การคำนวณD/E ครับปกติ ค่าD นี้เราควรเอาเฉพาะหนี้ที่มีดอกเบี้ย
-
- Verified User
- โพสต์: 448
- ผู้ติดตาม: 0
การคำนวณD/E ครับปกติ ค่าD นี้เราควรเอาเฉพาะหนี้ที่มีดอกเบี้ย
โพสต์ที่ 1
สอบถามเรื่องการคำนวณD/E ครับปกติ ค่าD นี้เราควรเอาเฉพาะหนี้ที่มีดอกเบี้ยมั้ยครับ เพื่อว่าสะท้อนสถานะทางการเงินหรือหนี้ของบริษัทได้ดีกว่าครับ
ชอบศึกษาหุ้นเชิงวิชาการมาก
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 430
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การคำนวณD/E ครับปกติ ค่าD นี้เราควรเอาเฉพาะหนี้ที่มีดอกเ
โพสต์ที่ 3
ไม่มีคนตอบเลย งั้นผมขอตอบนะ
ปกติเวลาผมคิด ผมเอาหนี้ที่มีแต่ดอกเบี้ยมาคิดน่ะครับ แต่ต้องประมาณด้วย
เมื่อก่อนไม่ได้ใส่ใจ เลยไม่ได้ซื้อพวกห้างเลย
(CPALL หนี้เยอะมาก แต่ไม่มีดอก หนี้จากของขนมที่ขายอยู่) เสียดายเลยล่ะ)
แต่ CPN คนละเรื่องนะ
ปล. ไม่ค่อยเก่งเท่าไรนะครับ
ปกติเวลาผมคิด ผมเอาหนี้ที่มีแต่ดอกเบี้ยมาคิดน่ะครับ แต่ต้องประมาณด้วย
เมื่อก่อนไม่ได้ใส่ใจ เลยไม่ได้ซื้อพวกห้างเลย
(CPALL หนี้เยอะมาก แต่ไม่มีดอก หนี้จากของขนมที่ขายอยู่) เสียดายเลยล่ะ)
แต่ CPN คนละเรื่องนะ
ปล. ไม่ค่อยเก่งเท่าไรนะครับ
ปล ความเห็นส่วนตัว
-
- Verified User
- โพสต์: 448
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การคำนวณD/E ครับปกติ ค่าD นี้เราควรเอาเฉพาะหนี้ที่มีดอกเ
โพสต์ที่ 5
ตกลงเวลาเราคำนวณd/e เราควรเอาเฉพาะหนี้ที่มีดอกเบี้ยใช่มั้ยครับ เพื่อให้สะท้อนสถานนะทางการเงินของบริษัทที่แท้จริงมากกว่า การใช้d/e ธรรมดา ทำไมหนังสือไม่เคยเขียนบอกผมเลยเนี้ย ต้องมาพลิกแพลงเองอีกแล้ว มันยากตรงที่ต้องมาพลิกแพลงนี้ละครับ
ชอบศึกษาหุ้นเชิงวิชาการมาก
- ^^
- Verified User
- โพสต์: 519
- ผู้ติดตาม: 1
Re: การคำนวณD/E ครับปกติ ค่าD นี้เราควรเอาเฉพาะหนี้ที่มีดอกเ
โพสต์ที่ 6
What Does Debt/Equity Ratio Mean?
A measure of a company's financial leverage calculated by dividing its total liabilities by stockholders' equity. It indicates what proportion of equity and debt the company is using to finance its assets.
Total Liabilities
Shareholders Equity
Note: Sometimes only interest-bearing, long-term debt is used instead of total liabilities in the calculation.
Also known as the Personal Debt/Equity Ratio, this ratio can be applied to personal financial statements as well as corporate ones.
Watch: The Debt To Equity Ratio
Investopedia explains Debt/Equity Ratio
A high debt/equity ratio generally means that a company has been aggressive in financing its growth with debt. This can result in volatile earnings as a result of the additional interest expense.
If a lot of debt is used to finance increased operations (high debt to equity), the company could potentially generate more earnings than it would have without this outside financing. If this were to increase earnings by a greater amount than the debt cost (interest), then the shareholders benefit as more earnings are being spread among the same amount of shareholders. However, the cost of this debt financing may outweigh the return that the company generates on the debt through investment and business activities and become too much for the company to handle. This can lead to bankruptcy, which would leave shareholders with nothing.
