กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
-
- Verified User
- โพสต์: 1301
- ผู้ติดตาม: 0
กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 1
เท่าที่เห็น
ปูนใหญ่ กับ ทีพีซี
ปูนใหญ่กับบริษัทในฟิลิปปินส์ ? ใช่มั้ย เรื่องกระดาษ
ปตท กับ ทีพีไอ
ปตทเคมิคอล
เมเจอร์ กับ CaWoW
เอเซียพลัส
ทหารไทย
นึกไม่ออกแล้ว ทำไมน้อยจัง
ไม่ค่อยเห็นข่าวไปเทคโอเวอร์ บริษัทนอกตลาด หรือบริษัทต่างประเทศเลย
ทำไม SVOA ไม่เทคหรือเมอร์จกับ G-able
ทำไม Oishi ไม่เทคหรือเมอร์จกับ MK
รู้สึกธุรกิจบ้านเราไม่ชกแบบมวยไทยเลย มีแต่แย็บๆแล้วฮุค เข่า ศอก เท้า มีแต่ไม่ค่อยใช้
ปูนใหญ่ กับ ทีพีซี
ปูนใหญ่กับบริษัทในฟิลิปปินส์ ? ใช่มั้ย เรื่องกระดาษ
ปตท กับ ทีพีไอ
ปตทเคมิคอล
เมเจอร์ กับ CaWoW
เอเซียพลัส
ทหารไทย
นึกไม่ออกแล้ว ทำไมน้อยจัง
ไม่ค่อยเห็นข่าวไปเทคโอเวอร์ บริษัทนอกตลาด หรือบริษัทต่างประเทศเลย
ทำไม SVOA ไม่เทคหรือเมอร์จกับ G-able
ทำไม Oishi ไม่เทคหรือเมอร์จกับ MK
รู้สึกธุรกิจบ้านเราไม่ชกแบบมวยไทยเลย มีแต่แย็บๆแล้วฮุค เข่า ศอก เท้า มีแต่ไม่ค่อยใช้
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 11444
- ผู้ติดตาม: 1
กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 2
มีอีกครับ
GMMM จะเทค MATI
GMMM จะเทค POST
คุณเจริญเทค OISHI
เทเลนอร์เทค UCOM
TRUE เทค UBC
SAFE และ DVS ถูกเทค
SST ก็ถูกเทค
จริงๆก็เยอะมากกว่าสมัยก่อนนะครับ
เพียงแต่วัฒนธรรมไทยมักจะนิยมแบบเป็นมิตร จึงไม่ดุเดือดเลือดพล่านเท่าไร
GMMM จะเทค MATI
GMMM จะเทค POST
คุณเจริญเทค OISHI
เทเลนอร์เทค UCOM
TRUE เทค UBC
SAFE และ DVS ถูกเทค
SST ก็ถูกเทค
จริงๆก็เยอะมากกว่าสมัยก่อนนะครับ
เพียงแต่วัฒนธรรมไทยมักจะนิยมแบบเป็นมิตร จึงไม่ดุเดือดเลือดพล่านเท่าไร
- สุมาอี้
- Verified User
- โพสต์: 4576
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 3
เสือสองตัวอยู่ถ้ำเดียวกันมิได้Boring Stock Lover เขียน: ทำไม SVOA ไม่เทคหรือเมอร์จกับ G-able
http://dekisugi.net
ไม่ค่อยได้เช็ค PM เลยครับ ต้องการติดต่อผม อีเมลไปที่ [email protected] จะชัวร์กว่าครับ
ไม่ค่อยได้เช็ค PM เลยครับ ต้องการติดต่อผม อีเมลไปที่ [email protected] จะชัวร์กว่าครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 1301
- ผู้ติดตาม: 0
กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 4
แค่สงสัยว่าทำไมหลายบริษัทถึงมองแต่การเติบโตจากภายใน ปล่อยให้บริษัทใหญ่ๆอย่างปูนใหญ่ ปตท ที่เพิ่มความเติบโต จากภายนอกเข้ามาเสริมเรื่อยๆ
หรือทีมผู้บริหารปจบ.ขาดพ่อมดทางการเงิน หรือให้น้ำหนักของความมั่นคงสูงกว่าการเติบโต หรือขาดความเชื่อมั่นในการจัดการ เลยไม่มั่นใจที่จะไปกลืนคนอื่น กลืนแบบมิตรก็ได้นะ
ปูนใหญ่ในช่วงคุณชุมพล ผมว่าเป็นยุคแห่ง CEO นักการเงินเลยนะ น่าศึกษาดี
หรือทีมผู้บริหารปจบ.ขาดพ่อมดทางการเงิน หรือให้น้ำหนักของความมั่นคงสูงกว่าการเติบโต หรือขาดความเชื่อมั่นในการจัดการ เลยไม่มั่นใจที่จะไปกลืนคนอื่น กลืนแบบมิตรก็ได้นะ
ปูนใหญ่ในช่วงคุณชุมพล ผมว่าเป็นยุคแห่ง CEO นักการเงินเลยนะ น่าศึกษาดี
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 5
วิจัยกสิกรฯ ชี้ M&A กลยุทธ์ต่อยอดธุรกิจ [ นสพ.ทันหุ้น, 14 มิถุนายน 2011 ]
กระแสการควบรวมและการเข้าซื้อกิจการ (Mergers and Acquisitions) ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางในช่วง 4-5ปีที่ผ่านมา โดย Thomson Reuters ระบุว่ามูลค่าดีล M&A ทั่วโลกในปี 2553 อยู่ที่ระดับ 2.4 ล้านล้านดอลลาร์ฯ ซึ่งเพิ่มจากปีที่ผ่านมาถึงร้อยละ 22.9 และแตะระดับสูงสุดในรอบ 2 ปี โดยมีกลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม่ (Emerging Markets) เป็นกลุ่มที่มีการควบรวมกิจการมากที่สุดถึงร้อยละ 33.0 ส่วนภาคธุรกิจที่มีการควบรวมกิจการได้แก่ กลุ่มไฟฟ้าและพลังงานซึ่งมีสัดส่วนถึงร้อยละ 20.6
เช่นเดียวกับการทำธุรกรรม M&A ในประเทศไทย ซึ่งปรับตัวเร่งขึ้นอย่างเห็นได้ชัดในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาทั้งในรูปแบบของการทำธุรรมกรรม M&A ในประเทศและการออกไปซื้อกิจการต่างประเทศ ทั้งในรูปแบบของการถือหุ้น การเข้าซื้อกิจการ และการร่วมทุนระหว่างกันจากอุตสาหกรรมที่หลากหลาย สะท้อนจากมูลค่าการเสนอซื้อธุรกรรม M&A 5 เดือนแรกของปี 2554 ที่สามารถขึ้นไปแตะระดับ 326,892.2 ล้านบาทได้ (เมื่อเทียบกับยอดสถิติรวมทุกประเภททั้งปี 2553 อยู่ที่ระดับประมาณ 350,000 ล้านบาท) จากปัจจัยสนับสนุนหลายประการได้แก่ ปัจจัยด้านนโยบาย เช่น มาตรการภาษีสืบเนื่องจากแผนพัฒนาตลาดทุนไทย การรวมกลุ่มเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) และปัจจัยด้านธุรกิจ เช่น ผลประกอบการที่ดีของบริษัทสร้างแรงจูงใจในการขยายธุรกิจ การลดความเสี่ยงจากการพึ่งพิงวัตถุดิบจาก Supplier การขยายตลาดหรือธุรกิจใหม่ๆ และมุมมองของนักธุรกิจที่มีต่อการทำM&Aเปลี่ยนแปลงไปเป็นรูปแบบของ Win-win Game (ทุกฝ่ายต่างชนะ) โดยปัจจัยสนับสนุนดังกล่าวจะมีแรงส่งให้ภาคธุรกิจมีการควบรวมและซื้อกิจการกันในอัตราเร่งขึ้นในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2554 ได้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยได้ประเมินภาพรวมของมูลค่าธุรกรรม M&A ที่เกิดขึ้นจริงของธุรกิจไทยว่าน่าจะสามารถทะยานขึ้นไปไม่ต่ำกว่า 400,000 ล้านบาทในปี 2554 อย่างไรก็ตามมูลค่าประมาณกว่า 150,000 ล้านบาทมาจากการควบรวมของบริษัทในเครือเดียวกันของผู้ประกอบการรายใหญ่ในธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมี
สำหรับแนวโน้มในระยะกลางนั้น ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่าการขยายฐานธุรกิจผ่านช่องทาง M&A ของธุรกิจไทยน่าจะยังคงดำเนินต่อไปในอีก 3-5 ปีข้างหน้า ซึ่งมูลค่าของธุรกรรมดังกล่าวในแต่ละปีจะมากหรือน้อย ก็คงขึ้นอยู่กับกลยุทธ์ในการปรับตัวทางธุรกิจในขณะนั้น ประกอบกับจังหวะในการหาเป้าหมายที่เหมาะสม และการปิดดีลที่ลงตัวระหว่างผู้เข้าซื้อและผู้ขาย รวมทั้งปัจจัยทางนโยบายจากภาครัฐในอนาคตว่าจะสนับสนุนการทำธุรกรรม M&A มากน้อยเพียงใด ซึ่งหากมองจากปัจจัยแวดล้อม ณ ปัจจุบัน ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า มิติของของ AEC และ ASEAN Linkage น่าจะยังมีแรงดึงดูดให้ธุรกิจในภูมิภาคอาเซียนเข้ามาเจรจาขอทำ M&A กับธุรกิจในไทยมากขึ้น โดยเฉพาะในภาคการบริการ เช่น สถาบันการเงิน โลจิสติกส์ ธุรกิจท่องเที่ยวและสุขภาพ ขณะที่ธุรกิจไทยที่มีโอกาสออกไปซื้อหรือควบรวมธุรกิจในต่างประเทศ ที่สำคัญน่าจะเป็นกลุ่มพลังงาน ปิโตรเคมี วัสดุก่อสร้าง อาหารและเครื่องดื่ม ท่องเที่ยว สุขภาพ บันเทิง เป็นต้น
อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่ากระแสของการทำธุรกรรม M&Aจะเป็นที่นิยมแต่ก็ไม่ได้หมายความว่าการปิดดีล M&A ได้ จะหมายรวมถึงการดำเนินธุรกิจจะประสบความสำเร็จหลังจากนั้นทุกครั้งไป เนื่องจากการทำ M&A มีประเด็นเสี่ยงพ่วงท้ายเข้ามาหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นความแตกต่างของวัฒนธรรมธรรมซึ่งก่อให้เกิดปัญหาสืบเนื่องต่อการปรับโครงสร้างองค์กรภายหลังการควบรวมกิจการ กระแสราคาหลักทรัพย์ที่พุ่งไปก่อนการควบรวมอาจทำให้การประเมินราคากิจการที่สูงจนเกินไป ก่อให้เกิดความเป็นไปได้ว่าดีลที่ได้มาให้ผลตอบแทนต่ำกว่าที่ควรจะเป็น หรือแม้กระทั่งการตั้งเป้าหมายในการควบรวมกิจการไม่มีความชัดเจนตั้งแต่ต้นก็สามารถส่งผลให้ธุรกิจล้มเหลวหลังปิดดีลได้เช่นกัน ดังนั้นผู้ประกอบธุรกิจควรจะได้ตระหนักถึงประเด็นแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการทำ M&A อย่างครอบคลุมเพื่อที่จะสามารถเตรียมรับกับสถานการณ์ได้อย่างทันท่วงที และสามารถรับมือกับปัญหาภายหลังการปิดดีล M&A ได้อย่างราบรื่นต่อไป
กระแสการควบรวมและการเข้าซื้อกิจการ (Mergers and Acquisitions) ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางในช่วง 4-5ปีที่ผ่านมา โดย Thomson Reuters ระบุว่ามูลค่าดีล M&A ทั่วโลกในปี 2553 อยู่ที่ระดับ 2.4 ล้านล้านดอลลาร์ฯ ซึ่งเพิ่มจากปีที่ผ่านมาถึงร้อยละ 22.9 และแตะระดับสูงสุดในรอบ 2 ปี โดยมีกลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม่ (Emerging Markets) เป็นกลุ่มที่มีการควบรวมกิจการมากที่สุดถึงร้อยละ 33.0 ส่วนภาคธุรกิจที่มีการควบรวมกิจการได้แก่ กลุ่มไฟฟ้าและพลังงานซึ่งมีสัดส่วนถึงร้อยละ 20.6
เช่นเดียวกับการทำธุรกรรม M&A ในประเทศไทย ซึ่งปรับตัวเร่งขึ้นอย่างเห็นได้ชัดในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาทั้งในรูปแบบของการทำธุรรมกรรม M&A ในประเทศและการออกไปซื้อกิจการต่างประเทศ ทั้งในรูปแบบของการถือหุ้น การเข้าซื้อกิจการ และการร่วมทุนระหว่างกันจากอุตสาหกรรมที่หลากหลาย สะท้อนจากมูลค่าการเสนอซื้อธุรกรรม M&A 5 เดือนแรกของปี 2554 ที่สามารถขึ้นไปแตะระดับ 326,892.2 ล้านบาทได้ (เมื่อเทียบกับยอดสถิติรวมทุกประเภททั้งปี 2553 อยู่ที่ระดับประมาณ 350,000 ล้านบาท) จากปัจจัยสนับสนุนหลายประการได้แก่ ปัจจัยด้านนโยบาย เช่น มาตรการภาษีสืบเนื่องจากแผนพัฒนาตลาดทุนไทย การรวมกลุ่มเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) และปัจจัยด้านธุรกิจ เช่น ผลประกอบการที่ดีของบริษัทสร้างแรงจูงใจในการขยายธุรกิจ การลดความเสี่ยงจากการพึ่งพิงวัตถุดิบจาก Supplier การขยายตลาดหรือธุรกิจใหม่ๆ และมุมมองของนักธุรกิจที่มีต่อการทำM&Aเปลี่ยนแปลงไปเป็นรูปแบบของ Win-win Game (ทุกฝ่ายต่างชนะ) โดยปัจจัยสนับสนุนดังกล่าวจะมีแรงส่งให้ภาคธุรกิจมีการควบรวมและซื้อกิจการกันในอัตราเร่งขึ้นในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2554 ได้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยได้ประเมินภาพรวมของมูลค่าธุรกรรม M&A ที่เกิดขึ้นจริงของธุรกิจไทยว่าน่าจะสามารถทะยานขึ้นไปไม่ต่ำกว่า 400,000 ล้านบาทในปี 2554 อย่างไรก็ตามมูลค่าประมาณกว่า 150,000 ล้านบาทมาจากการควบรวมของบริษัทในเครือเดียวกันของผู้ประกอบการรายใหญ่ในธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมี
สำหรับแนวโน้มในระยะกลางนั้น ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่าการขยายฐานธุรกิจผ่านช่องทาง M&A ของธุรกิจไทยน่าจะยังคงดำเนินต่อไปในอีก 3-5 ปีข้างหน้า ซึ่งมูลค่าของธุรกรรมดังกล่าวในแต่ละปีจะมากหรือน้อย ก็คงขึ้นอยู่กับกลยุทธ์ในการปรับตัวทางธุรกิจในขณะนั้น ประกอบกับจังหวะในการหาเป้าหมายที่เหมาะสม และการปิดดีลที่ลงตัวระหว่างผู้เข้าซื้อและผู้ขาย รวมทั้งปัจจัยทางนโยบายจากภาครัฐในอนาคตว่าจะสนับสนุนการทำธุรกรรม M&A มากน้อยเพียงใด ซึ่งหากมองจากปัจจัยแวดล้อม ณ ปัจจุบัน ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า มิติของของ AEC และ ASEAN Linkage น่าจะยังมีแรงดึงดูดให้ธุรกิจในภูมิภาคอาเซียนเข้ามาเจรจาขอทำ M&A กับธุรกิจในไทยมากขึ้น โดยเฉพาะในภาคการบริการ เช่น สถาบันการเงิน โลจิสติกส์ ธุรกิจท่องเที่ยวและสุขภาพ ขณะที่ธุรกิจไทยที่มีโอกาสออกไปซื้อหรือควบรวมธุรกิจในต่างประเทศ ที่สำคัญน่าจะเป็นกลุ่มพลังงาน ปิโตรเคมี วัสดุก่อสร้าง อาหารและเครื่องดื่ม ท่องเที่ยว สุขภาพ บันเทิง เป็นต้น
อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่ากระแสของการทำธุรกรรม M&Aจะเป็นที่นิยมแต่ก็ไม่ได้หมายความว่าการปิดดีล M&A ได้ จะหมายรวมถึงการดำเนินธุรกิจจะประสบความสำเร็จหลังจากนั้นทุกครั้งไป เนื่องจากการทำ M&A มีประเด็นเสี่ยงพ่วงท้ายเข้ามาหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นความแตกต่างของวัฒนธรรมธรรมซึ่งก่อให้เกิดปัญหาสืบเนื่องต่อการปรับโครงสร้างองค์กรภายหลังการควบรวมกิจการ กระแสราคาหลักทรัพย์ที่พุ่งไปก่อนการควบรวมอาจทำให้การประเมินราคากิจการที่สูงจนเกินไป ก่อให้เกิดความเป็นไปได้ว่าดีลที่ได้มาให้ผลตอบแทนต่ำกว่าที่ควรจะเป็น หรือแม้กระทั่งการตั้งเป้าหมายในการควบรวมกิจการไม่มีความชัดเจนตั้งแต่ต้นก็สามารถส่งผลให้ธุรกิจล้มเหลวหลังปิดดีลได้เช่นกัน ดังนั้นผู้ประกอบธุรกิจควรจะได้ตระหนักถึงประเด็นแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการทำ M&A อย่างครอบคลุมเพื่อที่จะสามารถเตรียมรับกับสถานการณ์ได้อย่างทันท่วงที และสามารถรับมือกับปัญหาภายหลังการปิดดีล M&A ได้อย่างราบรื่นต่อไป
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
- Financeseed
- Verified User
- โพสต์: 1304
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 7
กสิกรไทย คาดว่ามูลค่าธุรกรรม M&A ธุรกิจไทยเพิ่มไม่น้อยกว่า 4 แสนล้านในปีนี้
ธุรกรรมการควบรวมและซื้อกิจการ หรือ M&A (Mergers and Acquisitions) ในประเทศไทย ในอดีตที่ผ่านมามักเกิดขึ้นในช่วงที่ธุรกิจเผชิญปัญหา ดังเช่นช่วงวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 (วิกฤตต้มยำกุ้ง) ที่เห็นธุรกรรม M&A เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน
ทั้งการควบรวมกิจการในกลุ่มธุรกิจสถาบันการเงิน การเข้าซื้อกิจการของนักลงทุนต่างชาติที่เข้ามาถือหุ้นในธุรกิจขนาดใหญ่ เช่น กิจการโทรคมนาคม และอุตสาหกรรมเหล็ก เป็นต้น โดยส่วนใหญ่เป็นการปรับโครงสร้างกิจการที่ประสบปัญหาทางการเงินอย่างรุนแรงจากวิกฤตเศรษฐกิจ
ปัจจุบัน ธุรกิจไทยมีความเคลื่อนไหวในธุรกรรม M&A กันมากขึ้น แต่ด้วยเหตุผลที่อาจแตกต่างไปจากช่วงหลังปี 2540 กล่าวคือ เป็นการเสริมสร้างความแข็งแกร่งของธุรกิจเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางสภาพแวดล้อมการแข่งขันในตลาดในอนาคต ทั้งในการรุกออกไปขยายฐานธุรกิจในต่างประเทศและรับมือกับการแข่งขันที่จะเข้ามาจากต่างชาติ ท่ามกลางกระแสการเปิดเสรีภายใต้ AEC ที่จะเข้มข้นมากยิ่งขึ้น รวมทั้งนโยบายจากภาครัฐที่เอื้อต่อการทำธุรกรรม ก็เป็นสิ่งที่สนับสนุนให้กระแสของการทำ M&A ร้อนแรงขึ้นในช่วงหลายปีที่ผ่านมา
อย่างไรก็ดีธุรกิจจะประสบความสำเร็จภายหลัง M&A หรือไม่นั้น ก็ขึ้นอยู่กับวิธีเตรียมการก่อนปิดดีล และแผนกลยุทธ์ที่ธุรกิจจะใช้ปรับโครงสร้างขององค์กรหลังปิดดีลแล้ว ซึ่งถือเป็นประเด็นสำคัญที่ธุรกิจพึงตระหนักไว้ก่อนที่จะลงมือทำธุรกรรม M&A ในทางปฏิบัติจริง
