การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
-
- Verified User
- โพสต์: 5
- ผู้ติดตาม: 0
การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 1
หลายคนคงเคยสงสัยว่าทำไมบริษัทที่มีปัญหาขาดทุนติดต่อกันเป็นเวลาหลายปี และใกล้ล้มละลายอยู่ๆก็พลิกกลับมามีกำไรมหาศาล และประกาศว่า บริษัทได้”กำไรที่เกิดจากการปรับโครงสร้างหนี้”
อะไรคือการปรับโครงสร้างหนี้??
เมื่อบริษัทประสบปัญหาทางการเงินและมีหนี้สินจำนวนมากจนไม่สามารถชำระคืนได้ บริษัทจำเป็นต้องทำการเจรจากับสถาบันการเงินผู้เป็นเจ้าหนี้เพื่อทำการปรับโครงสร้างหนี้ (หรืออธิบายง่ายๆ ว่าขอจ่ายหนี้น้อยลง)
การปรับโครงสร้างหนี้ มี2แบบคือ
1. การปลดภาระหนี้
บริษัทลูกหนี้จะเจรจาขอจ่ายหนี้ด้วยการโอนทรัพย์สินของบริษัทให้เจ้าหนี้ เช่น เงินสด ที่ดิน ส่วนได้เสียในส่วนของเจ้าของ (เช่น การโอนหุ้น) โดยเป็นการจ่ายครั้งเดียวเพื่อชำระหนี้ทั้งหมด
2. การคงสภาพหนี้ โดนเปลี่ยนเงื่อนไขการชำระ
การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชำระเป็นไปได้ทั้งการลดดอกเบี้ย การขยายระยะเวลาการชำระหนี้ การลดยอดเงินต้น และการลดยอดดอกเบี้ยที่ค้างชำระ
เงื่อนไขจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรขึ้นอยู่กับการเจรจาของเจ้าหนี้และลูกหนี้ บางครั้งเจ้าหนี้และลูกหนี้อาจตกลงปรับโครงสร้างหนี้โดยใช้ทั้ง 2 วิธีควบคู่กันไป
แล้วทำไมการปรับโครงสร้างหนี้ถึงทำให้บริษัทลูกหนี้มีกำไร??
การปรับโครงสร้างหนี้คือ การขอจ่ายหนี้น้อยลง ดังนั้น จำนวนหนี้ที่ลูกหนี้ต้องจ่ายจริงจึงน้อยกว่าจำนวนหนี้ที่บันทึกไว้ ส่วนต่างที่เกิดขึ้นนี้เรียกว่า “กำไรจากการปรับโครงสร้างหนี้” ซึ่งลูกหนี้จะบันทึกเป็นกำไรในงบกำไรขาดทุนทันทีที่การเจรจาเพื่อปรับโครงสร้างหนี้สำเร็จลง
หากทุกท่านมีข้อสงสัยตรงไหน ทิ้งคำถามไว้ได้เลยนะครับ
อะไรคือการปรับโครงสร้างหนี้??
เมื่อบริษัทประสบปัญหาทางการเงินและมีหนี้สินจำนวนมากจนไม่สามารถชำระคืนได้ บริษัทจำเป็นต้องทำการเจรจากับสถาบันการเงินผู้เป็นเจ้าหนี้เพื่อทำการปรับโครงสร้างหนี้ (หรืออธิบายง่ายๆ ว่าขอจ่ายหนี้น้อยลง)
การปรับโครงสร้างหนี้ มี2แบบคือ
1. การปลดภาระหนี้
บริษัทลูกหนี้จะเจรจาขอจ่ายหนี้ด้วยการโอนทรัพย์สินของบริษัทให้เจ้าหนี้ เช่น เงินสด ที่ดิน ส่วนได้เสียในส่วนของเจ้าของ (เช่น การโอนหุ้น) โดยเป็นการจ่ายครั้งเดียวเพื่อชำระหนี้ทั้งหมด
2. การคงสภาพหนี้ โดนเปลี่ยนเงื่อนไขการชำระ
การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชำระเป็นไปได้ทั้งการลดดอกเบี้ย การขยายระยะเวลาการชำระหนี้ การลดยอดเงินต้น และการลดยอดดอกเบี้ยที่ค้างชำระ
เงื่อนไขจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรขึ้นอยู่กับการเจรจาของเจ้าหนี้และลูกหนี้ บางครั้งเจ้าหนี้และลูกหนี้อาจตกลงปรับโครงสร้างหนี้โดยใช้ทั้ง 2 วิธีควบคู่กันไป
แล้วทำไมการปรับโครงสร้างหนี้ถึงทำให้บริษัทลูกหนี้มีกำไร??
การปรับโครงสร้างหนี้คือ การขอจ่ายหนี้น้อยลง ดังนั้น จำนวนหนี้ที่ลูกหนี้ต้องจ่ายจริงจึงน้อยกว่าจำนวนหนี้ที่บันทึกไว้ ส่วนต่างที่เกิดขึ้นนี้เรียกว่า “กำไรจากการปรับโครงสร้างหนี้” ซึ่งลูกหนี้จะบันทึกเป็นกำไรในงบกำไรขาดทุนทันทีที่การเจรจาเพื่อปรับโครงสร้างหนี้สำเร็จลง
หากทุกท่านมีข้อสงสัยตรงไหน ทิ้งคำถามไว้ได้เลยนะครับ
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 131
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 2
แฮะๆ ผมโพสถามหลายกระทู้เลยครับ แต่ก่อนผมลงทุนโดยดู bottom line เป้นหลัก และความรู้ด้านงบการเงินน้อยมากครับ โชคดีที่ใช้ การวิเคราะห์ด้านคุณภาพ ควบคู่ไปด้วยจึงทำให้ยังการล่องเรือผ่านคลื่นลมใน set ยังอยู่รอดปลอดภัย แต่ยิ่งเวลาเดินเรือด้านการลงทุนผ่านไปยิ่งทำให้ผมสนใจศึกษาด้านงบการเงินเพิ่มเติมเรื่อยๆ เรียกได้ว่าเป็น on the job training กันเลยทีเดียว และการปรับโครงสร้างหนี้ ทำให้กำไร ก็เป็นประเด็กที่ทำให้ผมยังงงๆอยู่จนถึงทุกวันนี้ ผมจะขอสรุปตามที่ผมเข้าใจแล้วช่วยตรวจสอบว่าถูกต้องมั้ยนะครับ
สมมุติปี x บริษัทมีหนี้พร้อมดอกเท่ากับ 100 ล้านบาท
ปีถัดมามามีการ เจรจาลดต้นลดดอก เหลือสุทธิ 80 ล้านบาท
ทำให้ปีนี้บริษัทจะลงบันทึกในงบ กำไร ขาดทุน 20 ล้านบาท
เป็นแค่กำไรลมที่ไม่ได้มีการรับเป้นเงินสดจริง และค่านี้จะถูกลบออกจากงบกระแสเงินสด
ผมเข้าใจถูกต้องมั้ยครับ.... จริงๆยังเหลือเรื่องการลดทุนแล้วทำให้บริษัทมีกำไรที่ผมยังสงสัยอีกเรื่อง แต่ไว้จะโพสถามในหัวข้อที่ตรงกับเรื่องลดทุนจะได้ตรงกับหัวข้อ และผู้ที่เข้ามาอ่านตอนหลังได้ความรู้ตรงประเด็นในเรื่องที่ตนสนใจด้วยดีกว่า
ขอบคุณครับ
สมมุติปี x บริษัทมีหนี้พร้อมดอกเท่ากับ 100 ล้านบาท
ปีถัดมามามีการ เจรจาลดต้นลดดอก เหลือสุทธิ 80 ล้านบาท
ทำให้ปีนี้บริษัทจะลงบันทึกในงบ กำไร ขาดทุน 20 ล้านบาท
เป็นแค่กำไรลมที่ไม่ได้มีการรับเป้นเงินสดจริง และค่านี้จะถูกลบออกจากงบกระแสเงินสด
ผมเข้าใจถูกต้องมั้ยครับ.... จริงๆยังเหลือเรื่องการลดทุนแล้วทำให้บริษัทมีกำไรที่ผมยังสงสัยอีกเรื่อง แต่ไว้จะโพสถามในหัวข้อที่ตรงกับเรื่องลดทุนจะได้ตรงกับหัวข้อ และผู้ที่เข้ามาอ่านตอนหลังได้ความรู้ตรงประเด็นในเรื่องที่ตนสนใจด้วยดีกว่า
ขอบคุณครับ
Great businesses selling at a discount to their intrinsic value may also define as "Value Investment"
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 30
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 3
ขอขอบใจ น้อง nathapong.s
น้องได้โจทย์ที่น่าสนใจจากอาจารย์ เป็นหัวข้อยอดฮิตเมื่อปี 2540 (โดยประมาณ) ทุกวันนี้ บางบริษัทก็ยังใช้ กลบัญชีวิธีนี้อยู่ (ทำให้มองดูว่าบริษัทมีำกำไรเิพิ่ีมขึ้น)
เพื่อความเข้าใจมากขึ้น
1.) อยากให้ยกตัวอย่าง งบการเงินที่มีการปรับโครงสร้างหนี้ ประกอบการเขียน.
2.) ตามสมการ สินทรัีพย์ + ค่าใช้จ่าย = หนี้สิน + ทุน + รายได้
การปรับโครงสร้างหนี้ คิดไปคิดมาอย่างไร ถึงได้กำไร (ขาดทุน) ที่สำแดงในงบกำไรขาดทุนได้...
++++++++++++++++++++
น้อง nathapong.s เขียนอธิบาย โดยคิดว่า ผู้อ่านมีความรู้น้อยนิด.. เพราะว่ามีทั้งผู้ที่รู้แล้ว และยังไม่รู้ อ่านแล้วเกิดความเข้าใจ สามารถค้นคว้าหาความรู้ต่อได้
ถ้าเนื้อหาที่เขียนมาก ก็อาจจะเขียนสรุป ข้อดี ข้อเสีย ข้อควรระวัง เป็นต้น ชวนให้ผู้อ่านสรุปประเด็นที่เราเขียนได้ โดยยึดหลัก ของข้อมูลที่ดี คือ ถูกต้อง ตรงประเด็น ชัดเจน อ้างอิงได้ ฯลฯ
เป็นกำลังใจให้... เค้าว่านักบัญชี ไม่เก่งบรรยาย เก่งแต่ตัวเลข ... เค้าคงจะคิดผิด ..ฮาาา
น้องได้โจทย์ที่น่าสนใจจากอาจารย์ เป็นหัวข้อยอดฮิตเมื่อปี 2540 (โดยประมาณ) ทุกวันนี้ บางบริษัทก็ยังใช้ กลบัญชีวิธีนี้อยู่ (ทำให้มองดูว่าบริษัทมีำกำไรเิพิ่ีมขึ้น)
เพื่อความเข้าใจมากขึ้น
1.) อยากให้ยกตัวอย่าง งบการเงินที่มีการปรับโครงสร้างหนี้ ประกอบการเขียน.