The debt/equity ratio also depends on the industry in which the company operates. For example, capital-intensive industries such as auto manufacturing tend to have a debt/equity ratio above 2, while personal computer companies have a debt/equity of under 0.5.
ที่มา http://www.investopedia.com/terms/d/deb ... z1W3eP7p5G
Read more: http://www.investopedia.com/terms/d/deb ... z1W3eoKqmj
A measure of a company's financial leverage calculated by dividing its total liabilities by stockholders' equity. It indicates what proportion of equity and debt the company is using to finance its assets.
Total Liabilities
Shareholders Equity
Note: Sometimes only interest-bearing, long-term debt is used instead of total liabilities in the calculation.
Also known as the Personal Debt/Equity Ratio, this ratio can be applied to personal financial statements as well as corporate ones.
Watch: The Debt To Equity Ratio
Investopedia explains Debt/Equity Ratio
A high debt/equity ratio generally means that a company has been aggressive in financing its growth with debt. This can result in volatile earnings as a result of the additional interest expense.
If a lot of debt is used to finance increased operations (high debt to equity), the company could potentially generate more earnings than it would have without this outside financing. If this were to increase earnings by a greater amount than the debt cost (interest), then the shareholders benefit as more earnings are being spread among the same amount of shareholders. However, the cost of this debt financing may outweigh the return that the company generates on the debt through investment and business activities and become too much for the company to handle. This can lead to bankruptcy, which would leave shareholders with nothing.
The debt/equity ratio also depends on the industry in which the company operates. For example, capital-intensive industries such as auto manufacturing tend to have a debt/equity ratio above 2, while personal computer companies have a debt/equity of under 0.5.
ที่มา http://www.investopedia.com/terms/d/deb ... z1W3eP7p5G
Read more: http://www.investopedia.com/terms/d/deb ... z1W3eoKqmj
หุ้นมันอยู่รอบๆตัวเราเสมอ
-
- Verified User
- โพสต์: 99
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การคำนวณD/E ครับปกติ ค่าD นี้เราควรเอาเฉพาะหนี้ที่มีดอกเ
โพสต์ที่ 10
ผมว่าก็ควรดูทั้ง 2 ตัวประกอบกันที้ง D/E ratio จาก D ที่มีดอกเบี้ย
และ D/E ratio จาก D ทั้งหมด
เพราะ เจ้าหนี้การค้าก็เป็นหนี้ที่ต้องจ่ายอยู่ดี แต่ก็ต้องดู business model ประกอบด้วยครับ
อย่างเช่น CPALL ก็ไม่ต้องไปสนใจในส่วนเจ้าหนี้ก็ได้เพราะ เงินสดแข็งแกร่งมาก แถมขายเงินสด ซื้อของเงินเชื่อ
แบบนี้ไม่มีปัญหาจ่ายเจ้าหนี้การค้าแน่นอน