M&A: เติบโตอย่างต่อเนื่อง
กระแสการควบรวมและการเข้าซื้อกิจการ (Mergers and Acquisitions) ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางในช่วง 4-5ปีที่ผ่านมา โดย Thomson Reuters ระบุว่ามูลค่าดีล M&A ทั่วโลกในปี 2553 อยู่ที่ระดับ 2.4 ล้านล้านดอลลาร์ฯ ซึ่งเพิ่มจากปีที่ผ่านมาถึงร้อยละ 22.9 และแตะระดับสูงสุดในรอบ 2 ปี โดยมีกลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม่ (Emerging Markets) เป็นกลุ่มที่มีการควบรวมกิจการมากที่สุดถึงร้อยละ 33.0 ส่วนภาคธุรกิจที่มีการควบรวมกิจการได้แก่ กลุ่มไฟฟ้าและพลังงานซึ่งมีสัดส่วนถึงร้อยละ 20.6
สำหรับการทำ M&A ในประเทศไทยนั้นพบว่าในปี 2553 มีการทำคำเสนอซื้อหุ้นเพื่อครอบงำกิจการของระหว่างบริษัทไทย (Tender Offer) มีมูลค่าทั้งสิ้น 207,387.0 ล้านบาท จาก 68 บริษัทและในจำนวนนี้มีมูลค่ารายการซื้อขายที่เกิดขึ้นจริง 182,916.4 ล้านบาท (ร้อยละ 88.2) ถือว่าเป็นมูลค่าที่สูงมาก เมื่อเปรียบเทียบกับข้อมูลในปี 2552 ซึ่งพบว่ามีการทำคำเสนอซื้อหุ้นเพื่อครอบงำกิจการ 66,898.3ล้านบาทจาก 94 บริษัท และมีการซื้อขายจริงเกิดขึ้น 65,513.0 ล้านบาท (ร้อยละ 97.9) สะท้อนถึงมูลค่า M&A ระหว่างกิจการไทยที่เติบโตกว่า 3 เท่าภายในหนึ่งปีเลยทีเดียว
อย่างไรก็ดีเมื่อพิจารณาจำนวนบริษัทที่เข้าทำธุรกรรม M&A ในปี 2553 กลับพบว่ามีจำนวนต่ำกว่า รวมทั้งสัดส่วนที่มีการยอมรับการเสนอซื้อก็ปรับตัวลดลงกว่าปี 2552 ขณะที่มูลค่าดีลมีขนาดใหญ่ขึ้น โดยดีลที่มีมูลค่ามากกว่ากว่า 10,000 ล้านบาทในปี 2553 มีจำนวนทั้งสิ้น 6 ดีล จากธุรกิจการเงิน ธุรกิจบริการเช่น การขนส่ง และธุรกิจพลังงาน ในขณะที่ในปี 2552 มีเพียง 1 ดีลจากธุรกิจการเงินเท่านั้น นั่นหมายความว่าการเติบโตของธุรกรรม M&A ในปี 2553 เป็นผลเนื่องมาจากขนาดของดีลเป็นสำคัญ
รูปที่1: มูลค่าเสนอซื้อหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ ปี 2552-2553, (ล้านบาท)
เป็นที่น่าสังเกตว่าการลงทุนทางตรงในรูปของธุรกรรม M&A ของไทยในต่างประเทศได้เริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญมากขึ้นเช่นเดียวกัน โดยศูนย์วิจัยกสิกรไทยได้ประเมินมูลค่าของธุรกรรมการซื้อกิจการสุทธิของไทยในต่างประเทศในปี 2553 ไว้ที่ประมาณ 5,100 ล้านดอลลาร์ฯเพิ่มขึ้นจากปี 2552 ถึง 5.8เท่า (รูปที่ 2) จากการนำของธุรกิจพลังงาน ปิโตรเคมี วัสดุก่อสร้าง ค้าปลีก อาหารและเครื่องดื่ม เป็นต้น คิดเป็นสัดส่วนสูงขึ้นมาถึงร้อยละ 61.1 ของการลงทุนทางตรงทั้งหมดในปี 2553 (มูลค่า 8,342.1 ล้านดอลลาร์ฯ) จากที่เคยมีสัดส่วนต่ำมากเข้าใกล้ร้อยละ 0 ในอดีต(ช่วงก่อนปี 2551) แสดงให้เห็นว่าธุรกิจไทยมีแนวโน้มที่จะทำธุรกรรม M&Aในรูปแบบของการเข้าซื้อธุรกิจในต่างประเทศมากยิ่งขึ้น แตกต่างจากในอดีตที่ต่างประเทศจะเข้ามาซื้อธุรกิจของไทย
รูปที่2 : การทำธุรกรรม M&Aของไทยในต่างประเทศ ปี 2543-2553 (ล้านดอลลาร์ฯ)
เสียเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งข้อมูลในปี 2553 บ่งชี้ว่ามูลค่าที่ต่างประเทศซื้อธุรกิจไทยอยู่ในระดับที่ต่ำกว่าเกือบสามเท่าในขณะที่สัดส่วนการเติบโตก็ต่ำกว่าเช่นเดียวกัน สิ่งนี้สะท้อนให้เห็นภาพของสภาพแวดล้อมทางธุรกิจไทยที่มีความเข้มแข็งขึ้นจากโมเมนตัมของการเติบโตทางเศรษฐกิจผ่านการทำธุรกรรม M& A ทั้งในประเทศและต่างประเทศที่มีความคึกคักอย่างเห็นได้ชัดในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา
แนวโน้มการทำ M&A ในปี 2554
สำหรับแนวโน้มการควบรวมและซื้อกิจการของไทยในปัจจุบันและในระยะข้างหน้า ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่าจะยังมีแรงกระตุ้นให้เติบโตต่อไปได้อีกจากปัจจัยสนับสนุนหลายประการ ทั้งเชิงนโยบาย เช่น มาตรการภาษีสืบเนื่องจากแผนพัฒนาตลาดทุนไทย การรวมกลุ่มเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) และ เชิงธุรกิจ เช่น ผลประกอบการที่ดีของบริษัทสร้างแรงจูงใจในการขยายธุรกิจ การลดความเสี่ยงจากการพึ่งพิงวัตถุดิบจาก Supplier การขยายตลาดหรือธุรกิจใหม่ๆ และมุมมองของนักธุรกิจที่มีต่อการทำM&Aเปลี่ยนแปลงไปในรูปแบบของ Win-win Game (ทุกฝ่ายต่างชนะ)
กล่าวคือธุรกิจเริ่มให้ความสำคัญกับผลประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นจากการผนึกกำลัง (Synergy) มากขึ้น ซึ่งปัจจัยดังกล่าวจะเป็นแรงส่งเสริมให้ภาคธุรกิจมีการควบรวมและซื้อกิจการกันในอัตราเร่งขึ้นในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2554 สะท้อนจากมูลค่าเสนอซื้อธุรกรรม M&A 5 เดือนแรกของปี 2554 ที่สามารถขึ้นไปแตะระดับ 326,892.2 ล้านบาทได้ (เมื่อเทียบกับยอดสถิติรวมทั้งปี 2553 อยู่ที่ระดับประมาณ 350,000 ล้านบาท) จากความสนใจออกไปขยายธุรกิจในต่างประเทศของบริษัทขนาดใหญ่ของไทยขณะที่นักลงทุนจากต่างประเทศที่จะเข้ามาร่วมทุนหรือซื้อกิจการในประเทศนั้นน่าจะมีบ้าง โดยคาดว่าจะมาจากนักลงทุนในภูมิภาคเอเชียด้วยกันเป็นส่วนใหญ่ เช่น จีน อินเดีย มาเลเซีย และสิงคโปร์
ทั้งนี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยได้ประเมินภาพรวมของมูลค่าธุรกรรม M&A ที่เกิดขึ้นจริงของธุรกิจไทยว่าน่าจะสามารถทะยานขึ้นไปไม่ต่ำกว่า 400,000 ล้านบาทในปี 2554 อย่างไรก็ตามมูลค่าประมาณกว่า 150,000 ล้านบาทมาจากการควบรวมของบริษัทในเครือเดียวกันของผู้ประกอบการรายใหญ่ในธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมี
สำหรับแนวโน้มในระยะกลางนั้น ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่าการขยายฐานธุรกิจผ่านช่องทาง M&A ของธุรกิจไทยน่าจะยังคงดำเนินต่อไปในอีก 3-5 ปีข้างหน้า ซึ่งมูลค่าของธุรกรรมดังกล่าวในแต่ละปีจะมากหรือน้อย ก็คงขึ้นอยู่กับกลยุทธ์ในการปรับตัวทางธุรกิจในขณะนั้น ประกอบกับจังหวะในการหาเป้าหมายที่เหมาะสม และการปิดดีลที่ลงตัวระหว่างผู้เข้าซื้อและผู้ขาย รวมทั้งปัจจัยทางนโยบายจากภาครัฐในอนาคตว่าจะสนับสนุนการทำธุรกรรม M&A มากน้อยเพียงใด ซึ่งหากมองจากปัจจัยแวดล้อม ณ ปัจจุบัน
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า มิติของของ AEC และ ASEAN Linkage น่าจะยังมีแรงดึงดูดให้ธุรกิจในภูมิภาคอาเซียนเข้ามาเจรจาขอทำ M&A กับธุรกิจในไทยมากขึ้น โดยเฉพาะในภาคการบริการ เช่น สถาบันการเงินโลจิสติกส์ ธุรกิจท่องเที่ยวและสุขภาพ ขณะที่ธุรกิจไทยที่มีโอกาสออกไปซื้อหรือควบรวมธุรกิจในต่างประเทศ ที่สำคัญน่าจะเป็นกลุ่มพลังงาน ปิโตรเคมี วัสดุก่อสร้าง อาหารและเครื่องดื่ม ท่องเที่ยว สุขภาพ บันเทิง เป็นต้นซึ่งธุรกิจที่จะไปทำธุรกรรม M&A ในต่างประเทศน่าจะเป็นกลุ่มธุรกิจที่มีขนาดใหญ่เนื่องจากค่าใช้จ่ายในการทำธุรกรรม M&A อยู่ในระดับสูง(โดยเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณร้อยละ5.4 ของมูลค่าดีล)และกระบวนการในการเจรจาซึ่งใช้เวลาพอสมควร
รูปที่ 3: ธุรกรรม M&A ของประเทศไทยในปี 2554 (ข้อมูลถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2554)
ที่มา: Bloomberg รวบรวมโดยศูนย์วิจัยกสิกรไทย
