทำให้นึกภาพเห็นคล้ายกับว่า
วีไอแต่ละคนกำลังฝึกปรือวิชาของตนอยู่ในถ้ำ
แต่ก็หารู้ไม่ว่า วิธีที่ตนตรากตรำกำลังฝึกอยู่นั้น
มาถูกทางรึป่าว เข้าทำนองเนื้อเพลง ความเชื่อ ของบอดี้แสลม
แต่ผมเชื่อว่าความผิดพลาดนั้นเป็นส่วนหนึ่งของความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่..
อ่านแล้วทำให้นึกภาพเห็นคล้ายกับว่า
วีไอแต่ละคนกำลังฝึกปรือวิชาของตนอยู่ในถ้ำ
แต่ก็หารู้ไม่ว่า วิธีที่ตนตรากตรำกำลังฝึกอยู่นั้น
มาถูกทางรึป่าว เข้าทำนองเนื้อเพลง ความเชื่อ ของบอดี้แสลม
แต่ผมเชื่อว่าความผิดพลาดนั้นเป็นส่วนหนึ่งของความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่..
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 183
- ผู้ติดตาม: 0
หมั่นฝึกปรือกับเป้าจริง
โพสต์ที่ 47
Good to Great ทำไมบริษัทจึงก้าวขึ้นสู่ความยอดเยี่ยมได้แต่บริษัทอื่นๆ ทำไม่ได้
http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=4164
http://www.gotomanager.com/news/details.aspx?id=4164
-
- Verified User
- โพสต์: 391
- ผู้ติดตาม: 0
Re:
โพสต์ที่ 48
แนวทางการเขียนไม่เหมือนใครyoyo เขียน:นับถือพี่แผ่วเบาด้วยอีกคน .. แนวทางการเขียนไม่เหมือนใครจริงๆ ....
ส่วนไอ้เรื่องจุดร่วมของหุ้นที่ขึ้นมาเยอะๆ มีคนเค้าทำวิจัยเอาไว้อย่างดีมากๆ criteria แน่นปึ๊ก แถมเอาเฉพาะที่ขึ้นแล้วแข็งอยู่นาน ไม่ยอมลงเป็นเวลาถึง 15 ปี ... ผมอ่านจบแล้วก็นับถือในคนทำวิจัยนี่มากๆ อ่านแล้วได้ประโยชน์มากๆจริงๆ
วิจัยนี้ทำออกมาเป็นหนังสือขาย .. อ่านง่ายและสนุก ..
แต่ปัญหาคือมันวิจัยเรื่องหุ้น แต่หนังสืออยู่ในหมวดบริหารเลยทำให้ vi หลายๆท่านหลุดสายตาไป (แต่คนที่ชอบอ่านหนังสือๆเยอะๆ โดยเฉพาะแนวบริหารน่าจะเคยได้ยิน เพราะดังไม่น้อย)
หนังสือเล่มนั้นชื่อ Good to Great ลองหาอ่านดูนะครับ
แต่ที่จริงผมลอกสไตล์พี่ป้อมมาครับ
แบบครูพักลักจำ อิอิ
แต่อาจไม่ขำเท่า ต้องฝึกปรืออีกนาน
เรื่อง กู๊ดทูเกร๊ท พี่โยมองว่ามีหุ้นตัวไหนในเมืองไทยเข้าเค้าไหมครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 2938
- ผู้ติดตาม: 0
Re: หมั่นฝึกปรือกับเป้าจริง
โพสต์ที่ 50
http://www.happen.com/index.php/home/ar ... just-lucky
good to great or just lucky ?
In 2001, Jim Collins presented a landmark study in his book 'Good to Great'. Now, less than a decade later, his conclusions appear to be crumbling to dust. Were these companies not so great after all? What happened to corporate greatness?
In all fairness, Collins' Hedgehog Concept is a great little framework to help pinpoint what business you're really in and if you should be there. What you can be the best in the world at? What drives your economic engine? What are you deeply passionate about?
Most of his other ideas are fine too, certainly when considered 'stand alone'. But put together, we can be safe to say that half of the 11 great businesses he identified are no longer doing so great at all.
Circuit City: Bankrupt
Fannie Mae: Bankrupt / nationalised
Wells Fargo: Needs another $13 Bn
Nucor: Stock and Revenue crash -50%
Pitney Bowes: Stock and Revenue crash -15%
Gilette: No longer independent
What happened... is greatness so easily lost? Is it the credit crunch? Or is something else happening?
Well, consider how mr Collins assembled his list in the first place. He started with 1,435 of what he classified as 'good' companies and identified the 11 (0,8%) companies that became 'great' based on a list of criteria. Amongst the key criteria were a successful CEO transition and stock returns that exceeded general market at least 3 times over 15 years (independent of industry averages).