แต่ถ้าธุรกิจแบบ ขายเงินเชื่อ ซื้อของเงินเชื่อ ก็ต้องดู D/E ทั้งหมดประกอบหน่อยก็ดีครับ เพราะเวลาบริษัท
มีปัญหา เจ้าพวกนี้ก็มาทวงเงินอยู่ดี
แต่เท่าที่ผมศึกษาเรื่องการดูภาระหนี้สินของบริษัทว่ามากหรือน้อยนั้น ตัวที่สำคัญกว่าคือ
หนี้ที่มีดอกเบี้ยเทียบกับกระแสเงินสดจากการดำเนินงานครับ ถ้าไม่เกิน 5-6 เท่าก็ OK ครับ
อันนี้เป็นข้อความบางส่วนที่ ดร.นิเวศน์เคยให้สัมภาษณ์ไว้ในรายการ investor station ครับ
ไม่ดูอัตราส่วนหนี้สินต่อทุน
ในการลงทุนโดยปกติผมไม่ดูอัตราส่วนหนี้สินต่อทุน (D/E) เลย แต่จะไปดูที่ยอดหนี้เลยว่ามีกี่ล้าน
แล้วมาดูเปรียบเทียบว่าหนี้ตรงนั้นมันสูงเกินฐานะทางธุรกิจหรือเปล่า มันจะมีความเสี่ยงที่จะล้มละลายมากน้อยแค่ไหน
อย่างเช่น ธุรกิจโรงไฟฟ้าพวกนี้ถึงจะมีหนี้แต่ก็ไม่ใช่ปัญหามาก เพราะมีกระแสเงินสดแน่นอนเข้ามาหล่อเลี้ยง
แต่บางบริษัทรายได้ไม่แน่นอนถึงจะมี D/E แค่ 1 เท่า แต่ถ้าเกิดพลาดขึ้นมามันหมายความว่าอาจจะเป็นอะไรไป
หรือมีปัญหาก็ได้ เพราะฉะนั้นหนี้ของแต่ละบริษัทมีผลกระทบไม่เท่ากัน
ดังนั้นการมองจึงต้องเทียบหนี้กับความมั่นคงของกระแสเงินสด
และ D/E ratio จาก D ทั้งหมด
เพราะ เจ้าหนี้การค้าก็เป็นหนี้ที่ต้องจ่ายอยู่ดี แต่ก็ต้องดู business model ประกอบด้วยครับ
อย่างเช่น CPALL ก็ไม่ต้องไปสนใจในส่วนเจ้าหนี้ก็ได้เพราะ เงินสดแข็งแกร่งมาก แถมขายเงินสด ซื้อของเงินเชื่อ
แบบนี้ไม่มีปัญหาจ่ายเจ้าหนี้การค้าแน่นอน
แต่ถ้าธุรกิจแบบ ขายเงินเชื่อ ซื้อของเงินเชื่อ ก็ต้องดู D/E ทั้งหมดประกอบหน่อยก็ดีครับ เพราะเวลาบริษัท
มีปัญหา เจ้าพวกนี้ก็มาทวงเงินอยู่ดี
แต่เท่าที่ผมศึกษาเรื่องการดูภาระหนี้สินของบริษัทว่ามากหรือน้อยนั้น ตัวที่สำคัญกว่าคือ
หนี้ที่มีดอกเบี้ยเทียบกับกระแสเงินสดจากการดำเนินงานครับ ถ้าไม่เกิน 5-6 เท่าก็ OK ครับ
อันนี้เป็นข้อความบางส่วนที่ ดร.นิเวศน์เคยให้สัมภาษณ์ไว้ในรายการ investor station ครับ
ไม่ดูอัตราส่วนหนี้สินต่อทุน
ในการลงทุนโดยปกติผมไม่ดูอัตราส่วนหนี้สินต่อทุน (D/E) เลย แต่จะไปดูที่ยอดหนี้เลยว่ามีกี่ล้าน
แล้วมาดูเปรียบเทียบว่าหนี้ตรงนั้นมันสูงเกินฐานะทางธุรกิจหรือเปล่า มันจะมีความเสี่ยงที่จะล้มละลายมากน้อยแค่ไหน
อย่างเช่น ธุรกิจโรงไฟฟ้าพวกนี้ถึงจะมีหนี้แต่ก็ไม่ใช่ปัญหามาก เพราะมีกระแสเงินสดแน่นอนเข้ามาหล่อเลี้ยง
แต่บางบริษัทรายได้ไม่แน่นอนถึงจะมี D/E แค่ 1 เท่า แต่ถ้าเกิดพลาดขึ้นมามันหมายความว่าอาจจะเป็นอะไรไป
หรือมีปัญหาก็ได้ เพราะฉะนั้นหนี้ของแต่ละบริษัทมีผลกระทบไม่เท่ากัน
ดังนั้นการมองจึงต้องเทียบหนี้กับความมั่นคงของกระแสเงินสด
-
- Verified User
- โพสต์: 448
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การคำนวณD/E ครับปกติ ค่าD นี้เราควรเอาเฉพาะหนี้ที่มีดอกเ
โพสต์ที่ 11
จากที่อ่านมาเหมือนกับว่าเขาต้องการบอกว่าการกู้หนี้ทำให้บริษัทเติบโตได้รวดเร็วแต่ว่าหนี้เยอะเกินไป ก็จะไปทำลายgrowth ได้เหมือนกันกันเพราะว่าต้นทุนของหนี้คือดอกเบี้ย นี้เขาก็ไม่ได้เน้นไปทางหนี้ที่ไม่มีดอกเบี้ยนี้ครับ แสดงว่าการคำนวณd/e เราควรใช้หนี้ที่มีดอกเบี้ยในการคำนวณ ???? จริงๆเหรอ^^ เขียน:What Does Debt/Equity Ratio Mean?