2.) ตามสมการ สินทรัีพย์ + ค่าใช้จ่าย = หนี้สิน + ทุน + รายได้
การปรับโครงสร้างหนี้ คิดไปคิดมาอย่างไร ถึงได้กำไร (ขาดทุน) ที่สำแดงในงบกำไรขาดทุนได้...
++++++++++++++++++++
น้อง nathapong.s เขียนอธิบาย โดยคิดว่า ผู้อ่านมีความรู้น้อยนิด.. เพราะว่ามีทั้งผู้ที่รู้แล้ว และยังไม่รู้ อ่านแล้วเกิดความเข้าใจ สามารถค้นคว้าหาความรู้ต่อได้
ถ้าเนื้อหาที่เขียนมาก ก็อาจจะเขียนสรุป ข้อดี ข้อเสีย ข้อควรระวัง เป็นต้น ชวนให้ผู้อ่านสรุปประเด็นที่เราเขียนได้ โดยยึดหลัก ของข้อมูลที่ดี คือ ถูกต้อง ตรงประเด็น ชัดเจน อ้างอิงได้ ฯลฯ
เป็นกำลังใจให้... เค้าว่านักบัญชี ไม่เก่งบรรยาย เก่งแต่ตัวเลข ... เค้าคงจะคิดผิด ..ฮาาา
-
- Verified User
- โพสต์: 121
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 5
มีกำไรแล้วลดทุน ???? น่าสนมีด้วยหรือในตลาด ลดไปทำไม
มักเจอแต่บริษัทมีขาดทุนสะสมและลดทุนเพื่อล้างขาดทุนสะสม เพื่อเริมกันใหม่ ล้างไพ่ เพราะจะให้มีคนใหม่มาลงทุนด้วย ช่วยบอกทีว่ามีบริษัทไหนมีกำไร (สะสม) แล้วลดทุนบ้าง
แต่ถ้ามีขาดทุนสะสมมาหลายปี พอมีกำไรฟื้นขึ้นมา แล้วลดทุน เป็นเพราะอยากจ่ายปันผล เพราะบริษัทจ่ายปันผลไม่ได้กฎหมายไม่ให้หากยังมีขาดทุนสะสมอยู่ ต้องเอากไรล้างให้หมดก่อนถึงจ่ายได้
วิธีล้างขาดทุนสะสมได้เร็วสุดคือลดทุน กำไรปีต่อไปก็จ่ายปันผลได้แล้ว
การลดทุนโดยการตัดขาดทุนสะสมกับหุ้นทุน ส่วนผู้ถือหุ้นรวมไม่กระทบ เพราะขาดทุนสะสมก็นำมาหักลดส่วนผู้ถือหุ้นอยู่แล้ว ข้อเสียคือ หุ้นเราหายไปแน่นอน ข้อดีคือ ถ้าปีหน้ามีกำไรจะจ่ายปันผลได้ เพราะถ้ามีขาดทุนสะสมอยู่ต้องเอากำไรไปล้างให้หมดก่อน จึงจ่ายปันผลได้ หลายบริษัทที่ลดทุนเพราะเมื่อปรับโครงสร้างหนี้ นักลงทุนใหม่จะมาเขาไม่มาแบกขาดทุนสะสมหลายๆปีหรอก เขาเข้ามาแล้วถ้ามีกำไร เขาต้องได้ผลอบแทนคืน
การลดทุนแล้วได้กำไร?? ใครได้ครับ?? ผู้ถือหุ้นเดิมหุ้นหายเงินหายทันที แต่ที่ได้ประโยชน์คือ คนเข้ามาลงทุนใหม่
อ่านเพิ่มเติมได้ใน topic ทุนจดทะเบียน
มักเจอแต่บริษัทมีขาดทุนสะสมและลดทุนเพื่อล้างขาดทุนสะสม เพื่อเริมกันใหม่ ล้างไพ่ เพราะจะให้มีคนใหม่มาลงทุนด้วย ช่วยบอกทีว่ามีบริษัทไหนมีกำไร (สะสม) แล้วลดทุนบ้าง
แต่ถ้ามีขาดทุนสะสมมาหลายปี พอมีกำไรฟื้นขึ้นมา แล้วลดทุน เป็นเพราะอยากจ่ายปันผล เพราะบริษัทจ่ายปันผลไม่ได้กฎหมายไม่ให้หากยังมีขาดทุนสะสมอยู่ ต้องเอากไรล้างให้หมดก่อนถึงจ่ายได้
วิธีล้างขาดทุนสะสมได้เร็วสุดคือลดทุน กำไรปีต่อไปก็จ่ายปันผลได้แล้ว
การลดทุนโดยการตัดขาดทุนสะสมกับหุ้นทุน ส่วนผู้ถือหุ้นรวมไม่กระทบ เพราะขาดทุนสะสมก็นำมาหักลดส่วนผู้ถือหุ้นอยู่แล้ว ข้อเสียคือ หุ้นเราหายไปแน่นอน ข้อดีคือ ถ้าปีหน้ามีกำไรจะจ่ายปันผลได้ เพราะถ้ามีขาดทุนสะสมอยู่ต้องเอากำไรไปล้างให้หมดก่อน จึงจ่ายปันผลได้ หลายบริษัทที่ลดทุนเพราะเมื่อปรับโครงสร้างหนี้ นักลงทุนใหม่จะมาเขาไม่มาแบกขาดทุนสะสมหลายๆปีหรอก เขาเข้ามาแล้วถ้ามีกำไร เขาต้องได้ผลอบแทนคืน
การลดทุนแล้วได้กำไร?? ใครได้ครับ?? ผู้ถือหุ้นเดิมหุ้นหายเงินหายทันที แต่ที่ได้ประโยชน์คือ คนเข้ามาลงทุนใหม่
อ่านเพิ่มเติมได้ใน topic ทุนจดทะเบียน
- airazoc
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 904
- ผู้ติดตาม: 1
Re: การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 6
ผมเข้าใจว่า บริษัทที่มีกำไร แล้วลดทุน น่าจะมีในกรณีที่ บริษัทมีโครงการซื้อหุ้นคืนครับ
ตัวอย่างที่จำได้แม่นๆก็ JAS ที่เคยทำ ซื้อหุ้นคืน แล้วลดทุนในส่วนหุ้นที่ซื้อคืนทิ้งไปเลย
ทำให้เกิน effect คือ EPS ต่อหุ้นที่เหลืออยู่ก็จะเพิ่มขึ้น
แต่ถ้าอยู่ๆ ประกาศลดพาร์ แบบลดกันหมดทุกคนที่ถือ ทั้งๆที่มีกำไรสะสม อันนี้ก็ไม่เคยเห็นเหมือนกันครับ
ถ้าใครเคยเจอ ฝากขอข้อมูลด้วยครับ น่าจะเป็นกรณีศึกษาที่น่าสนใจ ว่าทำไปทำไม (-__-'')
ส่วนบริษัทที่ขาดทุนแล้วลดทุน ส่วนใหญ่ที่ผมเคยเจอจะเป็นบริษัทที่กำลัง turn around แต่ยังมีขาดทุนสะสม เลยปันผลไม่ได้ ก็ลดทุนทิ้งไปเลย ให้มีส่วนเกินทุน มาปันผลได้ เริ่มกันใหม่ ฟ้าเปิด คนกล้าลงทุน
ตัวอย่างที่จำได้แม่นๆก็ JAS ที่เคยทำ ซื้อหุ้นคืน แล้วลดทุนในส่วนหุ้นที่ซื้อคืนทิ้งไปเลย
ทำให้เกิน effect คือ EPS ต่อหุ้นที่เหลืออยู่ก็จะเพิ่มขึ้น
แต่ถ้าอยู่ๆ ประกาศลดพาร์ แบบลดกันหมดทุกคนที่ถือ ทั้งๆที่มีกำไรสะสม อันนี้ก็ไม่เคยเห็นเหมือนกันครับ
ถ้าใครเคยเจอ ฝากขอข้อมูลด้วยครับ น่าจะเป็นกรณีศึกษาที่น่าสนใจ ว่าทำไปทำไม (-__-'')
ส่วนบริษัทที่ขาดทุนแล้วลดทุน ส่วนใหญ่ที่ผมเคยเจอจะเป็นบริษัทที่กำลัง turn around แต่ยังมีขาดทุนสะสม เลยปันผลไม่ได้ ก็ลดทุนทิ้งไปเลย ให้มีส่วนเกินทุน มาปันผลได้ เริ่มกันใหม่ ฟ้าเปิด คนกล้าลงทุน
"In life and business, there are two cardinal sins ... The first is to act precipitously without thought, and the second is to not act at all.” – Carl Icahn
-
- Verified User
- โพสต์: 3350
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 8
อ. sun cisa
เข้าใจถูกแล้วคับ ตามนั้นเลย คือมีกำไร แล้วลดทุน ปันผล
ที่ผมจะสื่อคือ ข้างบนเค้าคุยกันว่า
ลดทุนแล้วมีกำไร ผมนึกกรณีนี้ไม่ออกคับ
เลยคิดว่าถ้ามีกรณีลดทุนแล้วกำไร มัน่าสนใจดี
ขอบคุณท่าน airazoc สำหรับ case study คับ
เข้าใจถูกแล้วคับ ตามนั้นเลย คือมีกำไร แล้วลดทุน ปันผล
ที่ผมจะสื่อคือ ข้างบนเค้าคุยกันว่า
ลดทุนแล้วมีกำไร ผมนึกกรณีนี้ไม่ออกคับ
เลยคิดว่าถ้ามีกรณีลดทุนแล้วกำไร มัน่าสนใจดี
ขอบคุณท่าน airazoc สำหรับ case study คับ
show me money.
-
- Verified User
- โพสต์: 3350
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 9
ผมสนใจตรงนี้คับchild_temple เขียน: . จริงๆยังเหลือเรื่องการลดทุนแล้วทำให้บริษัทมีกำไรที่ผมยังสงสัยอีกเรื่อง แต่ไว้จะโพสถามในหัวข้อที่ตรงกับเรื่องลดทุนจะได้ตรงกับหัวข้อ และผู้ที่เข้ามาอ่านตอนหลังได้ความรู้ตรงประเด็นในเรื่องที่ตนสนใจด้วยดีกว่า
ขอบคุณครับ
show me money.