So he started with a list of almost fifteen hundred fine businesses and found parameters to funnel the list down by over 99%. That's the same as looking at 100 A-grade students and predicting which single one will outperform the others. Would you trust that judgement? Of course not. But why not?
For one, looking at the past provides very little guarantee for the future. Particularly when considering market value of American businesses: the top-20 of largest US businesses refreshes significantly every ten to fifteen years (in Europe it takes a little longer). Some could oppose "but they would have remained great if it weren't for the credit crunch". Well, shit happens, usually unexpectedly.
Second, when setting multiple critical criteria on any sample, the leverage of error is typically large. Either no one passes, or everyone passes. Funneling down 1,435 good businesses to 11 great ones means that 1,424 did not pass. If his combined thresholds were off by 1%, he would have had either twice as many great companies, or none at all. I do not know what the full list of criteria were, but imagine mr Collins used ten different ones, where only 11 companies passed all ten criteria. Blunt calculus: every single one of ten criteria will cull about 140 companies from the pool. Had mr Collins used nine criteria instead, his book would have taken fifteen times as long to write. Had he used eleven criteria, he would have had no book at all.
Last but not least, it appears mr Collins has been fooled by numbers. Fifteen years appears to be long period period to remain successful for any business, seemingly a rigorous criterium with low margin for error. But his sample is huge. Simply by taking a whopping 1,435 companies as starting pool, even when all would have performed modestly there will still be plenty emerging as 'great' at the other end. Could they have simply been lucky?
Consider the following scenario, where every year 10% of the 'good' businesses drops into mediocrity or worse. Any single one of the 1,435 'good' businesses then has a 90% chance of performing on par or better than the 'great' criteria, year on year. After 15 years, a total of (90%)^15 = 20% would qualify as 'great', simply by remaining 'good'. In fact, basic maths show that as much as 28% of the 1,435 'good' companies can slip into averageness every year and still 10 will emerge as 'great' after 15 years (1,435*(72%)^15=10.3). That's a lot of mediocrity.
Let's put this in perspective. There are about 10,000,000 (non-sole proprieter) registered businesses in the US and about 25,000 of them go bankrupt every year. That's 0,25%. Even in the current economic crisis, with that figure shooting up by over 50% to about 40,000 - that's still only 0,4% (although some single bankruptcies have been more spectacular recently). And these are the companies going from 'poor' to 'bankrupt'. So there's over 99% chance any company will still be in business the following year, or not doing poor enough to collapse. I think it's then awfully safe to say that 72% of those doing fine will probably do fine the next year too.
The point to all this? It's all about simple luck - and you only need a little to go from good to great.
© 2009 Costas Papaikonomou
Contact Costas now
Follow Costas on Twitter
good to great or just lucky ?
In 2001, Jim Collins presented a landmark study in his book 'Good to Great'. Now, less than a decade later, his conclusions appear to be crumbling to dust. Were these companies not so great after all? What happened to corporate greatness?
In all fairness, Collins' Hedgehog Concept is a great little framework to help pinpoint what business you're really in and if you should be there. What you can be the best in the world at? What drives your economic engine? What are you deeply passionate about?
Most of his other ideas are fine too, certainly when considered 'stand alone'. But put together, we can be safe to say that half of the 11 great businesses he identified are no longer doing so great at all.
Circuit City: Bankrupt
Fannie Mae: Bankrupt / nationalised
Wells Fargo: Needs another $13 Bn
Nucor: Stock and Revenue crash -50%
Pitney Bowes: Stock and Revenue crash -15%
Gilette: No longer independent
What happened... is greatness so easily lost? Is it the credit crunch? Or is something else happening?
Well, consider how mr Collins assembled his list in the first place. He started with 1,435 of what he classified as 'good' companies and identified the 11 (0,8%) companies that became 'great' based on a list of criteria. Amongst the key criteria were a successful CEO transition and stock returns that exceeded general market at least 3 times over 15 years (independent of industry averages).
So he started with a list of almost fifteen hundred fine businesses and found parameters to funnel the list down by over 99%. That's the same as looking at 100 A-grade students and predicting which single one will outperform the others. Would you trust that judgement? Of course not. But why not?
For one, looking at the past provides very little guarantee for the future. Particularly when considering market value of American businesses: the top-20 of largest US businesses refreshes significantly every ten to fifteen years (in Europe it takes a little longer). Some could oppose "but they would have remained great if it weren't for the credit crunch". Well, shit happens, usually unexpectedly.