A measure of a company's financial leverage calculated by dividing its total liabilities by stockholders' equity. It indicates what proportion of equity and debt the company is using to finance its assets.
Total Liabilities
Shareholders Equity
Note: Sometimes only interest-bearing, long-term debt is used instead of total liabilities in the calculation.
Also known as the Personal Debt/Equity Ratio, this ratio can be applied to personal financial statements as well as corporate ones.
Watch: The Debt To Equity Ratio
Investopedia explains Debt/Equity Ratio
A high debt/equity ratio generally means that a company has been aggressive in financing its growth with debt. This can result in volatile earnings as a result of the additional interest expense.
If a lot of debt is used to finance increased operations (high debt to equity), the company could potentially generate more earnings than it would have without this outside financing. If this were to increase earnings by a greater amount than the debt cost (interest), then the shareholders benefit as more earnings are being spread among the same amount of shareholders. However, the cost of this debt financing may outweigh the return that the company generates on the debt through investment and business activities and become too much for the company to handle. This can lead to bankruptcy, which would leave shareholders with nothing.
The debt/equity ratio also depends on the industry in which the company operates. For example, capital-intensive industries such as auto manufacturing tend to have a debt/equity ratio above 2, while personal computer companies have a debt/equity of under 0.5.
ที่มา http://www.investopedia.com/terms/d/deb ... z1W3eP7p5G
Read more: http://www.investopedia.com/terms/d/deb ... z1W3eoKqmj
ชอบศึกษาหุ้นเชิงวิชาการมาก
-
- Verified User
- โพสต์: 448
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การคำนวณD/E ครับปกติ ค่าD นี้เราควรเอาเฉพาะหนี้ที่มีดอกเ
โพสต์ที่ 12
สัญญาฟิวเจอร์ กับรายการผูกพันนอกงบดุล นี้มันอยู่ส่วนไหนของงบการเงินเหรอครับWarantact เขียน:ใช้หนี้ที่มีดอกเบี้ย+สัญญาฟิวเจอร์ กับรายการผูกพันนอกงบดุลครับ
ชอบศึกษาหุ้นเชิงวิชาการมาก
-
- Verified User
- โพสต์: 448
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การคำนวณD/E ครับปกติ ค่าD นี้เราควรเอาเฉพาะหนี้ที่มีดอกเ
โพสต์ที่ 13
ขอบคุณมากนะครับchootana เขียน:น้อง cybershot นี่ซุ๋มเงียบจริงๆ ขยันหาความรู้มากๆ ซักวันคงเป็น vi ที่ดีได้ นับถือๆ
ชอบศึกษาหุ้นเชิงวิชาการมาก
-