-
- Verified User
- โพสต์: 231
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 10
จริงๆ เป็นเรื่องเดียวกันกับการปรับโครงสร้างหนี้nearly เขียน:เคยได้ยินคำว่าเปลี่ยนหนี้เป็นทุน อยากทราบว่าเค้าทำกันยังไงอะครับ
ในตอนแรกที่ลูกหนี้ผิดนัดชำระหนี้ เจ้าหนี้จะพยายามปรับโครงสร้างหนี้กับลูกหนี้ก่อน (คือลดดอกเบี้ย ยืดเวลาชำระหนี้ ลดเงินต้น ฯลฯ) เจ้าหนี้อาจขาดทุนนิดหน่อยแต่ได้เงินสดคืน (ส่วนใหญ่ต้องตั้งข้อสมมุติว่า เจ้าหนี้อยากได้เงินคืน แต่ไม่อยากได้หรืออยากยึดกิจการของลูกหนี้)
แต่เมื่อลูกหนี้พยายามฟื้นฟูกิจการแล้ว (ในระหว่างการปรับโครงสร้างหนี้) กิจการไม่สามารถฟื้นตัวได้ อาจเกิดการผิดนัดชำระหนี้อีก หรือมีปัญหากรรมการทะเลาะกันทำให้บริษัทเดินหน้าต่อไปไม่ได้ (อันนี้เจอบ่อย เพราะเจ้าหนี้ต้องนั่งในบอร์ดด้วย) การแปลงหนี้เป็นทุนอาจเกิดขึ้น
นั่นคือ เจ้าหนี้จะแลกหนี้กับหุ้นทุนของบริษัท แล้วเปลี่ยนสถานะของตัวเองเป็นเจ้าของแทนเจ้าหนี้ เมื่อเจ้าหนี้กลายเป็นเจ้าของ เจ้าของใหม่ก็จะเข้าบริหารงานหรือแย่งเจ้าของเดิมบริหารงาน ขึ้นอยู่กับจำนวนหุ้นที่แปลงได้
ในการแปลงหนี้เป็นทุน เราจะได้ยินเรื่องราวต่างๆ หลายแบบ เช่น TPI (เดิม) ชอบบอกว่าจะมีคนเข้ามายึดบริษัท
ในอดีต ธนาคารชอบที่จะแปลงหนี้เป็นทุนเพราะอยากทำธุรกิจหลายด้าน จนแบงค์ชาติยื่นมือมาออกกฎใหม่ไม่ให้ทำอย่างนั้น
ปัจจุบัน (เข้าใจว่า... อาจผิดถูกต้องเช็คข้อมูลเอง) ธนาคารจะแปลงหนี้เป็นทุนได้ แต่ต้องนำกิจการนั้นออกขายโดยเร่งด่วน ห้ามนำมาบริหารเอง ใครรู้ประเด็นนี้ ช่วยบอกด้วยว่าจริงไหม?
-
- Verified User
- โพสต์: 5
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 12
ถูกต้องครับ สำหรับตัวอย่าง จะลงไว้ในโพสถัดไปนะครับchild_temple เขียน:แฮะๆ ผมโพสถามหลายกระทู้เลยครับ แต่ก่อนผมลงทุนโดยดู bottom line เป้นหลัก และความรู้ด้านงบการเงินน้อยมากครับ โชคดีที่ใช้ การวิเคราะห์ด้านคุณภาพ ควบคู่ไปด้วยจึงทำให้ยังการล่องเรือผ่านคลื่นลมใน set ยังอยู่รอดปลอดภัย แต่ยิ่งเวลาเดินเรือด้านการลงทุนผ่านไปยิ่งทำให้ผมสนใจศึกษาด้านงบการเงินเพิ่มเติมเรื่อยๆ เรียกได้ว่าเป็น on the job training กันเลยทีเดียว และการปรับโครงสร้างหนี้ ทำให้กำไร ก็เป็นประเด็กที่ทำให้ผมยังงงๆอยู่จนถึงทุกวันนี้ ผมจะขอสรุปตามที่ผมเข้าใจแล้วช่วยตรวจสอบว่าถูกต้องมั้ยนะครับ
สมมุติปี x บริษัทมีหนี้พร้อมดอกเท่ากับ 100 ล้านบาท
ปีถัดมามามีการ เจรจาลดต้นลดดอก เหลือสุทธิ 80 ล้านบาท
ทำให้ปีนี้บริษัทจะลงบันทึกในงบ กำไร ขาดทุน 20 ล้านบาท
เป็นแค่กำไรลมที่ไม่ได้มีการรับเป้นเงินสดจริง และค่านี้จะถูกลบออกจากงบกระแสเงินสด
ผมเข้าใจถูกต้องมั้ยครับ.... จริงๆยังเหลือเรื่องการลดทุนแล้วทำให้บริษัทมีกำไรที่ผมยังสงสัยอีกเรื่อง แต่ไว้จะโพสถามในหัวข้อที่ตรงกับเรื่องลดทุนจะได้ตรงกับหัวข้อ และผู้ที่เข้ามาอ่านตอนหลังได้ความรู้ตรงประเด็นในเรื่องที่ตนสนใจด้วยดีกว่า
ขอบคุณครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 5
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 13
อันนี้คือตัวอย่างงบกำไรขาดทุนของบริษัทที่มีการรับรู้กำไรจากการปรับโครงสร้างหนี้นะครับ
แนบไฟล์
-
- Verified User
- โพสต์: 5
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 14
-
แก้ไขล่าสุดโดย nathapong.s เมื่อ พฤหัสฯ. มี.ค. 29, 2012 6:13 pm, แก้ไขไปแล้ว 1 ครั้ง.
-
- Verified User
- โพสต์: 231
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 15
กำไรที่เกิดขึ้นไม่ใช่กำไรลมค่ะ เพราะมีผลต่อเงินสดจริง แต่ไม่ใช่ในงวดนี้ แต่ในงวดที่บันทึก กำไรนี้ยังไม่มีผลกระทบกับเงินสด ในงบกระแสเงินสดเราจึงเห็นรายการนี้เป็นรายการลบ (กำไรที่เป็นเงินสดจะทยอยเกิดขึ้นในอนาคต)nathapong.s เขียน:ถูกต้องครับ สำหรับตัวอย่าง จะลงไว้ในโพสถัดไปนะครับchild_temple เขียน:แฮะๆ ผมโพสถามหลายกระทู้เลยครับ แต่ก่อนผมลงทุนโดยดู bottom line เป้นหลัก และความรู้ด้านงบการเงินน้อยมากครับ โชคดีที่ใช้ การวิเคราะห์ด้านคุณภาพ ควบคู่ไปด้วยจึงทำให้ยังการล่องเรือผ่านคลื่นลมใน set ยังอยู่รอดปลอดภัย แต่ยิ่งเวลาเดินเรือด้านการลงทุนผ่านไปยิ่งทำให้ผมสนใจศึกษาด้านงบการเงินเพิ่มเติมเรื่อยๆ เรียกได้ว่าเป็น on the job training กันเลยทีเดียว และการปรับโครงสร้างหนี้ ทำให้กำไร ก็เป็นประเด็กที่ทำให้ผมยังงงๆอยู่จนถึงทุกวันนี้ ผมจะขอสรุปตามที่ผมเข้าใจแล้วช่วยตรวจสอบว่าถูกต้องมั้ยนะครับ
สมมุติปี x บริษัทมีหนี้พร้อมดอกเท่ากับ 100 ล้านบาท
ปีถัดมามามีการ เจรจาลดต้นลดดอก เหลือสุทธิ 80 ล้านบาท
ทำให้ปีนี้บริษัทจะลงบันทึกในงบ กำไร ขาดทุน 20 ล้านบาท
เป็นแค่กำไรลมที่ไม่ได้มีการรับเป้นเงินสดจริง และค่านี้จะถูกลบออกจากงบกระแสเงินสด
ผมเข้าใจถูกต้องมั้ยครับ.... จริงๆยังเหลือเรื่องการลดทุนแล้วทำให้บริษัทมีกำไรที่ผมยังสงสัยอีกเรื่อง แต่ไว้จะโพสถามในหัวข้อที่ตรงกับเรื่องลดทุนจะได้ตรงกับหัวข้อ และผู้ที่เข้ามาอ่านตอนหลังได้ความรู้ตรงประเด็นในเรื่องที่ตนสนใจด้วยดีกว่า
ขอบคุณครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 121
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 17
ตอบคุณ airazoc
ผมเข้าใจว่า บริษัทที่มีกำไร แล้วลดทุน น่าจะมีในกรณีที่ บริษัทมีโครงการซื้อหุ้นคืนครับ
ตัวอย่างที่จำได้แม่นๆก็ JAS ที่เคยทำ ซื้อหุ้นคืน แล้วลดทุนในส่วนหุ้นที่ซื้อคืนทิ้งไปเลย
ทำให้เกิน effect คือ EPS ต่อหุ้นที่เหลืออยู่ก็จะเพิ่มขึ้น
การลดทุนแล้วมีกำไร คิดว่าคงจะข้าใจประเด็นไม่ตรงกัน การลดทุน ไม่ได้บันทึกกำไรจากการลดทุนในงบกำไรขาดทุน แต่คิดว่าคุณ airazoc น่าจะหมายถึงผู้ถือหุ้นได้กำไรจากราคาหุ้นขึ้นมากกว่านะครับ ตรงนี้ไม่ใช่ผลกระทบกับผลประกอบการโดยตรง แต่ทำให้เกิด การคำนวณ EPS เปลี่ยนไปจากจำนวนหุ้นที่เปลี่ยน ไม่ได้เพิ่มควาสามารถทางการขาย การตลาด ลดค่าใช้จ่ายอย่างใด
โดยมาก การลดทุนโดยการตัดขาดทุนสะสมกับหุ้นทุน ส่วนผู้ถือหุ้นรวมไม่กระทบ เพราะขาดทุนสะสมก็นำมาหักลดส่วนผู้ถือหุ้นอยู่แล้ว ข้อเสียคือ หุ้นเราหายไปแน่นอน ข้อดีคือ ถ้าปีหน้ามีกำไรจะจ่ายปันผลได้ เพราะถ้ามีขาดทุนสะสมอยู่ต้องเอากำไรไปล้างให้หมดก่อน จึงจ่ายปันผลได้ หลายบริษัทที่ลดทุนเพราะเมื่อปรับโครงสร้างหนี้ นักลงทุนใหม่จะมาเขาไม่มาแบกขาดทุนสะสมหลายๆปีหรอก เขาเข้ามาแล้วถ้ามีกำไร เขาต้องได้ผลอบแทนคืน
การลดทุนเนื่องจากการซื้อหุ้นคืน ถ้ากิจการทิ้งไว้นานๆ ไม่นำไปขายคืน (เพิ่มทุนกลับ) กฎหมายให้ต้องทำการลดทุนอยู่ดี หากซื้อกลับใน 3 ปี (น่าจะอย่างนั้นครับ) การซื้อหุ้นคืนมองได้หลายอย่าง แต่ในหลักการแล้วแสดงว่ากิจการมีเงินสดเหลือ แทนที่จะไปสร้างผลกำไรเพิ่มในการขยายทำหรือขยายธุรกิจ แต่เอาเงินมาซื้อหุ้นคืน มองได้ว่า อุตสากรรมปัจจุบันเอาเงินไปลงทุนอะไรก็ไม่คุ้มแล้ว แสดงว่าธุรกิจไม่มี FGV (future growth) คนที่เรียนกับ อ. ดร.ภาภรคงจำได้เรื่อง MVA premium price ในส่วนนี้ยังคงควรสูงจริงๆ ต่อไปไหม ตลาด over future expectation หรือเปล่า โดยปกติถ้าจะถือหุ้น 5 ปี 10 ปี หุ้นที่จ่ายปันผล pay out ratio มากเกินกว่าครึ่ง ซื้อหุ้นคืน จะไม่สนใจ เพราะแสดงว่า ผู้บริหารเองยังไม่เห็นอนาคตตนเอง จะไปลงทุนด้วยทำไม หรือ อาจหมายถึงความจริง อุตสาหกรรมดี แสดง CEO CFO กำลัง เล่นตัวเลขสร้างราคาหุ้น แบบนี้ก็เป็น CEO CFO ที่น่ากลัวเพราะเป็นคนมีเล่ห์เหลี่ยม ไม่ตรงไปตรงมา