***ธุรกรรมที่กิจการไทยซื้อหุ้นจากกิจการต่างชาติที่มีสาขาในไทย
****มูลค่าที่สูงในธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมีมาจากการควบรวมของบริษัทในเครือเดียวกันของผู้ประกอบการรายใหญ่
กลยุทธ์ในการทำ M&A ให้ประสบความสำเร็จ
กระแส M&A ได้กลายเป็นประเด็นร้อนและได้รับความสนใจจากธุรกิจอย่างกว้างขวางและเป็นการจุดกระแสให้ผู้ประกอบการในไทยเริ่มเข้ามาทำ M&A กันมากขึ้นในอุตสาหกรรมที่หลากหลายขึ้น แต่ถึงแม้ว่าจะเป็นที่นิยมแต่ก็ไม่ได้หมายความว่าการปิดดีล M&A ได้ จะหมายรวมถึงการดำเนินธุรกิจจะประสบความสำเร็จหลังจากนั้นทุกรายไป เนื่องจากการทำ M&A มีประเด็นเสี่ยงพ่วงท้ายเข้ามาหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นความแตกต่างของวัฒนธรรมธรรม กระแสราคาหลักทรัพย์ที่พุ่งไปก่อนการควบรวมอาจทำให้การประเมินราคากิจการที่สูงจนเกินไป ส่งผลให้ผลตอบแทนต่ำกว่าที่ควรจะเป็น หรือแม้กระทั่งการตั้งเป้าหมายในการควบรวมกิจการไม่มีความชัดเจนตั้งแต่ต้นก็สามารถส่งผลให้ธุรกิจล้มเหลวหลังปิดดีลได้เช่นกัน ดังนั้นผู้ประกอบธุรกิจควรจะได้ตระหนักถึงประเด็นแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการทำ M&A อย่างครอบคลุมเพื่อที่จะสามารถเตรียมรับกับสถานการณ์ได้อย่างทันท่วงที ศูนย์วิจัยกสิกรไทยได้รวบรวมกลยุทธ์ที่นำไปสู่ความสำเร็จในการทำ M&A ไว้ดังนี้
มุ่งเน้นที่หลักการ (Strategic Focus)มากกว่าแย่งชิงเป้าหมาย(Target) ในบางกรณี การทำ M&A เกิดขึ้นเนื่องจากทำไปตามกระแสของตลาดหรือทำเพราะต้องการชิงตัดหน้าบริษัทคู่แข่ง ซึ่งเหตุจูงใจเช่นนี้อาจไม่ก่อให้เกิดผลดีแก่บริษัทได้เนื่องจากไม่มีการวางแผนที่ดี ซ้ำยังก่อให้เกิดปัญหาสืบเนื่องได้ในภายหลัง การตัดสินใจคิดจะทำ M&A ควรจะมาจากเหตุผลทางธุรกิจที่ชัดเจนว่าจะทำ M&A ไปเพื่อวัตถุประสงค์ใดการทำ M&Aให้ผลดีต่อธุรกิจและผู้ถือหุ้นอย่างไร และการตัดสินใจในการทำ M&A ต้องผ่านการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลได้จากการขยายกิจการแบบอื่นอย่างไร นอกจากนั้นต้องมีการวางแผนที่ชัดเจนในการเลือกบริษัทเป้าหมาย วิธีการที่ใช้เลือกทำ M&A และขั้นตอนในการประเมินราคาที่เหมาะสม
ประเมินค่าอย่างรัดกุม (Valuation Discipline) บ่อยครั้งพบว่ากระแสข่าวส่งผลให้หุ้นของบริษัทเป้าหมายทะยานขึ้นไปรอก่อนหน้า เนื่องจากการประเมินค่าผลประโยชน์ที่เกิดจากการผนึกกำลัง (Synergy) สูงจนเกินไปจนทำให้การทำ M&A ลงท้ายด้วยการซื้อของราคาแพงกว่าที่ควรจะเป็น ดังนั้นบริษัทที่สนใจจะทำ M&A กับบริษัทเป้าหมาย ควรมีการทำการวิเคราะห์ประเมินค่าของดีลอย่างละเอียดถี่ถ้วนไม่ว่าจะเป็นผลประโยชน์และต้นทุนทั้งภายนอกและภายใน (External and Internal Valuation) ยกตัวอย่างเช่น การประเมินศักยภาพของบริษัทเป้าหมายรวมทั้งลูกค้าและSupplierของบริษัทเป้าหมายในเชิงลึก การประเมินผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับบริษัทของตนภายหลังการเข้าทำ M&A การประมาณการค่าเสียโอกาสหากไม่ได้ทำ M&A การมอบหมายให้ทุกฝ่ายในบริษัททดลองทำแผนงานที่จะต้องเปลี่ยนแปลงไปเพื่อใช้เป็นแผนโรดแมพเบื้องต้นในการรองรับสถานการณ์ในอนาคต รวมทั้งเพื่อใช้ประเมินอุปสรรคที่แต่ละหน่วยงานอาจจะต้องประสบภายหลังปิดดีล
กำหนดแผนการดำเนินงานหลังการควบรวม (Scrutinized Post-merger Plan) มีคำกล่าวว่า “ธุรกิจหลังปิดดีลไม่แตกต่างไปจากชีวิตหลังแต่งงาน” เนื่องจากการนำสองธุรกิจมารวมกันไม่ว่าจะด้วยวิธีควบรวมหรือเข้าซื้อกิจการ จะต้องเผชิญกับความขัดแย้งนานัปการ ทั้งในด้านของวัฒนธรรมในการดำเนินงานที่แตกต่างกัน ด้านระบบการดำเนินงาน ขีดความสามารถทางเทคโนโลยี ความพร้อมทางด้านบุคลากร ฯลฯ ทำให้หลังจากการเข้าควบรวมกันแล้ว บางครั้งผลลัพธ์กลับไม่เป็นดังที่คาดหมายไว้ตั้งแต่ต้น เพื่อป้องกันปัญหาความแตกต่างระหว่างกัน ธุรกิจควรมีการกำหนดแผนแม่บทเพื่อหลอมสองกิจการเป็นหนึ่งเดียวให้ทั่วถึงและในระยะเวลาที่สั้นที่สุด ซึ่งแผนแม่บทที่ดีควรจะประกอบด้วยประเด็นต่อไปนี้คือ
o สร้างความเข้าใจและเห็นร่วมกันเกี่ยวกับพันธกิจ (Mission) และวิสัยทัศน์ (Vision) ขององค์กร รวมทั้งจัดการปัญหาละเอียดอ่อนบางประการที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น การต่อต้านจากพนักงาน ความรู้สึกสับสนกับวัฒนธรรมองค์กรที่เปลี่ยนไป (Culture Shock) เป็นต้น
o แยกกระบวนการหลังการควบรวมกิจการออกจากธุรกิจหลัก เพื่อให้ธุรกิจหลักไม่ได้รับผลกระทบ รวมทั้งกำหนดกลไกแจ้งภัยล่วงหน้า (Early Warning System) หากหน่วยงานได้ได้รับผลกระทบจากการควบรวมเพื่อที่จะสามารถแก้ไขสถานการณ์ได้ทันท่วงที
o เร่งขยายยอดขายมากกว่าที่จะปรับลดต้นทุน ด้วยการดึงดูดให้ลูกค้าเดิมให้ยังอยู่กับกิจการ ใช้จ่ายกับกิจการมากขึ้นและพยายามดึงดูดลูกค้าใหม่ๆให้เข้ามาใช้บริการของกิจการมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง แทนที่จะมุ่งเน้นการลดต้นทุนเป็นหลัก เนื่องจากการลดต้นทุนจะทำให้ผลตอบแทนของธุรกิจเพิ่มขึ้นเพียงในระยะสั้น
โดยสรุป กระแสการควบรวมและการเข้าซื้อกิจการ (Mergers and Acquisitions) ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางในช่วง 4-5ปีที่ผ่านมา โดย Thomson Reuters ระบุว่ามูลค่าดีล M&A ทั่วโลกในปี 2553 อยู่ที่ระดับ 2.4 ล้านล้านดอลลาร์ฯ ซึ่งเพิ่มจากปีที่ผ่านมาถึงร้อยละ 22.9 และแตะระดับสูงสุดในรอบ 2 ปี โดยมีกลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม่ (Emerging Markets) เป็นกลุ่มที่มีการควบรวมกิจการมากที่สุดถึงร้อยละ 33.0 ส่วนภาคธุรกิจที่มีการควบรวมกิจการได้แก่ กลุ่มไฟฟ้าและพลังงานซึ่งมีสัดส่วนถึงร้อยละ 20.6
เช่นเดียวกับการทำธุรกรรม M&A ในประเทศไทย ซึ่งปรับตัวเร่งขึ้นอย่างเห็นได้ชัดในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาทั้งในรูปแบบของการทำธุรรมกรรม M&A ในประเทศและการออกไปซื้อกิจการต่างประเทศ ทั้งในรูปแบบของการถือหุ้น การเข้าซื้อกิจการ และการร่วมทุนระหว่างกันจากอุตสาหกรรมที่หลากหลาย สะท้อนจากมูลค่าการเสนอซื้อธุรกรรม M&A 5 เดือนแรกของปี 2554 ที่สามารถขึ้นไปแตะระดับ 326,892.2 ล้านบาทได้ (เมื่อเทียบกับยอดสถิติรวมทุกประเภททั้งปี 2553 อยู่ที่ระดับประมาณ 350,000 ล้านบาท) จากปัจจัยสนับสนุนหลายประการได้แก่ ปัจจัยด้านนโยบาย เช่น มาตรการภาษีสืบเนื่องจากแผนพัฒนาตลาดทุนไทย การรวมกลุ่มเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) และปัจจัยด้านธุรกิจ เช่น ผลประกอบการที่ดีของบริษัทสร้างแรงจูงใจในการขยายธุรกิจ การลดความเสี่ยงจากการพึ่งพิงวัตถุดิบจาก Supplier การขยายตลาดหรือธุรกิจใหม่ๆ และมุมมองของนักธุรกิจที่มีต่อการทำM&Aเปลี่ยนแปลงไปเป็นรูปแบบของ Win-win Game (ทุกฝ่ายต่างชนะ)
โดยปัจจัยสนับสนุนดังกล่าวจะมีแรงส่งให้ภาคธุรกิจมีการควบรวมและซื้อกิจการกันในอัตราเร่งขึ้นในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2554 ได้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยได้ประเมินภาพรวมของมูลค่าธุรกรรม M&A ที่เกิดขึ้นจริงของธุรกิจไทยว่าน่าจะสามารถทะยานขึ้นไปไม่ต่ำกว่า 400,000 ล้านบาทในปี 2554 อย่างไรก็ตามมูลค่าประมาณกว่า 150,000 ล้านบาทมาจากการควบรวมของบริษัทในเครือเดียวกันของผู้ประกอบการรายใหญ่ในธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมี
สำหรับแนวโน้มในระยะกลางนั้น ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่าการขยายฐานธุรกิจผ่านช่องทาง M&A ของธุรกิจไทยน่าจะยังคงดำเนินต่อไปในอีก 3-5 ปีข้างหน้า ซึ่งมูลค่าของธุรกรรมดังกล่าวในแต่ละปีจะมากหรือน้อย ก็คงขึ้นอยู่กับกลยุทธ์ในการปรับตัวทางธุรกิจในขณะนั้น ประกอบกับจังหวะในการหาเป้าหมายที่เหมาะสม และการปิดดีลที่ลงตัวระหว่างผู้เข้าซื้อและผู้ขาย รวมทั้งปัจจัยทางนโยบายจากภาครัฐในอนาคตว่าจะสนับสนุนการทำธุรกรรม M&A มากน้อยเพียงใด ซึ่งหากมองจากปัจจัยแวดล้อม ณ ปัจจุบัน ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า มิติของของ AEC และ ASEAN Linkage น่าจะยังมีแรงดึงดูดให้ธุรกิจในภูมิภาคอาเซียนเข้ามาเจรจาขอทำ M&A กับธุรกิจในไทยมากขึ้น โดยเฉพาะในภาคการบริการ เช่น สถาบันการเงิน โลจิสติกส์ ธุรกิจท่องเที่ยวและสุขภาพ ขณะที่ธุรกิจไทยที่มีโอกาสออกไปซื้อหรือควบรวมธุรกิจในต่างประเทศ ที่สำคัญน่าจะเป็นกลุ่มพลังงาน ปิโตรเคมี วัสดุก่อสร้าง อาหารและเครื่องดื่ม ท่องเที่ยว สุขภาพ บันเทิง เป็นต้น
อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่ากระแสของการทำธุรกรรม M&Aจะเป็นที่นิยมแต่ก็ไม่ได้หมายความว่าการปิดดีล M&A ได้ จะหมายรวมถึงการดำเนินธุรกิจจะประสบความสำเร็จหลังจากนั้นทุกครั้งไป เนื่องจากการทำ M&A มีประเด็นเสี่ยงพ่วงท้ายเข้ามาหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นความแตกต่างของวัฒนธรรมธรรมซึ่งก่อให้เกิดปัญหาสืบเนื่องต่อการปรับโครงสร้างองค์กรภายหลังการควบรวมกิจการ กระแสราคาหลักทรัพย์ที่พุ่งไปก่อนการควบรวมอาจทำให้การประเมินราคากิจการที่สูงจนเกินไป ก่อให้เกิดความเป็นไปได้ว่าดีลที่ได้มาให้ผลตอบแทนต่ำกว่าที่ควรจะเป็น หรือแม้กระทั่งการตั้งเป้าหมายในการควบรวมกิจการไม่มีความชัดเจนตั้งแต่ต้นก็สามารถส่งผลให้ธุรกิจล้มเหลวหลังปิดดีลได้เช่นกัน ดังนั้นผู้ประกอบธุรกิจควรจะได้ตระหนักถึงประเด็นแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการทำ M&A อย่างครอบคลุมเพื่อที่จะสามารถเตรียมรับกับสถานการณ์ได้อย่างทันท่วงที และสามารถรับมือกับปัญหาภายหลังการปิดดีล M&A ได้อย่างราบรื่นต่อไป
http://www.thannews.th.com/index.php?op ... Itemid=524
ธุรกรรมการควบรวมและซื้อกิจการ หรือ M&A (Mergers and Acquisitions) ในประเทศไทย ในอดีตที่ผ่านมามักเกิดขึ้นในช่วงที่ธุรกิจเผชิญปัญหา ดังเช่นช่วงวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 (วิกฤตต้มยำกุ้ง) ที่เห็นธุรกรรม M&A เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน
ทั้งการควบรวมกิจการในกลุ่มธุรกิจสถาบันการเงิน การเข้าซื้อกิจการของนักลงทุนต่างชาติที่เข้ามาถือหุ้นในธุรกิจขนาดใหญ่ เช่น กิจการโทรคมนาคม และอุตสาหกรรมเหล็ก เป็นต้น โดยส่วนใหญ่เป็นการปรับโครงสร้างกิจการที่ประสบปัญหาทางการเงินอย่างรุนแรงจากวิกฤตเศรษฐกิจ
ปัจจุบัน ธุรกิจไทยมีความเคลื่อนไหวในธุรกรรม M&A กันมากขึ้น แต่ด้วยเหตุผลที่อาจแตกต่างไปจากช่วงหลังปี 2540 กล่าวคือ เป็นการเสริมสร้างความแข็งแกร่งของธุรกิจเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางสภาพแวดล้อมการแข่งขันในตลาดในอนาคต ทั้งในการรุกออกไปขยายฐานธุรกิจในต่างประเทศและรับมือกับการแข่งขันที่จะเข้ามาจากต่างชาติ ท่ามกลางกระแสการเปิดเสรีภายใต้ AEC ที่จะเข้มข้นมากยิ่งขึ้น รวมทั้งนโยบายจากภาครัฐที่เอื้อต่อการทำธุรกรรม ก็เป็นสิ่งที่สนับสนุนให้กระแสของการทำ M&A ร้อนแรงขึ้นในช่วงหลายปีที่ผ่านมา
อย่างไรก็ดีธุรกิจจะประสบความสำเร็จภายหลัง M&A หรือไม่นั้น ก็ขึ้นอยู่กับวิธีเตรียมการก่อนปิดดีล และแผนกลยุทธ์ที่ธุรกิจจะใช้ปรับโครงสร้างขององค์กรหลังปิดดีลแล้ว ซึ่งถือเป็นประเด็นสำคัญที่ธุรกิจพึงตระหนักไว้ก่อนที่จะลงมือทำธุรกรรม M&A ในทางปฏิบัติจริง
M&A: เติบโตอย่างต่อเนื่อง
กระแสการควบรวมและการเข้าซื้อกิจการ (Mergers and Acquisitions) ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางในช่วง 4-5ปีที่ผ่านมา โดย Thomson Reuters ระบุว่ามูลค่าดีล M&A ทั่วโลกในปี 2553 อยู่ที่ระดับ 2.4 ล้านล้านดอลลาร์ฯ ซึ่งเพิ่มจากปีที่ผ่านมาถึงร้อยละ 22.9 และแตะระดับสูงสุดในรอบ 2 ปี โดยมีกลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม่ (Emerging Markets) เป็นกลุ่มที่มีการควบรวมกิจการมากที่สุดถึงร้อยละ 33.0 ส่วนภาคธุรกิจที่มีการควบรวมกิจการได้แก่ กลุ่มไฟฟ้าและพลังงานซึ่งมีสัดส่วนถึงร้อยละ 20.6
สำหรับการทำ M&A ในประเทศไทยนั้นพบว่าในปี 2553 มีการทำคำเสนอซื้อหุ้นเพื่อครอบงำกิจการของระหว่างบริษัทไทย (Tender Offer) มีมูลค่าทั้งสิ้น 207,387.0 ล้านบาท จาก 68 บริษัทและในจำนวนนี้มีมูลค่ารายการซื้อขายที่เกิดขึ้นจริง 182,916.4 ล้านบาท (ร้อยละ 88.2) ถือว่าเป็นมูลค่าที่สูงมาก เมื่อเปรียบเทียบกับข้อมูลในปี 2552 ซึ่งพบว่ามีการทำคำเสนอซื้อหุ้นเพื่อครอบงำกิจการ 66,898.3ล้านบาทจาก 94 บริษัท และมีการซื้อขายจริงเกิดขึ้น 65,513.0 ล้านบาท (ร้อยละ 97.9) สะท้อนถึงมูลค่า M&A ระหว่างกิจการไทยที่เติบโตกว่า 3 เท่าภายในหนึ่งปีเลยทีเดียว
อย่างไรก็ดีเมื่อพิจารณาจำนวนบริษัทที่เข้าทำธุรกรรม M&A ในปี 2553 กลับพบว่ามีจำนวนต่ำกว่า รวมทั้งสัดส่วนที่มีการยอมรับการเสนอซื้อก็ปรับตัวลดลงกว่าปี 2552 ขณะที่มูลค่าดีลมีขนาดใหญ่ขึ้น โดยดีลที่มีมูลค่ามากกว่ากว่า 10,000 ล้านบาทในปี 2553 มีจำนวนทั้งสิ้น 6 ดีล จากธุรกิจการเงิน ธุรกิจบริการเช่น การขนส่ง และธุรกิจพลังงาน ในขณะที่ในปี 2552 มีเพียง 1 ดีลจากธุรกิจการเงินเท่านั้น นั่นหมายความว่าการเติบโตของธุรกรรม M&A ในปี 2553 เป็นผลเนื่องมาจากขนาดของดีลเป็นสำคัญ
รูปที่1: มูลค่าเสนอซื้อหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ ปี 2552-2553, (ล้านบาท)
เป็นที่น่าสังเกตว่าการลงทุนทางตรงในรูปของธุรกรรม M&A ของไทยในต่างประเทศได้เริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญมากขึ้นเช่นเดียวกัน โดยศูนย์วิจัยกสิกรไทยได้ประเมินมูลค่าของธุรกรรมการซื้อกิจการสุทธิของไทยในต่างประเทศในปี 2553 ไว้ที่ประมาณ 5,100 ล้านดอลลาร์ฯเพิ่มขึ้นจากปี 2552 ถึง 5.8เท่า (รูปที่ 2) จากการนำของธุรกิจพลังงาน ปิโตรเคมี วัสดุก่อสร้าง ค้าปลีก อาหารและเครื่องดื่ม เป็นต้น คิดเป็นสัดส่วนสูงขึ้นมาถึงร้อยละ 61.1 ของการลงทุนทางตรงทั้งหมดในปี 2553 (มูลค่า 8,342.1 ล้านดอลลาร์ฯ) จากที่เคยมีสัดส่วนต่ำมากเข้าใกล้ร้อยละ 0 ในอดีต(ช่วงก่อนปี 2551) แสดงให้เห็นว่าธุรกิจไทยมีแนวโน้มที่จะทำธุรกรรม M&Aในรูปแบบของการเข้าซื้อธุรกิจในต่างประเทศมากยิ่งขึ้น แตกต่างจากในอดีตที่ต่างประเทศจะเข้ามาซื้อธุรกิจของไทย
รูปที่2 : การทำธุรกรรม M&Aของไทยในต่างประเทศ ปี 2543-2553 (ล้านดอลลาร์ฯ)
เสียเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งข้อมูลในปี 2553 บ่งชี้ว่ามูลค่าที่ต่างประเทศซื้อธุรกิจไทยอยู่ในระดับที่ต่ำกว่าเกือบสามเท่าในขณะที่สัดส่วนการเติบโตก็ต่ำกว่าเช่นเดียวกัน สิ่งนี้สะท้อนให้เห็นภาพของสภาพแวดล้อมทางธุรกิจไทยที่มีความเข้มแข็งขึ้นจากโมเมนตัมของการเติบโตทางเศรษฐกิจผ่านการทำธุรกรรม M& A ทั้งในประเทศและต่างประเทศที่มีความคึกคักอย่างเห็นได้ชัดในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา
แนวโน้มการทำ M&A ในปี 2554
สำหรับแนวโน้มการควบรวมและซื้อกิจการของไทยในปัจจุบันและในระยะข้างหน้า ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่าจะยังมีแรงกระตุ้นให้เติบโตต่อไปได้อีกจากปัจจัยสนับสนุนหลายประการ ทั้งเชิงนโยบาย เช่น มาตรการภาษีสืบเนื่องจากแผนพัฒนาตลาดทุนไทย การรวมกลุ่มเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) และ เชิงธุรกิจ เช่น ผลประกอบการที่ดีของบริษัทสร้างแรงจูงใจในการขยายธุรกิจ การลดความเสี่ยงจากการพึ่งพิงวัตถุดิบจาก Supplier การขยายตลาดหรือธุรกิจใหม่ๆ และมุมมองของนักธุรกิจที่มีต่อการทำM&Aเปลี่ยนแปลงไปในรูปแบบของ Win-win Game (ทุกฝ่ายต่างชนะ)
กล่าวคือธุรกิจเริ่มให้ความสำคัญกับผลประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นจากการผนึกกำลัง (Synergy) มากขึ้น ซึ่งปัจจัยดังกล่าวจะเป็นแรงส่งเสริมให้ภาคธุรกิจมีการควบรวมและซื้อกิจการกันในอัตราเร่งขึ้นในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2554 สะท้อนจากมูลค่าเสนอซื้อธุรกรรม M&A 5 เดือนแรกของปี 2554 ที่สามารถขึ้นไปแตะระดับ 326,892.2 ล้านบาทได้ (เมื่อเทียบกับยอดสถิติรวมทั้งปี 2553 อยู่ที่ระดับประมาณ 350,000 ล้านบาท) จากความสนใจออกไปขยายธุรกิจในต่างประเทศของบริษัทขนาดใหญ่ของไทยขณะที่นักลงทุนจากต่างประเทศที่จะเข้ามาร่วมทุนหรือซื้อกิจการในประเทศนั้นน่าจะมีบ้าง โดยคาดว่าจะมาจากนักลงทุนในภูมิภาคเอเชียด้วยกันเป็นส่วนใหญ่ เช่น จีน อินเดีย มาเลเซีย และสิงคโปร์
ทั้งนี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยได้ประเมินภาพรวมของมูลค่าธุรกรรม M&A ที่เกิดขึ้นจริงของธุรกิจไทยว่าน่าจะสามารถทะยานขึ้นไปไม่ต่ำกว่า 400,000 ล้านบาทในปี 2554 อย่างไรก็ตามมูลค่าประมาณกว่า 150,000 ล้านบาทมาจากการควบรวมของบริษัทในเครือเดียวกันของผู้ประกอบการรายใหญ่ในธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมี
สำหรับแนวโน้มในระยะกลางนั้น ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่าการขยายฐานธุรกิจผ่านช่องทาง M&A ของธุรกิจไทยน่าจะยังคงดำเนินต่อไปในอีก 3-5 ปีข้างหน้า ซึ่งมูลค่าของธุรกรรมดังกล่าวในแต่ละปีจะมากหรือน้อย ก็คงขึ้นอยู่กับกลยุทธ์ในการปรับตัวทางธุรกิจในขณะนั้น ประกอบกับจังหวะในการหาเป้าหมายที่เหมาะสม และการปิดดีลที่ลงตัวระหว่างผู้เข้าซื้อและผู้ขาย รวมทั้งปัจจัยทางนโยบายจากภาครัฐในอนาคตว่าจะสนับสนุนการทำธุรกรรม M&A มากน้อยเพียงใด ซึ่งหากมองจากปัจจัยแวดล้อม ณ ปัจจุบัน
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า มิติของของ AEC และ ASEAN Linkage น่าจะยังมีแรงดึงดูดให้ธุรกิจในภูมิภาคอาเซียนเข้ามาเจรจาขอทำ M&A กับธุรกิจในไทยมากขึ้น โดยเฉพาะในภาคการบริการ เช่น สถาบันการเงินโลจิสติกส์ ธุรกิจท่องเที่ยวและสุขภาพ ขณะที่ธุรกิจไทยที่มีโอกาสออกไปซื้อหรือควบรวมธุรกิจในต่างประเทศ ที่สำคัญน่าจะเป็นกลุ่มพลังงาน ปิโตรเคมี วัสดุก่อสร้าง อาหารและเครื่องดื่ม ท่องเที่ยว สุขภาพ บันเทิง เป็นต้นซึ่งธุรกิจที่จะไปทำธุรกรรม M&A ในต่างประเทศน่าจะเป็นกลุ่มธุรกิจที่มีขนาดใหญ่เนื่องจากค่าใช้จ่ายในการทำธุรกรรม M&A อยู่ในระดับสูง(โดยเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณร้อยละ5.4 ของมูลค่าดีล)และกระบวนการในการเจรจาซึ่งใช้เวลาพอสมควร
รูปที่ 3: ธุรกรรม M&A ของประเทศไทยในปี 2554 (ข้อมูลถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2554)
ที่มา: Bloomberg รวบรวมโดยศูนย์วิจัยกสิกรไทย
***ธุรกรรมที่กิจการไทยซื้อหุ้นจากกิจการต่างชาติที่มีสาขาในไทย
****มูลค่าที่สูงในธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมีมาจากการควบรวมของบริษัทในเครือเดียวกันของผู้ประกอบการรายใหญ่
กลยุทธ์ในการทำ M&A ให้ประสบความสำเร็จ
กระแส M&A ได้กลายเป็นประเด็นร้อนและได้รับความสนใจจากธุรกิจอย่างกว้างขวางและเป็นการจุดกระแสให้ผู้ประกอบการในไทยเริ่มเข้ามาทำ M&A กันมากขึ้นในอุตสาหกรรมที่หลากหลายขึ้น แต่ถึงแม้ว่าจะเป็นที่นิยมแต่ก็ไม่ได้หมายความว่าการปิดดีล M&A ได้ จะหมายรวมถึงการดำเนินธุรกิจจะประสบความสำเร็จหลังจากนั้นทุกรายไป เนื่องจากการทำ M&A มีประเด็นเสี่ยงพ่วงท้ายเข้ามาหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นความแตกต่างของวัฒนธรรมธรรม กระแสราคาหลักทรัพย์ที่พุ่งไปก่อนการควบรวมอาจทำให้การประเมินราคากิจการที่สูงจนเกินไป ส่งผลให้ผลตอบแทนต่ำกว่าที่ควรจะเป็น หรือแม้กระทั่งการตั้งเป้าหมายในการควบรวมกิจการไม่มีความชัดเจนตั้งแต่ต้นก็สามารถส่งผลให้ธุรกิจล้มเหลวหลังปิดดีลได้เช่นกัน ดังนั้นผู้ประกอบธุรกิจควรจะได้ตระหนักถึงประเด็นแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการทำ M&A อย่างครอบคลุมเพื่อที่จะสามารถเตรียมรับกับสถานการณ์ได้อย่างทันท่วงที ศูนย์วิจัยกสิกรไทยได้รวบรวมกลยุทธ์ที่นำไปสู่ความสำเร็จในการทำ M&A ไว้ดังนี้
มุ่งเน้นที่หลักการ (Strategic Focus)มากกว่าแย่งชิงเป้าหมาย(Target) ในบางกรณี การทำ M&A เกิดขึ้นเนื่องจากทำไปตามกระแสของตลาดหรือทำเพราะต้องการชิงตัดหน้าบริษัทคู่แข่ง ซึ่งเหตุจูงใจเช่นนี้อาจไม่ก่อให้เกิดผลดีแก่บริษัทได้เนื่องจากไม่มีการวางแผนที่ดี ซ้ำยังก่อให้เกิดปัญหาสืบเนื่องได้ในภายหลัง การตัดสินใจคิดจะทำ M&A ควรจะมาจากเหตุผลทางธุรกิจที่ชัดเจนว่าจะทำ M&A ไปเพื่อวัตถุประสงค์ใดการทำ M&Aให้ผลดีต่อธุรกิจและผู้ถือหุ้นอย่างไร และการตัดสินใจในการทำ M&A ต้องผ่านการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลได้จากการขยายกิจการแบบอื่นอย่างไร นอกจากนั้นต้องมีการวางแผนที่ชัดเจนในการเลือกบริษัทเป้าหมาย วิธีการที่ใช้เลือกทำ M&A และขั้นตอนในการประเมินราคาที่เหมาะสม
ประเมินค่าอย่างรัดกุม (Valuation Discipline) บ่อยครั้งพบว่ากระแสข่าวส่งผลให้หุ้นของบริษัทเป้าหมายทะยานขึ้นไปรอก่อนหน้า เนื่องจากการประเมินค่าผลประโยชน์ที่เกิดจากการผนึกกำลัง (Synergy) สูงจนเกินไปจนทำให้การทำ M&A ลงท้ายด้วยการซื้อของราคาแพงกว่าที่ควรจะเป็น ดังนั้นบริษัทที่สนใจจะทำ M&A กับบริษัทเป้าหมาย ควรมีการทำการวิเคราะห์ประเมินค่าของดีลอย่างละเอียดถี่ถ้วนไม่ว่าจะเป็นผลประโยชน์และต้นทุนทั้งภายนอกและภายใน (External and Internal Valuation) ยกตัวอย่างเช่น การประเมินศักยภาพของบริษัทเป้าหมายรวมทั้งลูกค้าและSupplierของบริษัทเป้าหมายในเชิงลึก การประเมินผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับบริษัทของตนภายหลังการเข้าทำ M&A การประมาณการค่าเสียโอกาสหากไม่ได้ทำ M&A การมอบหมายให้ทุกฝ่ายในบริษัททดลองทำแผนงานที่จะต้องเปลี่ยนแปลงไปเพื่อใช้เป็นแผนโรดแมพเบื้องต้นในการรองรับสถานการณ์ในอนาคต รวมทั้งเพื่อใช้ประเมินอุปสรรคที่แต่ละหน่วยงานอาจจะต้องประสบภายหลังปิดดีล