Second, when setting multiple critical criteria on any sample, the leverage of error is typically large. Either no one passes, or everyone passes. Funneling down 1,435 good businesses to 11 great ones means that 1,424 did not pass. If his combined thresholds were off by 1%, he would have had either twice as many great companies, or none at all. I do not know what the full list of criteria were, but imagine mr Collins used ten different ones, where only 11 companies passed all ten criteria. Blunt calculus: every single one of ten criteria will cull about 140 companies from the pool. Had mr Collins used nine criteria instead, his book would have taken fifteen times as long to write. Had he used eleven criteria, he would have had no book at all.
Last but not least, it appears mr Collins has been fooled by numbers. Fifteen years appears to be long period period to remain successful for any business, seemingly a rigorous criterium with low margin for error. But his sample is huge. Simply by taking a whopping 1,435 companies as starting pool, even when all would have performed modestly there will still be plenty emerging as 'great' at the other end. Could they have simply been lucky?
Consider the following scenario, where every year 10% of the 'good' businesses drops into mediocrity or worse. Any single one of the 1,435 'good' businesses then has a 90% chance of performing on par or better than the 'great' criteria, year on year. After 15 years, a total of (90%)^15 = 20% would qualify as 'great', simply by remaining 'good'. In fact, basic maths show that as much as 28% of the 1,435 'good' companies can slip into averageness every year and still 10 will emerge as 'great' after 15 years (1,435*(72%)^15=10.3). That's a lot of mediocrity.
Let's put this in perspective. There are about 10,000,000 (non-sole proprieter) registered businesses in the US and about 25,000 of them go bankrupt every year. That's 0,25%. Even in the current economic crisis, with that figure shooting up by over 50% to about 40,000 - that's still only 0,4% (although some single bankruptcies have been more spectacular recently). And these are the companies going from 'poor' to 'bankrupt'. So there's over 99% chance any company will still be in business the following year, or not doing poor enough to collapse. I think it's then awfully safe to say that 72% of those doing fine will probably do fine the next year too.
The point to all this? It's all about simple luck - and you only need a little to go from good to great.
© 2009 Costas Papaikonomou
Contact Costas now
Follow Costas on Twitter
เฝ้าดูไป โดยใจที่เป็นกลาง
-
- Verified User
- โพสต์: 141
- ผู้ติดตาม: 0
Re:
โพสต์ที่ 51
ด้วยความเคารพ แต่ผมว่าพี่เข้าใจผิดมั้ง ผมคิดว่า technical analysis มาจาก base ที่ว่าตลาดไม่ efficient มากกว่านะครับแผ่วเบา เขียน:ได้เลยครับพี่ก้อนหิน เดี๋ยวจัดให้
ราคาหุ้นนั้นมีหลายสำนักนำมาเป็น "อันดับหนึ่ง"
และต่อยอดเป็นวิชา Technical Analysis
ซึ่งอยู่ภายใต้สมมติฐาน
ตลาดมีประสิทธิภาพ
- yoyo
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4833
- ผู้ติดตาม: 1
Re: หมั่นฝึกปรือกับเป้าจริง
โพสต์ที่ 53
Great doesn't mean immortal.nanchan เขียน:ABC says:
circuit city ล้มละลาย
fannie mae เจ๊ง
DEF says:
เออใช่ ผมจำผิดบริษัท
55555
เป็นแค่การพูดถึงเนื้อหาในหนังสือนะครับ ไม่ได้พาดพิงใคร
ก็เป็นเรื่องปกติครับ บริษัทมีเกิดก็มีดับ ไม่มีบริษัทอะไรอยู่ได้ตลาดกาล
มีแต่อยู่นานหรืออยู่ไม่นานเท่านั้นเอง มองไปไกลมากๆ ยังไงก็ต้องตายจาก
ผมชอบประโยคหนึ่งมากเลยครับ ของเคนน
"In the long run, we are all die."