การลดทุนแบบนี้หุ้นไม่หายเหมือนแค่บริษัทลดทุนจดทะเบียนส่วนที่เกินจากการเรียกชำระจริงแล้ว
อย่างไรก็ตามในทางบัญชีลดทุนแล้วทำไมไม่เกิดการบันทึกกำไรในงบกำไรขาดทุน ย้อนไปดูและเข้าใจง่ายๆ ใช้สมการบัญชีก็เข้าใจง่ายครับ
Assets = Liabilities + Equity
CA + NCA = CL +NCL + CS + RE ----> RE assume มีแต่กำไรจากการดำเนินงาน
CA + NCA = CL +NCL + CS + NI
Dr = Cr เอาง่ายๆอย่างนี้
ลดทุน ก็ต้อง Dr ทุน CS แล้วจะ Cr อะไร NI หรือ ไม่ใช่ครับ ถ้าเป็นการซื้อหุ้นคืน (Treasury Stock) ตอนซื้อบริษัทลง เดบิต บัญชีหุ้นซื้อคืนไว้ เครดิต เงินสด แสดงหักในรายการส่วนเจ้าของ พอลดทุน ก็กลับรายการนี้กับ บัญชีทุนเท่านั้น ไม่มีกำไรในงบกำไรขาดทุน การวิเคราะห์ทางบัญชีต้องมองให้ออกครับ ว่ารายการนี้กระทบพื่นฐานเรืองบรษัมสร้างรายได้จริง หรือเป็นเพียง market sentiment
จากสมการข้างต้น ปรับโครงสร้างหนี้ฝั่งลูกหนี้มีกำไรเสมอ ดูจากสมการ ถ้า NCL ลด ฝั่งซ้ายมีอะไรเปลี่ยนบ้าง ไม่มี (ถ้าขาย asset หนี้ก็ลง ถ้าเจ้ายอมลดมากกว่าก็คือ หนี้ลด ที่เหลือจะเครดิตอะไรนั่นเอง) ก็ต้องมา ดูก็เหลือแต่ NI ส่วนฝั่งเจ้าหนี้จะกลับกัน ลุกหนี้เงินกู้ยืมลด(เครดิต) จะเดบิตอะไรได้ ก็มีแต่ NI เท่านั้น เรียกขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้
คนที่เพิ่งเริ่มบัญชีแนะว่าให้กหัวใจสมการนี้ไว้ แล้วจะช่วยได้มาก ว่าหลักๆตัวเลขจะไปลงที่ไหน ส่วนชื่ยุ่งๆ ยากไ มากมายให้เป็นเรื่องนักบัญชีเขาไป จะทำให้เราเห็น movement หลักๆ แล้วจะทำให้วิเคราะห์ได้ขาดและเร็วขึ้น ตลาดหุ้นบางทีไม่รอให้เรามานั่งอ่านงบเป็นเดือนเป็นสัปดาห์ บางทีไม่เกินครึ่งชั่วโมงหรืออาจเป็นแค่นาทีต้องตัอสินใจแล้วว่าเอาไง ซื้อ ถือ ขาย ช่างมันไม่สนดูตัวอื่น
ผมเข้าใจว่า บริษัทที่มีกำไร แล้วลดทุน น่าจะมีในกรณีที่ บริษัทมีโครงการซื้อหุ้นคืนครับ
ตัวอย่างที่จำได้แม่นๆก็ JAS ที่เคยทำ ซื้อหุ้นคืน แล้วลดทุนในส่วนหุ้นที่ซื้อคืนทิ้งไปเลย
ทำให้เกิน effect คือ EPS ต่อหุ้นที่เหลืออยู่ก็จะเพิ่มขึ้น
การลดทุนแล้วมีกำไร คิดว่าคงจะข้าใจประเด็นไม่ตรงกัน การลดทุน ไม่ได้บันทึกกำไรจากการลดทุนในงบกำไรขาดทุน แต่คิดว่าคุณ airazoc น่าจะหมายถึงผู้ถือหุ้นได้กำไรจากราคาหุ้นขึ้นมากกว่านะครับ ตรงนี้ไม่ใช่ผลกระทบกับผลประกอบการโดยตรง แต่ทำให้เกิด การคำนวณ EPS เปลี่ยนไปจากจำนวนหุ้นที่เปลี่ยน ไม่ได้เพิ่มควาสามารถทางการขาย การตลาด ลดค่าใช้จ่ายอย่างใด
โดยมาก การลดทุนโดยการตัดขาดทุนสะสมกับหุ้นทุน ส่วนผู้ถือหุ้นรวมไม่กระทบ เพราะขาดทุนสะสมก็นำมาหักลดส่วนผู้ถือหุ้นอยู่แล้ว ข้อเสียคือ หุ้นเราหายไปแน่นอน ข้อดีคือ ถ้าปีหน้ามีกำไรจะจ่ายปันผลได้ เพราะถ้ามีขาดทุนสะสมอยู่ต้องเอากำไรไปล้างให้หมดก่อน จึงจ่ายปันผลได้ หลายบริษัทที่ลดทุนเพราะเมื่อปรับโครงสร้างหนี้ นักลงทุนใหม่จะมาเขาไม่มาแบกขาดทุนสะสมหลายๆปีหรอก เขาเข้ามาแล้วถ้ามีกำไร เขาต้องได้ผลอบแทนคืน
การลดทุนเนื่องจากการซื้อหุ้นคืน ถ้ากิจการทิ้งไว้นานๆ ไม่นำไปขายคืน (เพิ่มทุนกลับ) กฎหมายให้ต้องทำการลดทุนอยู่ดี หากซื้อกลับใน 3 ปี (น่าจะอย่างนั้นครับ) การซื้อหุ้นคืนมองได้หลายอย่าง แต่ในหลักการแล้วแสดงว่ากิจการมีเงินสดเหลือ แทนที่จะไปสร้างผลกำไรเพิ่มในการขยายทำหรือขยายธุรกิจ แต่เอาเงินมาซื้อหุ้นคืน มองได้ว่า อุตสากรรมปัจจุบันเอาเงินไปลงทุนอะไรก็ไม่คุ้มแล้ว แสดงว่าธุรกิจไม่มี FGV (future growth) คนที่เรียนกับ อ. ดร.ภาภรคงจำได้เรื่อง MVA premium price ในส่วนนี้ยังคงควรสูงจริงๆ ต่อไปไหม ตลาด over future expectation หรือเปล่า โดยปกติถ้าจะถือหุ้น 5 ปี 10 ปี หุ้นที่จ่ายปันผล pay out ratio มากเกินกว่าครึ่ง ซื้อหุ้นคืน จะไม่สนใจ เพราะแสดงว่า ผู้บริหารเองยังไม่เห็นอนาคตตนเอง จะไปลงทุนด้วยทำไม หรือ อาจหมายถึงความจริง อุตสาหกรรมดี แสดง CEO CFO กำลัง เล่นตัวเลขสร้างราคาหุ้น แบบนี้ก็เป็น CEO CFO ที่น่ากลัวเพราะเป็นคนมีเล่ห์เหลี่ยม ไม่ตรงไปตรงมา
การลดทุนแบบนี้หุ้นไม่หายเหมือนแค่บริษัทลดทุนจดทะเบียนส่วนที่เกินจากการเรียกชำระจริงแล้ว
อย่างไรก็ตามในทางบัญชีลดทุนแล้วทำไมไม่เกิดการบันทึกกำไรในงบกำไรขาดทุน ย้อนไปดูและเข้าใจง่ายๆ ใช้สมการบัญชีก็เข้าใจง่ายครับ
Assets = Liabilities + Equity
CA + NCA = CL +NCL + CS + RE ----> RE assume มีแต่กำไรจากการดำเนินงาน
CA + NCA = CL +NCL + CS + NI
Dr = Cr เอาง่ายๆอย่างนี้
ลดทุน ก็ต้อง Dr ทุน CS แล้วจะ Cr อะไร NI หรือ ไม่ใช่ครับ ถ้าเป็นการซื้อหุ้นคืน (Treasury Stock) ตอนซื้อบริษัทลง เดบิต บัญชีหุ้นซื้อคืนไว้ เครดิต เงินสด แสดงหักในรายการส่วนเจ้าของ พอลดทุน ก็กลับรายการนี้กับ บัญชีทุนเท่านั้น ไม่มีกำไรในงบกำไรขาดทุน การวิเคราะห์ทางบัญชีต้องมองให้ออกครับ ว่ารายการนี้กระทบพื่นฐานเรืองบรษัมสร้างรายได้จริง หรือเป็นเพียง market sentiment
จากสมการข้างต้น ปรับโครงสร้างหนี้ฝั่งลูกหนี้มีกำไรเสมอ ดูจากสมการ ถ้า NCL ลด ฝั่งซ้ายมีอะไรเปลี่ยนบ้าง ไม่มี (ถ้าขาย asset หนี้ก็ลง ถ้าเจ้ายอมลดมากกว่าก็คือ หนี้ลด ที่เหลือจะเครดิตอะไรนั่นเอง) ก็ต้องมา ดูก็เหลือแต่ NI ส่วนฝั่งเจ้าหนี้จะกลับกัน ลุกหนี้เงินกู้ยืมลด(เครดิต) จะเดบิตอะไรได้ ก็มีแต่ NI เท่านั้น เรียกขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้
คนที่เพิ่งเริ่มบัญชีแนะว่าให้กหัวใจสมการนี้ไว้ แล้วจะช่วยได้มาก ว่าหลักๆตัวเลขจะไปลงที่ไหน ส่วนชื่ยุ่งๆ ยากไ มากมายให้เป็นเรื่องนักบัญชีเขาไป จะทำให้เราเห็น movement หลักๆ แล้วจะทำให้วิเคราะห์ได้ขาดและเร็วขึ้น ตลาดหุ้นบางทีไม่รอให้เรามานั่งอ่านงบเป็นเดือนเป็นสัปดาห์ บางทีไม่เกินครึ่งชั่วโมงหรืออาจเป็นแค่นาทีต้องตัอสินใจแล้วว่าเอาไง ซื้อ ถือ ขาย ช่างมันไม่สนดูตัวอื่น
-
- Verified User
- โพสต์: 231
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 18
คำพูดต่างกันค่ะ ระหว่าง "การลดทุนแล้วมีกำไร" กับ "มีกำไรแล้วลดทุน"
สำหรับ "การลดทุนแล้วมีกำไร" อาจารย์สรรพงศ์มองว่า เป็นไปไม่ได้ในทางบัญชี เพราะการลดทุนไม่ทำให้บริษัทสามารถบันทึกกำไรในงบกำไรขาดทุนได้ เพราะต้องบันทึกรายการทุกรายการที่เกิดจากการลดทุนในส่วนของผู้ถือหุ้น แต่ถ้าลดทุนแล้ว วันหลังบริษัทดำเนินงานจนเกิดกำไรและจ่ายเงินปันผล นั่นเป็นไปได้แน่นอน
ส่วน "มีกำไรแล้วลดทุน" เป็นไปได้เสมอ คือเมื่อบริษัททำกำไรเยอะๆ บริษัทก็ลดทุนเพื่อให้ผู้ที่ยังถือหุ้นอยู่ได้ประโยชน์เพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่ก็เพื่ออำนวยประโยชน์ให้สมาชิกในครอบครัวที่เป็นผู้ถือหุ้นหลักของบริษัท
สำหรับ "การลดทุนแล้วมีกำไร" อาจารย์สรรพงศ์มองว่า เป็นไปไม่ได้ในทางบัญชี เพราะการลดทุนไม่ทำให้บริษัทสามารถบันทึกกำไรในงบกำไรขาดทุนได้ เพราะต้องบันทึกรายการทุกรายการที่เกิดจากการลดทุนในส่วนของผู้ถือหุ้น แต่ถ้าลดทุนแล้ว วันหลังบริษัทดำเนินงานจนเกิดกำไรและจ่ายเงินปันผล นั่นเป็นไปได้แน่นอน
ส่วน "มีกำไรแล้วลดทุน" เป็นไปได้เสมอ คือเมื่อบริษัททำกำไรเยอะๆ บริษัทก็ลดทุนเพื่อให้ผู้ที่ยังถือหุ้นอยู่ได้ประโยชน์เพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่ก็เพื่ออำนวยประโยชน์ให้สมาชิกในครอบครัวที่เป็นผู้ถือหุ้นหลักของบริษัท
-
- Verified User
- โพสต์: 2
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 19
To: k'moosamchun2
2.) ตามสมการ สินทรัพย์ + ค่าใช้จ่าย = หนี้สิน + ทุน + รายได้
การปรับโครงสร้างหนี้ คิดไปคิดมาอย่างไร ถึงได้กำไร (ขาดทุน) ที่สำแดงในงบกำไรขาดทุนได้...