กำหนดแผนการดำเนินงานหลังการควบรวม (Scrutinized Post-merger Plan) มีคำกล่าวว่า “ธุรกิจหลังปิดดีลไม่แตกต่างไปจากชีวิตหลังแต่งงาน” เนื่องจากการนำสองธุรกิจมารวมกันไม่ว่าจะด้วยวิธีควบรวมหรือเข้าซื้อกิจการ จะต้องเผชิญกับความขัดแย้งนานัปการ ทั้งในด้านของวัฒนธรรมในการดำเนินงานที่แตกต่างกัน ด้านระบบการดำเนินงาน ขีดความสามารถทางเทคโนโลยี ความพร้อมทางด้านบุคลากร ฯลฯ ทำให้หลังจากการเข้าควบรวมกันแล้ว บางครั้งผลลัพธ์กลับไม่เป็นดังที่คาดหมายไว้ตั้งแต่ต้น เพื่อป้องกันปัญหาความแตกต่างระหว่างกัน ธุรกิจควรมีการกำหนดแผนแม่บทเพื่อหลอมสองกิจการเป็นหนึ่งเดียวให้ทั่วถึงและในระยะเวลาที่สั้นที่สุด ซึ่งแผนแม่บทที่ดีควรจะประกอบด้วยประเด็นต่อไปนี้คือ
o สร้างความเข้าใจและเห็นร่วมกันเกี่ยวกับพันธกิจ (Mission) และวิสัยทัศน์ (Vision) ขององค์กร รวมทั้งจัดการปัญหาละเอียดอ่อนบางประการที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น การต่อต้านจากพนักงาน ความรู้สึกสับสนกับวัฒนธรรมองค์กรที่เปลี่ยนไป (Culture Shock) เป็นต้น
o แยกกระบวนการหลังการควบรวมกิจการออกจากธุรกิจหลัก เพื่อให้ธุรกิจหลักไม่ได้รับผลกระทบ รวมทั้งกำหนดกลไกแจ้งภัยล่วงหน้า (Early Warning System) หากหน่วยงานได้ได้รับผลกระทบจากการควบรวมเพื่อที่จะสามารถแก้ไขสถานการณ์ได้ทันท่วงที
o เร่งขยายยอดขายมากกว่าที่จะปรับลดต้นทุน ด้วยการดึงดูดให้ลูกค้าเดิมให้ยังอยู่กับกิจการ ใช้จ่ายกับกิจการมากขึ้นและพยายามดึงดูดลูกค้าใหม่ๆให้เข้ามาใช้บริการของกิจการมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง แทนที่จะมุ่งเน้นการลดต้นทุนเป็นหลัก เนื่องจากการลดต้นทุนจะทำให้ผลตอบแทนของธุรกิจเพิ่มขึ้นเพียงในระยะสั้น
โดยสรุป กระแสการควบรวมและการเข้าซื้อกิจการ (Mergers and Acquisitions) ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางในช่วง 4-5ปีที่ผ่านมา โดย Thomson Reuters ระบุว่ามูลค่าดีล M&A ทั่วโลกในปี 2553 อยู่ที่ระดับ 2.4 ล้านล้านดอลลาร์ฯ ซึ่งเพิ่มจากปีที่ผ่านมาถึงร้อยละ 22.9 และแตะระดับสูงสุดในรอบ 2 ปี โดยมีกลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม่ (Emerging Markets) เป็นกลุ่มที่มีการควบรวมกิจการมากที่สุดถึงร้อยละ 33.0 ส่วนภาคธุรกิจที่มีการควบรวมกิจการได้แก่ กลุ่มไฟฟ้าและพลังงานซึ่งมีสัดส่วนถึงร้อยละ 20.6
เช่นเดียวกับการทำธุรกรรม M&A ในประเทศไทย ซึ่งปรับตัวเร่งขึ้นอย่างเห็นได้ชัดในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาทั้งในรูปแบบของการทำธุรรมกรรม M&A ในประเทศและการออกไปซื้อกิจการต่างประเทศ ทั้งในรูปแบบของการถือหุ้น การเข้าซื้อกิจการ และการร่วมทุนระหว่างกันจากอุตสาหกรรมที่หลากหลาย สะท้อนจากมูลค่าการเสนอซื้อธุรกรรม M&A 5 เดือนแรกของปี 2554 ที่สามารถขึ้นไปแตะระดับ 326,892.2 ล้านบาทได้ (เมื่อเทียบกับยอดสถิติรวมทุกประเภททั้งปี 2553 อยู่ที่ระดับประมาณ 350,000 ล้านบาท) จากปัจจัยสนับสนุนหลายประการได้แก่ ปัจจัยด้านนโยบาย เช่น มาตรการภาษีสืบเนื่องจากแผนพัฒนาตลาดทุนไทย การรวมกลุ่มเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) และปัจจัยด้านธุรกิจ เช่น ผลประกอบการที่ดีของบริษัทสร้างแรงจูงใจในการขยายธุรกิจ การลดความเสี่ยงจากการพึ่งพิงวัตถุดิบจาก Supplier การขยายตลาดหรือธุรกิจใหม่ๆ และมุมมองของนักธุรกิจที่มีต่อการทำM&Aเปลี่ยนแปลงไปเป็นรูปแบบของ Win-win Game (ทุกฝ่ายต่างชนะ)
โดยปัจจัยสนับสนุนดังกล่าวจะมีแรงส่งให้ภาคธุรกิจมีการควบรวมและซื้อกิจการกันในอัตราเร่งขึ้นในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2554 ได้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยได้ประเมินภาพรวมของมูลค่าธุรกรรม M&A ที่เกิดขึ้นจริงของธุรกิจไทยว่าน่าจะสามารถทะยานขึ้นไปไม่ต่ำกว่า 400,000 ล้านบาทในปี 2554 อย่างไรก็ตามมูลค่าประมาณกว่า 150,000 ล้านบาทมาจากการควบรวมของบริษัทในเครือเดียวกันของผู้ประกอบการรายใหญ่ในธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมี
สำหรับแนวโน้มในระยะกลางนั้น ศูนย์วิจัยกสิกรไทยประเมินว่าการขยายฐานธุรกิจผ่านช่องทาง M&A ของธุรกิจไทยน่าจะยังคงดำเนินต่อไปในอีก 3-5 ปีข้างหน้า ซึ่งมูลค่าของธุรกรรมดังกล่าวในแต่ละปีจะมากหรือน้อย ก็คงขึ้นอยู่กับกลยุทธ์ในการปรับตัวทางธุรกิจในขณะนั้น ประกอบกับจังหวะในการหาเป้าหมายที่เหมาะสม และการปิดดีลที่ลงตัวระหว่างผู้เข้าซื้อและผู้ขาย รวมทั้งปัจจัยทางนโยบายจากภาครัฐในอนาคตว่าจะสนับสนุนการทำธุรกรรม M&A มากน้อยเพียงใด ซึ่งหากมองจากปัจจัยแวดล้อม ณ ปัจจุบัน ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า มิติของของ AEC และ ASEAN Linkage น่าจะยังมีแรงดึงดูดให้ธุรกิจในภูมิภาคอาเซียนเข้ามาเจรจาขอทำ M&A กับธุรกิจในไทยมากขึ้น โดยเฉพาะในภาคการบริการ เช่น สถาบันการเงิน โลจิสติกส์ ธุรกิจท่องเที่ยวและสุขภาพ ขณะที่ธุรกิจไทยที่มีโอกาสออกไปซื้อหรือควบรวมธุรกิจในต่างประเทศ ที่สำคัญน่าจะเป็นกลุ่มพลังงาน ปิโตรเคมี วัสดุก่อสร้าง อาหารและเครื่องดื่ม ท่องเที่ยว สุขภาพ บันเทิง เป็นต้น
อย่างไรก็ดี ถึงแม้ว่ากระแสของการทำธุรกรรม M&Aจะเป็นที่นิยมแต่ก็ไม่ได้หมายความว่าการปิดดีล M&A ได้ จะหมายรวมถึงการดำเนินธุรกิจจะประสบความสำเร็จหลังจากนั้นทุกครั้งไป เนื่องจากการทำ M&A มีประเด็นเสี่ยงพ่วงท้ายเข้ามาหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นความแตกต่างของวัฒนธรรมธรรมซึ่งก่อให้เกิดปัญหาสืบเนื่องต่อการปรับโครงสร้างองค์กรภายหลังการควบรวมกิจการ กระแสราคาหลักทรัพย์ที่พุ่งไปก่อนการควบรวมอาจทำให้การประเมินราคากิจการที่สูงจนเกินไป ก่อให้เกิดความเป็นไปได้ว่าดีลที่ได้มาให้ผลตอบแทนต่ำกว่าที่ควรจะเป็น หรือแม้กระทั่งการตั้งเป้าหมายในการควบรวมกิจการไม่มีความชัดเจนตั้งแต่ต้นก็สามารถส่งผลให้ธุรกิจล้มเหลวหลังปิดดีลได้เช่นกัน ดังนั้นผู้ประกอบธุรกิจควรจะได้ตระหนักถึงประเด็นแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการทำ M&A อย่างครอบคลุมเพื่อที่จะสามารถเตรียมรับกับสถานการณ์ได้อย่างทันท่วงที และสามารถรับมือกับปัญหาภายหลังการปิดดีล M&A ได้อย่างราบรื่นต่อไป
http://www.thannews.th.com/index.php?op ... Itemid=524
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 10
SST กลยุทธ์สร้างสินทรัพย์ทางลัด
จากคุณ : realTHAI
=======================
บริษัทที่เคยเงียบกับธุรกิจคลังสินค้าเก่าแก่มายาวนาน ขยับตัวครั้งสำคัญครั้งแรกเมื่อปีก่อนด้วยการเข้าซื้อธุรกิจที่ได้มาถูกๆ ยังไม่ใช่เรื่องประหลาด แต่ก้าวใหม่ครั้งที่สองด้วยการเข้าซื้อธุรกิจเพิ่มเติมอีก 2 รายการที่แตกต่างจากเดิม ย่อมมีคำถามตามมาว่า มีเป้าหมายอะไรกันแน่