- Verified User
- โพสต์: 448
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การคำนวณD/E ครับปกติ ค่าD นี้เราควรเอาเฉพาะหนี้ที่มีดอกเ
โพสต์ที่ 14
แต่ผมเห็นบ้างบริษัท เขามีเงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำเนินงาน ก็เอามาเทียบไม่ได้อ่ะสิครับtingun เขียน:ผมว่าก็ควรดูทั้ง 2 ตัวประกอบกันที้ง D/E ratio จาก D ที่มีดอกเบี้ย
และ D/E ratio จาก D ทั้งหมด
เพราะ เจ้าหนี้การค้าก็เป็นหนี้ที่ต้องจ่ายอยู่ดี แต่ก็ต้องดู business model ประกอบด้วยครับ
อย่างเช่น CPALL ก็ไม่ต้องไปสนใจในส่วนเจ้าหนี้ก็ได้เพราะ เงินสดแข็งแกร่งมาก แถมขายเงินสด ซื้อของเงินเชื่อ
แบบนี้ไม่มีปัญหาจ่ายเจ้าหนี้การค้าแน่นอน
แต่ถ้าธุรกิจแบบ ขายเงินเชื่อ ซื้อของเงินเชื่อ ก็ต้องดู D/E ทั้งหมดประกอบหน่อยก็ดีครับ เพราะเวลาบริษัท
มีปัญหา เจ้าพวกนี้ก็มาทวงเงินอยู่ดี
แต่เท่าที่ผมศึกษาเรื่องการดูภาระหนี้สินของบริษัทว่ามากหรือน้อยนั้น ตัวที่สำคัญกว่าคือ
หนี้ที่มีดอกเบี้ยเทียบกับกระแสเงินสดจากการดำเนินงานครับ ถ้าไม่เกิน 5-6 เท่าก็ OK ครับ
อันนี้เป็นข้อความบางส่วนที่ ดร.นิเวศน์เคยให้สัมภาษณ์ไว้ในรายการ investor station ครับ
ไม่ดูอัตราส่วนหนี้สินต่อทุน
ในการลงทุนโดยปกติผมไม่ดูอัตราส่วนหนี้สินต่อทุน (D/E) เลย แต่จะไปดูที่ยอดหนี้เลยว่ามีกี่ล้าน
แล้วมาดูเปรียบเทียบว่าหนี้ตรงนั้นมันสูงเกินฐานะทางธุรกิจหรือเปล่า มันจะมีความเสี่ยงที่จะล้มละลายมากน้อยแค่ไหน
อย่างเช่น ธุรกิจโรงไฟฟ้าพวกนี้ถึงจะมีหนี้แต่ก็ไม่ใช่ปัญหามาก เพราะมีกระแสเงินสดแน่นอนเข้ามาหล่อเลี้ยง
แต่บางบริษัทรายได้ไม่แน่นอนถึงจะมี D/E แค่ 1 เท่า แต่ถ้าเกิดพลาดขึ้นมามันหมายความว่าอาจจะเป็นอะไรไป
หรือมีปัญหาก็ได้ เพราะฉะนั้นหนี้ของแต่ละบริษัทมีผลกระทบไม่เท่ากัน
ดังนั้นการมองจึงต้องเทียบหนี้กับความมั่นคงของกระแสเงินสด
ชอบศึกษาหุ้นเชิงวิชาการมาก
-
- Verified User
- โพสต์: 448
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การคำนวณD/E ครับปกติ ค่าD นี้เราควรเอาเฉพาะหนี้ที่มีดอกเ
โพสต์ที่ 15
แต่ผมเคยอ่านวอเรน ชอบบริษัทที่มีหนี้ไม่เกินห้าเท่าของกำไร ประมาณว่าโตได้ด้วยกำไร แต่หายากมากเลยครับ
ชอบศึกษาหุ้นเชิงวิชาการมาก
- ^^
- Verified User
- โพสต์: 519
- ผู้ติดตาม: 1
Re: การคำนวณD/E ครับปกติ ค่าD นี้เราควรเอาเฉพาะหนี้ที่มีดอกเ
โพสต์ที่ 16
สะท้อนฐานะการเงินได้ดีกว่า=ละเอียดกว่า
ละเอียดกว่า ผมว่าก็ควรที่จะดูครอบคลุมทั้งหมดหรือเปล่าครับ
ไม่ใช่ดูแค่ภาพรวม แต่ดูรายละเอียดด้วย
ถ้าใช้แสกนดูงบดุลผ่านๆ ผมว่าคงใช้ดูหนี้ทั้งหมดก่อน ว่ามีความเสี่ยงแค่ไหนจากงบดุล
แต่หนี้ที่มีดอกเบี้ยเทียบกับเงินสดจากการดำเนินงานดูประสิทธิภาพว่า ไอ้ที่ข้างบนบอกว่าดีจริงๆนั้น ทำเงินได้เยอะกว่าที่กู้ไหม
อันนี้ความเห็นผมนะ แชร์ความรู้เท่าที่มีนี่แหละ รอผู้รู้มากกว่านี้มาตอบครับ ผมจะได้รู้เพิ่มเติมด้วย บอกด้วยนะครับว่าทำไมเป็นอย่างนั้น