Ans:
ยกตัวอย่างตามสมการ
สินทรัพย์ + ค่าใช้จ่าย = หนี้สิน + ทุน + รายได้
150 + 10 = 100 + 40 + 20 (บาท)
ในกรณีที่มีการปรับโครงสร้างหนี้ เจ้าหนี้ได้ยกหนี้ให้ 15บาท สมการข้างต้นจะมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้
สินทรัพย์ + ค่าใช้จ่าย = หนี้สิน + ทุน + รายได้
150 + 10 = (100-15) + 40 + (20+15) (บาท)
งบกำไรขาดทุน
รายได้ 20
กำไรจากการปรับโครงสร้างหนี้ 15 สำแดงในงบกำไรขาดทุน
รวมรายได้ 35
ค่าใช้จ่าย (10)
กำไรสุทธิ 25
2.) ตามสมการ สินทรัพย์ + ค่าใช้จ่าย = หนี้สิน + ทุน + รายได้
การปรับโครงสร้างหนี้ คิดไปคิดมาอย่างไร ถึงได้กำไร (ขาดทุน) ที่สำแดงในงบกำไรขาดทุนได้...
Ans:
ยกตัวอย่างตามสมการ
สินทรัพย์ + ค่าใช้จ่าย = หนี้สิน + ทุน + รายได้
150 + 10 = 100 + 40 + 20 (บาท)
ในกรณีที่มีการปรับโครงสร้างหนี้ เจ้าหนี้ได้ยกหนี้ให้ 15บาท สมการข้างต้นจะมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้
สินทรัพย์ + ค่าใช้จ่าย = หนี้สิน + ทุน + รายได้
150 + 10 = (100-15) + 40 + (20+15) (บาท)
งบกำไรขาดทุน
รายได้ 20
กำไรจากการปรับโครงสร้างหนี้ 15 สำแดงในงบกำไรขาดทุน
รวมรายได้ 35
ค่าใช้จ่าย (10)
กำไรสุทธิ 25
แนบไฟล์
-
- Verified User
- โพสต์: 2
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 20
moosamchun2 เขียน:ขอขอบใจ น้อง nathapong.s
น้องได้โจทย์ที่น่าสนใจจากอาจารย์ เป็นหัวข้อยอดฮิตเมื่อปี 2540 (โดยประมาณ) ทุกวันนี้ บางบริษัทก็ยังใช้ กลบัญชีวิธีนี้อยู่ (ทำให้มองดูว่าบริษัทมีำกำไรเิพิ่ีมขึ้น)
เพื่อความเข้าใจมากขึ้น
1.) อยากให้ยกตัวอย่าง งบการเงินที่มีการปรับโครงสร้างหนี้ ประกอบการเขียน.
2.) ตามสมการ สินทรัีพย์ + ค่าใช้จ่าย = หนี้สิน + ทุน + รายได้
การปรับโครงสร้างหนี้ คิดไปคิดมาอย่างไร ถึงได้กำไร (ขาดทุน) ที่สำแดงในงบกำไรขาดทุนได้...
++++++++++++++++++++
น้อง nathapong.s เขียนอธิบาย โดยคิดว่า ผู้อ่านมีความรู้น้อยนิด.. เพราะว่ามีทั้งผู้ที่รู้แล้ว และยังไม่รู้ อ่านแล้วเกิดความเข้าใจ สามารถค้นคว้าหาความรู้ต่อได้
ถ้าเนื้อหาที่เขียนมาก ก็อาจจะเขียนสรุป ข้อดี ข้อเสีย ข้อควรระวัง เป็นต้น ชวนให้ผู้อ่านสรุปประเด็นที่เราเขียนได้ โดยยึดหลัก ของข้อมูลที่ดี คือ ถูกต้อง ตรงประเด็น ชัดเจน อ้างอิงได้ ฯลฯ
เป็นกำลังใจให้... เค้าว่านักบัญชี ไม่เก่งบรรยาย เก่งแต่ตัวเลข ... เค้าคงจะคิดผิด ..ฮาาา
ผมจะมาตอบข้อ 2) ให้เคลียมากขึ้นนะครับ
2.) ตามสมการ สินทรัพย์ + ค่าใช้จ่าย = หนี้สิน + ทุน + รายได้
การปรับโครงสร้างหนี้ คิดไปคิดมาอย่างไร ถึงได้กำไร (ขาดทุน) ที่สำแดงในงบกำไรขาดทุนได้...
Ans:
ยกตัวอย่างตามสมการ
สินทรัพย์ + ค่าใช้จ่าย = หนี้สิน + ทุน + รายได้
150 + 10 = 100 + 40 + 20 (บาท)
ในกรณีที่มีการปรับโครงสร้างหนี้ เจ้าหนี้ได้ยกหนี้ให้ 15บาท สมการข้างต้นจะมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้
สินทรัพย์ + ค่าใช้จ่าย = หนี้สิน + ทุน + รายได้
150 + 10 = (100-15) + 40 + (20+15) (บาท)
งบกำไรขาดทุน
รายได้ 20
กำไรจากการปรับโครงสร้างหนี้ 15 สำแดงในงบกำไรขาดทุน
รวมรายได้ 35
ค่าใช้จ่าย (10)
กำไรสุทธิ 25
แนบไฟล์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 30
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 21
น้อง peerapong.t and the แกงค์ ....ขอบใจมากครับ ...นึกว่าลืมไปแล้ว..peerapong.t เขียน:moosamchun2 เขียน:
ยกตัวอย่างตามสมการ
สินทรัพย์ + ค่าใช้จ่าย = หนี้สิน + ทุน + รายได้
150 + 10 = 100 + 40 + 20 (บาท)
ในกรณีที่มีการปรับโครงสร้างหนี้ เจ้าหนี้ได้ยกหนี้ให้ 15บาท สมการข้างต้นจะมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้
สินทรัพย์ + ค่าใช้จ่าย = หนี้สิน + ทุน + รายได้
150 + 10 = (100-15) + 40 + (20+15) (บาท)
งบกำไรขาดทุน
รายได้ 20
กำไรจากการปรับโครงสร้างหนี้ 15 สำแดงในงบกำไรขาดทุน
รวมรายได้ 35
ค่าใช้จ่าย (10)
กำไรสุทธิ 25
ไปอ่านหนังสือ กลบัญชี ของอาจารย์ ตัวอย่างจะเป็นฝั่งเจ้าหนี้ ...ขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้ ...(เงินให้กู้ยืมด้อยค่า...หนี้สูญ...) จินตนาการฝั่งกู้ยืมไม่ออก (สมการก็มีแค่นี้...แต่คิด ไม่ออกซะงั้น)
เมื่อเจ้าหนี้ยกหนี้ให้ ก็เป็นรายได้ทันที ... (มหัศจรรย์จริงๆ เจ้ากระต่ายน้อย)
อาจารย์ ดร.ภาพร ท่านมีลูกศิษย์เก่งๆ...