ลงทุนอย่างมีสติ ใช้ชีวิตอย่างมีความสุขดีกว่าครับ
การลงทุนที่มีค่าที่สุด คือการลงทุนในความรู้
http://www.yoyoway.com
http://www.yoyoway.com
- kabu
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 2149
- ผู้ติดตาม: 0
Re: หมั่นฝึกปรือกับเป้าจริง
โพสต์ที่ 54
ขอบคุณมากครับ ที่ดันกระทู้ดีดีขึ้นมาให้อ่านกัน
ผมต้องไปซื้อ Good to Great มาอ่านซะหน่อยแล้วครับ
ผมต้องไปซื้อ Good to Great มาอ่านซะหน่อยแล้วครับ
"หนทางเดียวที่จะก้าวพ้นขอบเขตของความเป็นไปได้ คือก้าวเข้าสู่ความเป็นไปไม่ได้", Arthur C. Clarke
สมุดบันทึก: http://kabuvi.wordpress.com/
สมุดบันทึก: http://kabuvi.wordpress.com/
- ดำ
- Verified User
- โพสต์: 4366
- ผู้ติดตาม: 1
Re: หมั่นฝึกปรือกับเป้าจริง
โพสต์ที่ 56
ทั้งหมดของกระทู้นี้เป็นเพียงความเชื่อ การทดลองส่วนบุคคล ไม่ได้หมายความว่าเป็นตัวแทนความจริงทั้งหมด
แนวทางการลงทุนที่สร้างผลตอบแทนเทียบกับความเสี่ยงที่ดีที่สุดก็ไม่ได้มีแนวเดียว
ทุกแนวมีจุดอ่อนจุดแข็งทั้งนั้น เลือกเอาที่เหมาะกับตนเอง ไม่จำเป็นต้องเทียบกับแนวที่ไม่ถนัด
เหนือฟ้ายังมีฟ้า แต่เรายังอาจไม่เคยเห็นเท่านั้น
แนวทางการลงทุนที่สร้างผลตอบแทนเทียบกับความเสี่ยงที่ดีที่สุดก็ไม่ได้มีแนวเดียว
ทุกแนวมีจุดอ่อนจุดแข็งทั้งนั้น เลือกเอาที่เหมาะกับตนเอง ไม่จำเป็นต้องเทียบกับแนวที่ไม่ถนัด
เหนือฟ้ายังมีฟ้า แต่เรายังอาจไม่เคยเห็นเท่านั้น
-
- Verified User
- โพสต์: 100
- ผู้ติดตาม: 0
Re: หมั่นฝึกปรือกับเป้าจริง
โพสต์ที่ 57
วันนี้เพิ่งนั่งเถียงกับเพื่อนเรื่องเทคนิคกับ vi
เพื่อนบอกว่า vi เป็น subjective คือแต่ละคนตีความไม่เหมือนกัน
เค้าเลยเลือกสายเทคนิค ดูกราฟอย่างเดียว ทำตามระบบที่สัญญานบอกไม่ต้องตีความ
( ลืมบอกเพื่อนว่าเจ้าก็รู้เทคนิคเหมือนกันแถมเก่งกว่าเราอีก 55)
เลยนึกถึงเกรแฮม ที่ไม่ดูปัจจัยคุณภาพเป็นหลักเพราะคำนวนไม่ได้ เป็น subjective เหมือนกัน
แต่เราว่า vi เหมือนกีฬากอล์ฟ คือเป็นการเอาชนะตัวเอง และทำไปได้ตลอดชีวิต
ไม่ต้องตีโฮลอินวัน ใครตีได้ตามแผนและเสียน้อยที่สุดก็ชนะ ตีในสนามที่เราชำนาญโอกาสเสียก็น้อย
แต่สายเทคนิค เหมือนกีฬาฟุตบอล เทนนิส. จะพีคในช่วงอายุนึง แล้วเลิกไปทำอย่างอื่นแทน. เพราะจริงๆแล้วถ้าเทคนิคทำผลตอบแทนได้มหาศาลทุกปียาวนานจะต้องมีคนแซงบัฟเฟตได้แน่นอน
เพื่อนบอกว่า vi เป็น subjective คือแต่ละคนตีความไม่เหมือนกัน
เค้าเลยเลือกสายเทคนิค ดูกราฟอย่างเดียว ทำตามระบบที่สัญญานบอกไม่ต้องตีความ
( ลืมบอกเพื่อนว่าเจ้าก็รู้เทคนิคเหมือนกันแถมเก่งกว่าเราอีก 55)
เลยนึกถึงเกรแฮม ที่ไม่ดูปัจจัยคุณภาพเป็นหลักเพราะคำนวนไม่ได้ เป็น subjective เหมือนกัน
แต่เราว่า vi เหมือนกีฬากอล์ฟ คือเป็นการเอาชนะตัวเอง และทำไปได้ตลอดชีวิต
ไม่ต้องตีโฮลอินวัน ใครตีได้ตามแผนและเสียน้อยที่สุดก็ชนะ ตีในสนามที่เราชำนาญโอกาสเสียก็น้อย
แต่สายเทคนิค เหมือนกีฬาฟุตบอล เทนนิส. จะพีคในช่วงอายุนึง แล้วเลิกไปทำอย่างอื่นแทน. เพราะจริงๆแล้วถ้าเทคนิคทำผลตอบแทนได้มหาศาลทุกปียาวนานจะต้องมีคนแซงบัฟเฟตได้แน่นอน