ละเอียดกว่า ผมว่าก็ควรที่จะดูครอบคลุมทั้งหมดหรือเปล่าครับ
ไม่ใช่ดูแค่ภาพรวม แต่ดูรายละเอียดด้วย
ถ้าใช้แสกนดูงบดุลผ่านๆ ผมว่าคงใช้ดูหนี้ทั้งหมดก่อน ว่ามีความเสี่ยงแค่ไหนจากงบดุล
แต่หนี้ที่มีดอกเบี้ยเทียบกับเงินสดจากการดำเนินงานดูประสิทธิภาพว่า ไอ้ที่ข้างบนบอกว่าดีจริงๆนั้น ทำเงินได้เยอะกว่าที่กู้ไหม
อันนี้ความเห็นผมนะ แชร์ความรู้เท่าที่มีนี่แหละ รอผู้รู้มากกว่านี้มาตอบครับ ผมจะได้รู้เพิ่มเติมด้วย บอกด้วยนะครับว่าทำไมเป็นอย่างนั้น
หุ้นมันอยู่รอบๆตัวเราเสมอ
-
- Verified User
- โพสต์: 448
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การคำนวณD/E ครับปกติ ค่าD นี้เราควรเอาเฉพาะหนี้ที่มีดอกเ
โพสต์ที่ 17
วันนี้ตอนนั่งกินข้าวก็นั่งคิดไปว่าจะทำยังไง จากหนังสือหุ้นที่อ่านมา เพราะผมก็ไม่ได้รู้อะไรเยอะมาก สำหรับผม ผมคิดว่าน่าเราน่าจะเอาd/eเทียบกับroe เป็นไงครับ เพราะว่า หุ้นที่มีd/e มากกว่า 2 ผมจะให้roe สูงกว่า25อ่ะครับ(ยกเว้นหุ้นcommodityนะ เพราะผมดูไม่เป็น) แล้วผมจะให้พีอีต่ำๆหน่อยเช่นอาจจะ 10 หรือ 8 เพื่อคุ้มกับความเสี่ยงที่ผมจะต้องแบกรับครับ เพราะว่าการใช้D แบบรวมหนี้ทั้งหมด หรือหนี้ที่มีดอกเบี้ย ผมก็ยังนึกภาพไม่ค่อยออกถึงประโยชน์ของมันอยู่ดีอ่ะครับ ถ้าดูสภาพคล่องผมจะไปดูที่ เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำเนินงาน อ่ะครับ ว่าเขาค้าขายเขาได้กำไรรึเปล่า
ชอบศึกษาหุ้นเชิงวิชาการมาก
-
- Verified User
- โพสต์: 448
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การคำนวณD/E ครับปกติ ค่าD นี้เราควรเอาเฉพาะหนี้ที่มีดอกเ
โพสต์ที่ 18
ผมก็ลองshare ๆ มุมมองดูเหมือนกันอ่ะครับ
ชอบศึกษาหุ้นเชิงวิชาการมาก
-
- Verified User
- โพสต์: 448
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การคำนวณD/E ครับปกติ ค่าD นี้เราควรเอาเฉพาะหนี้ที่มีดอกเ
โพสต์ที่ 20
อยากงี้เราจะบอกได้มั้ยครับว่าถ้าบริษัทหนึ่งมีอัตราส่วนของหนี้เป็นหนี้ไม่มีดอกเบี้ยมากว่าหนี้ที่มีดอกเบี้ย น่าจะดีกว่าบริษัทในอุตสาหกรรมเดียวกันที่มีอัตราส่วนของหนี้ไม่มีดอกเบี้ยน้อยกว่าหนี้ที่มีดอกเบี้ย
เพราะการมีหนี้ไม่มีดอกเบี้ยมากกว่านั้นหมายถึง เขาได้รับcredit หรือความเชื่อถือจากsupplier มากกว่านั้นเองครับ
เพราะการมีหนี้ไม่มีดอกเบี้ยมากกว่านั้นหมายถึง เขาได้รับcredit หรือความเชื่อถือจากsupplier มากกว่านั้นเองครับ
ชอบศึกษาหุ้นเชิงวิชาการมาก
- ^^
- Verified User
- โพสต์: 519
- ผู้ติดตาม: 1
Re: การคำนวณD/E ครับปกติ ค่าD นี้เราควรเอาเฉพาะหนี้ที่มีดอกเ
โพสต์ที่ 21
เห็นด้วยครับ เรื่องอำนาจต่อรอง แต่ถ้าเยอะไป หาเงินไม่ได้แล้วหนี้ก็เยอะอยู่แล้วจะกู้ก็ยากอีกและไม่ใช่ธุรกิจเงินสด ผมก็หนาวๆนะ
ผมรอผู้รู้และ หมดแม๊ก เวบนี้มีคนใจดีตอบ ผมก็รอฟังอยู่ด้วย อิอิ
ผมรอผู้รู้และ หมดแม๊ก เวบนี้มีคนใจดีตอบ ผมก็รอฟังอยู่ด้วย อิอิ
หุ้นมันอยู่รอบๆตัวเราเสมอ