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 289
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 24
รบกวนคุณ sun cisa ช่วยวงเล็บตัวย่อ เช่น CL ว่าคืออะไรสำหรับครั้งแรกพอครับsun_cisa2 เขียน:ตอบคุณ airazoc
ผมเข้าใจว่า บริษัทที่มีกำไร แล้วลดทุน น่าจะมีในกรณีที่ บริษัทมีโครงการซื้อหุ้นคืนครับ
ตัวอย่างที่จำได้แม่นๆก็ JAS ที่เคยทำ ซื้อหุ้นคืน แล้วลดทุนในส่วนหุ้นที่ซื้อคืนทิ้งไปเลย
ทำให้เกิน effect คือ EPS ต่อหุ้นที่เหลืออยู่ก็จะเพิ่มขึ้น
การลดทุนแล้วมีกำไร คิดว่าคงจะข้าใจประเด็นไม่ตรงกัน การลดทุน ไม่ได้บันทึกกำไรจากการลดทุนในงบกำไรขาดทุน แต่คิดว่าคุณ airazoc น่าจะหมายถึงผู้ถือหุ้นได้กำไรจากราคาหุ้นขึ้นมากกว่านะครับ ตรงนี้ไม่ใช่ผลกระทบกับผลประกอบการโดยตรง แต่ทำให้เกิด การคำนวณ EPS เปลี่ยนไปจากจำนวนหุ้นที่เปลี่ยน ไม่ได้เพิ่มควาสามารถทางการขาย การตลาด ลดค่าใช้จ่ายอย่างใด
โดยมาก การลดทุนโดยการตัดขาดทุนสะสมกับหุ้นทุน ส่วนผู้ถือหุ้นรวมไม่กระทบ เพราะขาดทุนสะสมก็นำมาหักลดส่วนผู้ถือหุ้นอยู่แล้ว ข้อเสียคือ หุ้นเราหายไปแน่นอน ข้อดีคือ ถ้าปีหน้ามีกำไรจะจ่ายปันผลได้ เพราะถ้ามีขาดทุนสะสมอยู่ต้องเอากำไรไปล้างให้หมดก่อน จึงจ่ายปันผลได้ หลายบริษัทที่ลดทุนเพราะเมื่อปรับโครงสร้างหนี้ นักลงทุนใหม่จะมาเขาไม่มาแบกขาดทุนสะสมหลายๆปีหรอก เขาเข้ามาแล้วถ้ามีกำไร เขาต้องได้ผลอบแทนคืน
การลดทุนเนื่องจากการซื้อหุ้นคืน ถ้ากิจการทิ้งไว้นานๆ ไม่นำไปขายคืน (เพิ่มทุนกลับ) กฎหมายให้ต้องทำการลดทุนอยู่ดี หากซื้อกลับใน 3 ปี (น่าจะอย่างนั้นครับ) การซื้อหุ้นคืนมองได้หลายอย่าง แต่ในหลักการแล้วแสดงว่ากิจการมีเงินสดเหลือ แทนที่จะไปสร้างผลกำไรเพิ่มในการขยายทำหรือขยายธุรกิจ แต่เอาเงินมาซื้อหุ้นคืน มองได้ว่า อุตสากรรมปัจจุบันเอาเงินไปลงทุนอะไรก็ไม่คุ้มแล้ว แสดงว่าธุรกิจไม่มี FGV (future growth) คนที่เรียนกับ อ. ดร.ภาภรคงจำได้เรื่อง MVA premium price ในส่วนนี้ยังคงควรสูงจริงๆ ต่อไปไหม ตลาด over future expectation หรือเปล่า โดยปกติถ้าจะถือหุ้น 5 ปี 10 ปี หุ้นที่จ่ายปันผล pay out ratio มากเกินกว่าครึ่ง ซื้อหุ้นคืน จะไม่สนใจ เพราะแสดงว่า ผู้บริหารเองยังไม่เห็นอนาคตตนเอง จะไปลงทุนด้วยทำไม หรือ อาจหมายถึงความจริง อุตสาหกรรมดี แสดง CEO CFO กำลัง เล่นตัวเลขสร้างราคาหุ้น แบบนี้ก็เป็น CEO CFO ที่น่ากลัวเพราะเป็นคนมีเล่ห์เหลี่ยม ไม่ตรงไปตรงมา
การลดทุนแบบนี้หุ้นไม่หายเหมือนแค่บริษัทลดทุนจดทะเบียนส่วนที่เกินจากการเรียกชำระจริงแล้ว
อย่างไรก็ตามในทางบัญชีลดทุนแล้วทำไมไม่เกิดการบันทึกกำไรในงบกำไรขาดทุน ย้อนไปดูและเข้าใจง่ายๆ ใช้สมการบัญชีก็เข้าใจง่ายครับ
Assets = Liabilities + Equity
CA + NCA = CL +NCL + CS + RE ----> RE assume มีแต่กำไรจากการดำเนินงาน
CA + NCA = CL +NCL + CS + NI
Dr = Cr เอาง่ายๆอย่างนี้
ลดทุน ก็ต้อง Dr ทุน CS แล้วจะ Cr อะไร NI หรือ ไม่ใช่ครับ ถ้าเป็นการซื้อหุ้นคืน (Treasury Stock) ตอนซื้อบริษัทลง เดบิต บัญชีหุ้นซื้อคืนไว้ เครดิต เงินสด แสดงหักในรายการส่วนเจ้าของ พอลดทุน ก็กลับรายการนี้กับ บัญชีทุนเท่านั้น ไม่มีกำไรในงบกำไรขาดทุน การวิเคราะห์ทางบัญชีต้องมองให้ออกครับ ว่ารายการนี้กระทบพื่นฐานเรืองบรษัมสร้างรายได้จริง หรือเป็นเพียง market sentiment
จากสมการข้างต้น ปรับโครงสร้างหนี้ฝั่งลูกหนี้มีกำไรเสมอ ดูจากสมการ ถ้า NCL ลด ฝั่งซ้ายมีอะไรเปลี่ยนบ้าง ไม่มี (ถ้าขาย asset หนี้ก็ลง ถ้าเจ้ายอมลดมากกว่าก็คือ หนี้ลด ที่เหลือจะเครดิตอะไรนั่นเอง) ก็ต้องมา ดูก็เหลือแต่ NI ส่วนฝั่งเจ้าหนี้จะกลับกัน ลุกหนี้เงินกู้ยืมลด(เครดิต) จะเดบิตอะไรได้ ก็มีแต่ NI เท่านั้น เรียกขาดทุนจากการปรับโครงสร้างหนี้
คนที่เพิ่งเริ่มบัญชีแนะว่าให้กหัวใจสมการนี้ไว้ แล้วจะช่วยได้มาก ว่าหลักๆตัวเลขจะไปลงที่ไหน ส่วนชื่ยุ่งๆ ยากไ มากมายให้เป็นเรื่องนักบัญชีเขาไป จะทำให้เราเห็น movement หลักๆ แล้วจะทำให้วิเคราะห์ได้ขาดและเร็วขึ้น ตลาดหุ้นบางทีไม่รอให้เรามานั่งอ่านงบเป็นเดือนเป็นสัปดาห์ บางทีไม่เกินครึ่งชั่วโมงหรืออาจเป็นแค่นาทีต้องตัอสินใจแล้วว่าเอาไง ซื้อ ถือ ขาย ช่างมันไม่สนดูตัวอื่น
ผมว่าบางคนไม่รู้ว่าคืออะไร เนื่องจากพื้นความรู้แต่ละคนแตกต่าง จะได้เข้าใจและ
เป็นประโยชน์สำหรับทุกคน
ขอบคูณล่วงหน้าครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 216
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 25
การลดทุนน่าจะมี 2 แบบใช่ไหมครับ คือ 1. การลดจำนวนหุ้น แต่ราคาพาร์เท่าเดิม กรณีนี้ผู้ถือหุ้นเดิมมีจำนวนหุ้นลดแน่นอน แล้วมีผลกระทบอย่างอื่นอีกไหมครับ 2. การลดราคาพาร์ แต่จำนวนหุ้นเท่าเดิม กรณีนี้ไม่แน่ใจว่าผู้ถือหุ้นเดิมจะได้รับผลกระทบยังไงบ้างครับsun_cisa2 เขียน:มีกำไรแล้วลดทุน ???? น่าสนมีด้วยหรือในตลาด ลดไปทำไม
มักเจอแต่บริษัทมีขาดทุนสะสมและลดทุนเพื่อล้างขาดทุนสะสม เพื่อเริมกันใหม่ ล้างไพ่ เพราะจะให้มีคนใหม่มาลงทุนด้วย ช่วยบอกทีว่ามีบริษัทไหนมีกำไร (สะสม) แล้วลดทุนบ้าง
แต่ถ้ามีขาดทุนสะสมมาหลายปี พอมีกำไรฟื้นขึ้นมา แล้วลดทุน เป็นเพราะอยากจ่ายปันผล เพราะบริษัทจ่ายปันผลไม่ได้กฎหมายไม่ให้หากยังมีขาดทุนสะสมอยู่ ต้องเอากไรล้างให้หมดก่อนถึงจ่ายได้
วิธีล้างขาดทุนสะสมได้เร็วสุดคือลดทุน กำไรปีต่อไปก็จ่ายปันผลได้แล้ว
การลดทุนโดยการตัดขาดทุนสะสมกับหุ้นทุน ส่วนผู้ถือหุ้นรวมไม่กระทบ เพราะขาดทุนสะสมก็นำมาหักลดส่วนผู้ถือหุ้นอยู่แล้ว ข้อเสียคือ หุ้นเราหายไปแน่นอน ข้อดีคือ ถ้าปีหน้ามีกำไรจะจ่ายปันผลได้ เพราะถ้ามีขาดทุนสะสมอยู่ต้องเอากำไรไปล้างให้หมดก่อน จึงจ่ายปันผลได้ หลายบริษัทที่ลดทุนเพราะเมื่อปรับโครงสร้างหนี้ นักลงทุนใหม่จะมาเขาไม่มาแบกขาดทุนสะสมหลายๆปีหรอก เขาเข้ามาแล้วถ้ามีกำไร เขาต้องได้ผลอบแทนคืน
การลดทุนแล้วได้กำไร?? ใครได้ครับ?? ผู้ถือหุ้นเดิมหุ้นหายเงินหายทันที แต่ที่ได้ประโยชน์คือ คนเข้ามาลงทุนใหม่
อ่านเพิ่มเติมได้ใน topic ทุนจดทะเบียน
แล้วทั้งสองกรณี มีผลดี ผลเสียกับผู้ถือหุ้นเดิม และผู้ถือหุ้นที่จะเข้าใหม่ยังไงบ้างครับ แล้วส่วนใหญ่บริษัทต่างๆนิยมลดทุนแบบไหนครับ ขอบคุณครับ ถ้าข้อมูลผิดพลาดต้องขออภัยด้วยครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 38
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 26
sun_cisa2 wrote:
มีกำไรแล้วลดทุน ???? น่าสนมีด้วยหรือในตลาด ลดไปทำไม
มักเจอแต่บริษัทมีขาดทุนสะสมและลดทุนเพื่อล้างขาดทุนสะสม เพื่อเริมกันใหม่ ล้างไพ่ เพราะจะให้มีคนใหม่มาลงทุนด้วย ช่วยบอกทีว่ามีบริษัทไหนมีกำไร (สะสม) แล้วลดทุนบ้าง
แต่ถ้ามีขาดทุนสะสมมาหลายปี พอมีกำไรฟื้นขึ้นมา แล้วลดทุน เป็นเพราะอยากจ่ายปันผล เพราะบริษัทจ่ายปันผลไม่ได้กฎหมายไม่ให้หากยังมีขาดทุนสะสมอยู่ ต้องเอากไรล้างให้หมดก่อนถึงจ่ายได้
วิธีล้างขาดทุนสะสมได้เร็วสุดคือลดทุน กำไรปีต่อไปก็จ่ายปันผลได้แล้ว
การลดทุนโดยการตัดขาดทุนสะสมกับหุ้นทุน ส่วนผู้ถือหุ้นรวมไม่กระทบ เพราะขาดทุนสะสมก็นำมาหักลดส่วนผู้ถือหุ้นอยู่แล้ว ข้อเสียคือ หุ้นเราหายไปแน่นอน ข้อดีคือ ถ้าปีหน้ามีกำไรจะจ่ายปันผลได้ เพราะถ้ามีขาดทุนสะสมอยู่ต้องเอากำไรไปล้างให้หมดก่อน จึงจ่ายปันผลได้ หลายบริษัทที่ลดทุนเพราะเมื่อปรับโครงสร้างหนี้ นักลงทุนใหม่จะมาเขาไม่มาแบกขาดทุนสะสมหลายๆปีหรอก เขาเข้ามาแล้วถ้ามีกำไร เขาต้องได้ผลอบแทนคืน
การลดทุนแล้วได้กำไร?? ใครได้ครับ?? ผู้ถือหุ้นเดิมหุ้นหายเงินหายทันที แต่ที่ได้ประโยชน์คือ คนเข้ามาลงทุนใหม่
อ่านเพิ่มเติมได้ใน topic ทุนจดทะเบียน
การลดทุนน่าจะมี 2 แบบใช่ไหมครับ คือ 1. การลดจำนวนหุ้น แต่ราคาพาร์เท่าเดิม กรณีนี้ผู้ถือหุ้นเดิมมีจำนวนหุ้นลดแน่นอน แล้วมีผลกระทบอย่างอื่นอีกไหมครับ 2. การลดราคาพาร์ แต่จำนวนหุ้นเท่าเดิม กรณีนี้ไม่แน่ใจว่าผู้ถือหุ้นเดิมจะได้รับผลกระทบยังไงบ้างครับ
แล้วทั้งสองกรณี มีผลดี ผลเสียกับผู้ถือหุ้นเดิม และผู้ถือหุ้นที่จะเข้าใหม่ยังไงบ้างครับ แล้วส่วนใหญ่บริษัทต่างๆนิยมลดทุนแบบไหนครับ ขอบคุณครับ ถ้าข้อมูลผิดพลาดต้องขออภัยด้วยครับ[quote][/quote]
การลดทุนมี ๒ วิธี ใช่แล้วครับ ผลกระทบต่อผู้ถือหุ้นเดิม ไม่แตกต่างกันครับ เพียงแต่ ราคาต่อหุ้นจะแตกต่างกัน กล่าวคืน หากใช้วิธีลดจำนวนหุ้น มูลค่าต่อหุ้นหลังจากลดทุน จะสูงกว่า การใช้วิธีลดพาร์ แต่จำนวนหุ้นจะน้อยกว่าวิธีลดพาร์ ดังนั้นมูลค่าหุ้น (จำนวนหุ้นxราคาต่อหุ้น) หลังลดทุน ทั้งสองวิธีจะให้ผลเท่ากัน การลดทุนโดยเฉพาะกรณีเพื่อล้างขาดทุนสะสมนั้น หมายความว่า ผู้ถือหุ้นเดิมแสดงความรับผิดชอบต่อผลประกอบการที่ผ่านมา ผู้ถือหุ้นใหม่จึงจะยินดีเข้ามาลงทุน หากไม่ยอมล้างขาดทุนสะสม การระดมทุนใหม่จะยากยิ่ง เพราะตราบใดที่ยังมีขาดทุนสะสมอยู่ การจ่ายปันผลจะกระทำไม่ได้ ผลตอบแทนอย่างเดียว
ที่คาดหวังคือ capital gain เท่านั้นครับ
มีกำไรแล้วลดทุน ???? น่าสนมีด้วยหรือในตลาด ลดไปทำไม
มักเจอแต่บริษัทมีขาดทุนสะสมและลดทุนเพื่อล้างขาดทุนสะสม เพื่อเริมกันใหม่ ล้างไพ่ เพราะจะให้มีคนใหม่มาลงทุนด้วย ช่วยบอกทีว่ามีบริษัทไหนมีกำไร (สะสม) แล้วลดทุนบ้าง
แต่ถ้ามีขาดทุนสะสมมาหลายปี พอมีกำไรฟื้นขึ้นมา แล้วลดทุน เป็นเพราะอยากจ่ายปันผล เพราะบริษัทจ่ายปันผลไม่ได้กฎหมายไม่ให้หากยังมีขาดทุนสะสมอยู่ ต้องเอากไรล้างให้หมดก่อนถึงจ่ายได้
วิธีล้างขาดทุนสะสมได้เร็วสุดคือลดทุน กำไรปีต่อไปก็จ่ายปันผลได้แล้ว
การลดทุนโดยการตัดขาดทุนสะสมกับหุ้นทุน ส่วนผู้ถือหุ้นรวมไม่กระทบ เพราะขาดทุนสะสมก็นำมาหักลดส่วนผู้ถือหุ้นอยู่แล้ว ข้อเสียคือ หุ้นเราหายไปแน่นอน ข้อดีคือ ถ้าปีหน้ามีกำไรจะจ่ายปันผลได้ เพราะถ้ามีขาดทุนสะสมอยู่ต้องเอากำไรไปล้างให้หมดก่อน จึงจ่ายปันผลได้ หลายบริษัทที่ลดทุนเพราะเมื่อปรับโครงสร้างหนี้ นักลงทุนใหม่จะมาเขาไม่มาแบกขาดทุนสะสมหลายๆปีหรอก เขาเข้ามาแล้วถ้ามีกำไร เขาต้องได้ผลอบแทนคืน
การลดทุนแล้วได้กำไร?? ใครได้ครับ?? ผู้ถือหุ้นเดิมหุ้นหายเงินหายทันที แต่ที่ได้ประโยชน์คือ คนเข้ามาลงทุนใหม่
อ่านเพิ่มเติมได้ใน topic ทุนจดทะเบียน
การลดทุนน่าจะมี 2 แบบใช่ไหมครับ คือ 1. การลดจำนวนหุ้น แต่ราคาพาร์เท่าเดิม กรณีนี้ผู้ถือหุ้นเดิมมีจำนวนหุ้นลดแน่นอน แล้วมีผลกระทบอย่างอื่นอีกไหมครับ 2. การลดราคาพาร์ แต่จำนวนหุ้นเท่าเดิม กรณีนี้ไม่แน่ใจว่าผู้ถือหุ้นเดิมจะได้รับผลกระทบยังไงบ้างครับ
แล้วทั้งสองกรณี มีผลดี ผลเสียกับผู้ถือหุ้นเดิม และผู้ถือหุ้นที่จะเข้าใหม่ยังไงบ้างครับ แล้วส่วนใหญ่บริษัทต่างๆนิยมลดทุนแบบไหนครับ ขอบคุณครับ ถ้าข้อมูลผิดพลาดต้องขออภัยด้วยครับ[quote][/quote]
การลดทุนมี ๒ วิธี ใช่แล้วครับ ผลกระทบต่อผู้ถือหุ้นเดิม ไม่แตกต่างกันครับ เพียงแต่ ราคาต่อหุ้นจะแตกต่างกัน กล่าวคืน หากใช้วิธีลดจำนวนหุ้น มูลค่าต่อหุ้นหลังจากลดทุน จะสูงกว่า การใช้วิธีลดพาร์ แต่จำนวนหุ้นจะน้อยกว่าวิธีลดพาร์ ดังนั้นมูลค่าหุ้น (จำนวนหุ้นxราคาต่อหุ้น) หลังลดทุน ทั้งสองวิธีจะให้ผลเท่ากัน การลดทุนโดยเฉพาะกรณีเพื่อล้างขาดทุนสะสมนั้น หมายความว่า ผู้ถือหุ้นเดิมแสดงความรับผิดชอบต่อผลประกอบการที่ผ่านมา ผู้ถือหุ้นใหม่จึงจะยินดีเข้ามาลงทุน หากไม่ยอมล้างขาดทุนสะสม การระดมทุนใหม่จะยากยิ่ง เพราะตราบใดที่ยังมีขาดทุนสะสมอยู่ การจ่ายปันผลจะกระทำไม่ได้ ผลตอบแทนอย่างเดียว
ที่คาดหวังคือ capital gain เท่านั้นครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 5
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 27
เนื่องจากอาทิตย์ที่ผ่านมาทั้งผมและ peerapong.t ติดงานbba charity showcase จึงต้องขออภัยคุณ satit ด้วยนะครับที่เข้ามาตอบช้าsatit เขียน:คุณpeerapong ครับ
ถ้าบันทึกเป็นกำไรจากการปรับหนี้ ในงบกำไรขาดทุน
ดังนั้นถ้าบริษัทเบ็ดเสร็จมีกำไร ส่วนของผู้ถีอหุ้นก็ต้องเพิ่มขึ้นด้วยโดยไปโป่งที่
กำไรสะสมใช่ไม๊ครับ
อ้างอิงจากสมการ สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน เมื่อบริษัทมีกำไร จะถูกรวมเข้าไปยังทุนหรือส่วนของผู้ถือหุ้น และจะรวมไว้ในกำไร(ขาดทุน)สะสมของบริษัทครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 118
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 28
ถ้าเป็นอย่างนั้นwinnermax เขียน:sun_cisa2 wrote:
มีกำไรแล้วลดทุน ???? น่าสนมีด้วยหรือในตลาด ลดไปทำไม
มักเจอแต่บริษัทมีขาดทุนสะสมและลดทุนเพื่อล้างขาดทุนสะสม เพื่อเริมกันใหม่ ล้างไพ่ เพราะจะให้มีคนใหม่มาลงทุนด้วย ช่วยบอกทีว่ามีบริษัทไหนมีกำไร (สะสม) แล้วลดทุนบ้าง
แต่ถ้ามีขาดทุนสะสมมาหลายปี พอมีกำไรฟื้นขึ้นมา แล้วลดทุน เป็นเพราะอยากจ่ายปันผล เพราะบริษัทจ่ายปันผลไม่ได้กฎหมายไม่ให้หากยังมีขาดทุนสะสมอยู่ ต้องเอากไรล้างให้หมดก่อนถึงจ่ายได้
วิธีล้างขาดทุนสะสมได้เร็วสุดคือลดทุน กำไรปีต่อไปก็จ่ายปันผลได้แล้ว
การลดทุนโดยการตัดขาดทุนสะสมกับหุ้นทุน ส่วนผู้ถือหุ้นรวมไม่กระทบ เพราะขาดทุนสะสมก็นำมาหักลดส่วนผู้ถือหุ้นอยู่แล้ว ข้อเสียคือ หุ้นเราหายไปแน่นอน ข้อดีคือ ถ้าปีหน้ามีกำไรจะจ่ายปันผลได้ เพราะถ้ามีขาดทุนสะสมอยู่ต้องเอากำไรไปล้างให้หมดก่อน จึงจ่ายปันผลได้ หลายบริษัทที่ลดทุนเพราะเมื่อปรับโครงสร้างหนี้ นักลงทุนใหม่จะมาเขาไม่มาแบกขาดทุนสะสมหลายๆปีหรอก เขาเข้ามาแล้วถ้ามีกำไร เขาต้องได้ผลอบแทนคืน
การลดทุนแล้วได้กำไร?? ใครได้ครับ?? ผู้ถือหุ้นเดิมหุ้นหายเงินหายทันที แต่ที่ได้ประโยชน์คือ คนเข้ามาลงทุนใหม่
อ่านเพิ่มเติมได้ใน topic ทุนจดทะเบียน
การลดทุนน่าจะมี 2 แบบใช่ไหมครับ คือ 1. การลดจำนวนหุ้น แต่ราคาพาร์เท่าเดิม กรณีนี้ผู้ถือหุ้นเดิมมีจำนวนหุ้นลดแน่นอน แล้วมีผลกระทบอย่างอื่นอีกไหมครับ 2. การลดราคาพาร์ แต่จำนวนหุ้นเท่าเดิม กรณีนี้ไม่แน่ใจว่าผู้ถือหุ้นเดิมจะได้รับผลกระทบยังไงบ้างครับ
แล้วทั้งสองกรณี มีผลดี ผลเสียกับผู้ถือหุ้นเดิม และผู้ถือหุ้นที่จะเข้าใหม่ยังไงบ้างครับ แล้วส่วนใหญ่บริษัทต่างๆนิยมลดทุนแบบไหนครับ ขอบคุณครับ ถ้าข้อมูลผิดพลาดต้องขออภัยด้วยครับการลดทุนมี ๒ วิธี ใช่แล้วครับ ผลกระทบต่อผู้ถือหุ้นเดิม ไม่แตกต่างกันครับ เพียงแต่ ราคาต่อหุ้นจะแตกต่างกัน กล่าวคืน หากใช้วิธีลดจำนวนหุ้น มูลค่าต่อหุ้นหลังจากลดทุน จะสูงกว่า การใช้วิธีลดพาร์ แต่จำนวนหุ้นจะน้อยกว่าวิธีลดพาร์ ดังนั้นมูลค่าหุ้น (จำนวนหุ้นxราคาต่อหุ้น) หลังลดทุน ทั้งสองวิธีจะให้ผลเท่ากัน การลดทุนโดยเฉพาะกรณีเพื่อล้างขาดทุนสะสมนั้น หมายความว่า ผู้ถือหุ้นเดิมแสดงความรับผิดชอบต่อผลประกอบการที่ผ่านมา ผู้ถือหุ้นใหม่จึงจะยินดีเข้ามาลงทุน หากไม่ยอมล้างขาดทุนสะสม การระดมทุนใหม่จะยากยิ่ง เพราะตราบใดที่ยังมีขาดทุนสะสมอยู่ การจ่ายปันผลจะกระทำไม่ได้ ผลตอบแทนอย่างเดียว
ที่คาดหวังคือ capital gain เท่านั้นครับ
1. การลดทุนโดยการลดหุ้น หลังจากลดทุน ราคาหุ้นน่าจะสูงขึ้นเนื่องจาก ถ้ากำไรเท่าเดิม จำนวนหุ้นน้อยลง ทำให้กำไรต่อหุ้นเพิ่มขึ้น ถ้าพีอีเท่าเดิม ราคาก็น่าจะเพิ่มขึ้น
2. การลดทุนโดยการลดพาร์ หลังจากลดทุน ราคาหุ้นน่าจะเท่าเดิม เนื่องจาก ถ้ากำไรเท่าเดิม จำนวนหุ้นเท่าเดิม ทำให้กำไรต่อหุ้นเท่าเดิม ถ้าพีอีเท่าเดิม ราคาหุ้นก็น่าจะเท่าเดิม
3. ถ้าเป็นอย่างนี้การลดทุนโดยการลดหุ้น น่าจะดีกับผู้ถือหุ้นมากว่าเพราะการลดทุนไม่ได้ทำให้จำนวนหุ้นที่เราถือมีการเปลี่ยนแปลง เพราะฉะนั้นการที่ราคาหุ้นเพิ่มสูงขึ้นหลังลดทุนย่อมดีกว่า
ผมเข้าใจอย่างนี้ถูกไหมครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 38
- ผู้ติดตาม: 0
Re: การปรับโครงสร้างหนี้ กำไร???
โพสต์ที่ 30
ขอตอบ ข้อ 1. เข้าใจถูกต้องแล้วครับ0
UpvoteDownvote
winnermax wrote:
sun_cisa2 wrote:
มีกำไรแล้วลดทุน ???? น่าสนมีด้วยหรือในตลาด ลดไปทำไม
มักเจอแต่บริษัทมีขาดทุนสะสมและลดทุนเพื่อล้างขาดทุนสะสม เพื่อเริมกันใหม่ ล้างไพ่ เพราะจะให้มีคนใหม่มาลงทุนด้วย ช่วยบอกทีว่ามีบริษัทไหนมีกำไร (สะสม) แล้วลดทุนบ้าง
แต่ถ้ามีขาดทุนสะสมมาหลายปี พอมีกำไรฟื้นขึ้นมา แล้วลดทุน เป็นเพราะอยากจ่ายปันผล เพราะบริษัทจ่ายปันผลไม่ได้กฎหมายไม่ให้หากยังมีขาดทุนสะสมอยู่ ต้องเอากไรล้างให้หมดก่อนถึงจ่ายได้
วิธีล้างขาดทุนสะสมได้เร็วสุดคือลดทุน กำไรปีต่อไปก็จ่ายปันผลได้แล้ว
การลดทุนโดยการตัดขาดทุนสะสมกับหุ้นทุน ส่วนผู้ถือหุ้นรวมไม่กระทบ เพราะขาดทุนสะสมก็นำมาหักลดส่วนผู้ถือหุ้นอยู่แล้ว ข้อเสียคือ หุ้นเราหายไปแน่นอน ข้อดีคือ ถ้าปีหน้ามีกำไรจะจ่ายปันผลได้ เพราะถ้ามีขาดทุนสะสมอยู่ต้องเอากำไรไปล้างให้หมดก่อน จึงจ่ายปันผลได้ หลายบริษัทที่ลดทุนเพราะเมื่อปรับโครงสร้างหนี้ นักลงทุนใหม่จะมาเขาไม่มาแบกขาดทุนสะสมหลายๆปีหรอก เขาเข้ามาแล้วถ้ามีกำไร เขาต้องได้ผลอบแทนคืน
การลดทุนแล้วได้กำไร?? ใครได้ครับ?? ผู้ถือหุ้นเดิมหุ้นหายเงินหายทันที แต่ที่ได้ประโยชน์คือ คนเข้ามาลงทุนใหม่
อ่านเพิ่มเติมได้ใน topic ทุนจดทะเบียน
การลดทุนน่าจะมี 2 แบบใช่ไหมครับ คือ 1. การลดจำนวนหุ้น แต่ราคาพาร์เท่าเดิม กรณีนี้ผู้ถือหุ้นเดิมมีจำนวนหุ้นลดแน่นอน แล้วมีผลกระทบอย่างอื่นอีกไหมครับ 2. การลดราคาพาร์ แต่จำนวนหุ้นเท่าเดิม กรณีนี้ไม่แน่ใจว่าผู้ถือหุ้นเดิมจะได้รับผลกระทบยังไงบ้างครับ
แล้วทั้งสองกรณี มีผลดี ผลเสียกับผู้ถือหุ้นเดิม และผู้ถือหุ้นที่จะเข้าใหม่ยังไงบ้างครับ แล้วส่วนใหญ่บริษัทต่างๆนิยมลดทุนแบบไหนครับ ขอบคุณครับ ถ้าข้อมูลผิดพลาดต้องขออภัยด้วยครับ
Quote:
การลดทุนมี ๒ วิธี ใช่แล้วครับ ผลกระทบต่อผู้ถือหุ้นเดิม ไม่แตกต่างกันครับ เพียงแต่ ราคาต่อหุ้นจะแตกต่างกัน กล่าวคืน หากใช้วิธีลดจำนวนหุ้น มูลค่าต่อหุ้นหลังจากลดทุน จะสูงกว่า การใช้วิธีลดพาร์ แต่จำนวนหุ้นจะน้อยกว่าวิธีลดพาร์ ดังนั้นมูลค่าหุ้น (จำนวนหุ้นxราคาต่อหุ้น) หลังลดทุน ทั้งสองวิธีจะให้ผลเท่ากัน การลดทุนโดยเฉพาะกรณีเพื่อล้างขาดทุนสะสมนั้น หมายความว่า ผู้ถือหุ้นเดิมแสดงความรับผิดชอบต่อผลประกอบการที่ผ่านมา ผู้ถือหุ้นใหม่จึงจะยินดีเข้ามาลงทุน หากไม่ยอมล้างขาดทุนสะสม การระดมทุนใหม่จะยากยิ่ง เพราะตราบใดที่ยังมีขาดทุนสะสมอยู่ การจ่ายปันผลจะกระทำไม่ได้ ผลตอบแทนอย่างเดียว
ที่คาดหวังคือ capital gain เท่านั้นครับ
ถ้าเป็นอย่างนั้น
1. การลดทุนโดยการลดหุ้น หลังจากลดทุน ราคาหุ้นน่าจะสูงขึ้นเนื่องจาก ถ้ากำไรเท่าเดิม จำนวนหุ้นน้อยลง ทำให้กำไรต่อหุ้นเพิ่มขึ้น ถ้าพีอีเท่าเดิม ราคาก็น่าจะเพิ่มขึ้น
2. การลดทุนโดยการลดพาร์ หลังจากลดทุน ราคาหุ้นน่าจะเท่าเดิม เนื่องจาก ถ้ากำไรเท่าเดิม จำนวนหุ้นเท่าเดิม ทำให้กำไรต่อหุ้นเท่าเดิม ถ้าพีอีเท่าเดิม ราคาหุ้นก็น่าจะเท่าเดิม
3. ถ้าเป็นอย่างนี้การลดทุนโดยการลดหุ้น น่าจะดีกับผู้ถือหุ้นมากว่าเพราะการลดทุนไม่ได้ทำให้จำนวนหุ้นที่เราถือมีการเปลี่ยนแปลง เพราะฉะนั้นการที่ราคาหุ้นเพิ่มสูงขึ้นหลังลดทุนย่อมดีกว่า
ผมเข้าใจอย่างนี้ถูกไหมครับ
2. เข้าใจถูกต้องแล้วครับ
3. ทั้งสองวิธีการ ผลคล้ายคลึงกันครับ ดังนั้นการสรุปว่าการลดทุนโดยการลดหุ้นดีกว่า ไม่น่าจะสรุปเช่นนั้น เพราะราคาต่อหุ้นที่สูงขึ้น แลกมาด้วยจำนวนหุ้นที่ลดลง ได้อย่าง เสียอย่างครับ