การตัดสินใจเข้าซื้อกิจการครั้งใหม่ของ บมจ.ทรัพย์ศรีไทย หรือ SST เพื่อเข้าซื้อกิจการอาหารฟาสต์ฟู้ด 2 บริษัทที่เป็นแฟรนไชส์ซี ของฟาสต์ฟู้ดจากอเมริกาในไทยซึ่งมีความแตกต่างกัน แถมยังมีผลประกอบการขาดทุน โดยอ้างเหตุผลว่า เป็นความตั้งใจที่จะกระจายความเสี่ยงจากธุรกิจเดิมเข้าไปสู่ธุรกิจใหม่ อันเป็นการขยายตัวในแนวระนาบ ไปสู่ธุรกิจที่ไม่มีความถนัดมาก่อน ถือว่า มีความขัดแย้งในตัวเองพอสมควร แต่ก็มิใช่เรื่องแปลก เพราะก่อนหน้านี้ ในต้นปี 2553 บริษัทนี้ได้เคยรุกคืบทำนองเดียวกันมาแล้วครั้งหนึ่ง
ครั้งนั้น ในเดือนกุมภาพันธ์ SST ได้เข้าซื้อกิจการทุ่ม 200 ล้าน โดดเข้าซื้อกิจการของ บริษัท อุตสาหกรรมวิวัฒน์ จำกัด เจ้าของเครื่องหมายการค้าน้ำมันพืชทิพ ริน อาหารสัตว์วิวัฒน์ รวม 11 เครื่องหมาย พร้อมสิทธิบัตรเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ 5 สิทธิบัตร จากมือของตระกูลชาลีจันทร์-อินทรทูต อดีตผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของธนาคารกรุงเทพพาณิชยการ (BBC) ในอดีตที่ประสบปัญหาทางการเงินเพราะเก็งกำไรสต๊อกถั่วเหลืองผิดพลาด ขาดทุนสะสมกว่า 1,400 ล้านบาท และขาดสภาพคล่องทางการเงิน
ในการดำเนินการดังกล่าว SST ได้เตรียมความพร้อมรับมือกับปัญหาการเงินล่วงหน้า ด้วยการตั้งกองทุนอสังหาริมทรัพย์ขึ้นมา พร้อมกับขายสินทรัพย์ (โรงงาน โกดัง และที่ดิน มูลค่าเงินสด 630 ล้านบาท เพื่อนำมาซื้อกิจการดังกล่าวโดยไม่ต้องกู้เงินใหม่
ผลการดำเนินการซื้อกิจการดังกล่าว ถือว่าได้ประสบความสำเร็จน่าพึงพอใจ เพราะจากงบการเงินของบริษัทพบว่า นอกจากสินทรัพย์ของกิจการที่เคยเติบโตอย่างช้าๆ ในระดับ 700 ล้านบาก่อนหน้านี้ เมื่อสิ้นงวดบัญชีปี 2553 ก้าวกระโดดขึ้นเป็น 1,793.50 ล้านบาท และส่วนของผู้ถือหุ้นที่เคยอยู่ที่ระดับ 500 ล้านบาทเศษ ก็ก้าวกระโดดขึ้นมาทันตาเป็น 1,158.07 ล้านบาท แล้วยังทำให้กำไรสุทธิที่เคยมีอยู่ระดับ 50 ล้านบาทเศษหลายปี มาอยู่ที่ 190.63 ล้านบาทในสิ้นไตรมาสที่สามของปีนี้
ความสำเร็จดังกล่าว น่าจะมาจากการดำเนินการที่มีรายละเอียดอย่างดีตามแผนงานที่กำหนดไว้ซึ่งมีทั้งการเจรจาปรับปรุงโครงสร้างหนี้ การอัดฉีดเงินสดเข้าไปเพื่อให้โรงงานน้ำมันพืชเดินเครื่องจักรได้ตลอดและมีสินค้าออกมาจำหน่ายในตลาดทุกเดือน รวมทั้งลดขนาดธุรกิจให้เหมาะสมผ่านการศึกษาความต้องการของตลาดและผลิตสินค้าตามความต้องการ รวมถึงลดค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรลงค่อนข้างมาก
มองในเชิงการบริหารธุรกิจ นี่คือกลยุทธ์สร้างสินทรัพย์เพื่อเติบโตทางลัดที่มีประสิทธิผลอย่างแท้จริง เป็นวิศวกรรมการเงินเชิงบวกที่เกิดจากการปรับตัวใช้ประโยชน์ทางการเงินให้มีคุณค่า
การตัดสินใจเข้าซื้อกิจการใหม่ 2 แห่งล่าสุด ซึ่งอยู่ใต้ร่มธงของบริษัทเดียวกัน แม้จะไม่พูดถึงเหตุผลอื่นใดนอกจากกระจายความเสี่ยง แต่หากพิจารณาให้ชัดเจนแล้ว เป้าหมายหลักย่อมไม่ใช่การกระจายความเสี่ยง แต่เป็นการสร้างสินทรัพย์ครั้งใหญ่อีกครั้งหนึ่ง เพราะโดยข้อเท็จจริง ธุรกิจที่เข้าไปซื้อกิจการทั้งสองรายนี้ ล้วนมีคุณค่าแอบแฝงซ่อนอยู่ และมีโอกาสที่จะเติบโตในอนาคตได้อีกเพราะเป็นธุรกิจฟาสต์ฟู้ดที่มีโอกาสูงในการเติบโตมากกว่าระดับการเติบโตของเศรษฐกิจ เนื่องจากขนาดการเติบโตของชุมชนเมืองสมัยใหม่ในสังคมไทยกำลังรุดหน้า และลูกค้าเป้าหมายคือกลุ่มวัยรุ่นและหนุ่มสาวก็มีจำนวนมากยิ่งขึ้น
แฟรนไชส์ฟาสต์ฟู้ด 2 รายที่บริษัทเข้าซื้อกิจการคือ โอ บอง แปง ( Au Bon Pain) และ Dunkin' Donuts แม้จะดำเนินการแยกบริษัทกันคือ เอบีพี คาเฟฯ และ โกลเด้น โดนัท ตามลำดับ แต่ทั้งหมด อยู่ใต้ร่มธงบริษัทเดียวกันคือ บริษัท มัดแมน จำกัด โดยที่ โดยบริษัท มัดแมน ถือหุ้นแห่งละ 41% ในเอบีพี คาเฟฯ และ โกลเด้น โดนัท
กระบวนการเข้าซื้อกิจการ มีรายละเอียดคือ SST เข้าซื้อกิจการ 100% ของบริษัทมัดแมน และซื้อหุ้นบริษัท เอบีพี คาเฟ และบริษัท โกลเด้น โดนัท ในสัดส่วนบริษัทละ 59% ทำให้เกิดผลว่าถือให้ 100% ในกิจการทั้งหมดเบ็ดเสร็จ ซึ่งกระบวนการทั้งหมด จะแล้วเสร็จภายในเดือนมกราคมปีหน้า โดยที่ผู้บริหารของ Au Bon Pain และ Dunkin' Donuts ยังเป็นทีมงานชุดเดิม และวางแผนขยายสาขาเพิ่มขึ้นอีก
สำหรับแหล่งที่มาของเงินทุนที่ใช้ จะมาจากเงินทุนหมุนเวียนของบริษัท และเงินกู้จากสถาบันการเงินในประเทศ จำนวนไม่เกิน 850 ล้านบาท จากงบการลงทุนรวมที่คาดว่าจะประมาณ 1.32 พันล้านบาท
มองในเชิงบวก แม้ว่าจะมียอดขาดทุนปรากฏให้เห็นก่อนการซื้อกิจการ แต่การที่ เอบีพี คาเฟ่ เป็นบริษัทรายเดียวที่ถือสิทธิ์ในการประกอบธุรกิจร้านอาหาร Au Bon Pain ในตลาดไทย ส่วน โกลเด้น โดนัท เป็นบริษัทเดียวที่ถือสิทธิ์ในการประกอบธุรกิจร้าน Dunkin' Donuts ในไทยเช่นกัน และที่ผ่านมา มียอดเติบโตทางการตลาดในอัตราปีละเฉลี่ยมากกว่า 15% และทางการเงินปีละเฉลี่ย 10% ก็ถือว่ามีโอกาสกลับมาทำกำไรได้ นอกเหนือจากการสร้างกระแสเงินสดได้มากอันเป็นจุดแข็งของธุรกิจฟาสต์ฟู้ด
Au Bon Pain ถือกำเนิดขึ้นที่เมืองบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา มีลักษณะของคาเฟ่เทอเรส หรือเบเกอรี่ คาเฟ่ ที่นำเสนอความหลากหลายของสินค้าขนมปังและเบเกอรี่กว่า 30 ชนิด โดยเน้นตั้งสาขาอยู่ในทำเลที่ตั้งที่สะดวกในการใช้บริการของลูกค้า ไม่ว่าจะเป็นย่านธุรกิจชื่อดัง ศูนย์การค้าที่มีชื่อเสียง โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยต่างๆ หรือเขตที่มีสถานที่สำคัญแวดล้อมไปด้วยกลุ่มเป้าหมายที่เป็นคนทำงาน นักธุรกิจรุ่นใหม่ นักเรียน นักศึกษา ที่มีการดำเนินชีวิต และรสนิยมทันสมัย เปิดตัวในประเทศเมื่อปี พ.ศ.2540 โดยเปิดดำเนินการร้านรูปแบบ เบเกอรี่ คาเฟ่ ครั้งแรกอย่างเป็นทางการเป็นสาขาแรกที่อาคารสินธร ถนนวิทยุ ซึ่งปัจจุบัน โอ บอง แปง เจริญเติบโตขยายสาขาเพิ่มมากขึ้นถึงกว่า 40 สาขาในประเทศไทย
ในขณะที่ Dunkin' Donuts ในประเทศไทย เป็นแฟรนไชส์ของสหรัฐอเมริกาเช่นกัน ได้เปิดสาขาแรกที่สยามสแควร์ เมื่อปี พ.ศ.2524 ปัจจุบันมีอยู่ประมาณ 150 สาขาทั่วประเทศ
ผลพวงของการเข้าซื้อกิจการ จะทำให้อนาคตของ SST เปลี่ยนแปลงจากเดิมค่อนข้างมาก เพราะว่านอกเหนือจาก
อัตราการเติบโตแบบก้าวกระโดด ที่ประเมินว่ารายได้จะมาอยู่ที่ 2 พันล้านบาทต่อปีแล้วโครงสร้างรายได้ในอนาคตจะมาจากธุรกิจฟาสต์ฟู้ดประมาณ 60% จากธุรกิจน้ำมันพืช 30% ส่วนธุรกิจจากธุรกิจคลังสินค้าจะเหลือแค่ 10% ซึ่งจะต้องมีการเปลี่ยนย้ายกลุ่มธุรกิจในรายชื่อบริษัทจดทะเบียนแน่นอน
มองจากมุมของการแข่งขันทางธุรกิจและสร้างรายได้แล้ว การรุกคืบทางธุรกิจด้วยการสร้างสินทรัพย์ทางลัดเช่นนี้ ถือว่ามีความหมายอย่างลึกซึ้งทีเดียว เพราะเป็นการปรับสภาพของการทำธุรกิจ เนื่องจากธุรกิจฟาสต์ฟู้ดมีการแข่งขันสูงมาก โดยกุญแจสำคัญของธุรกิจอาหารฟาสต์ฟู้ด คือ การแย่งชิงพื้นที่ขยายสาขาในย่านธุรกิจและชุมชนของเมืองที่กำลังขยายใหญ่ และการลงทุนต่อยอดธุรกิจให้ครบไลน์และเครือข่ายการจัดจำหน่ายให้เกิดการประหยัดโดยขนาดให้เหมาะสม รวมทั้งการตกแต่งหน้าร้าน และการปรับกลยุทธ์ให้เหมาะกับไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภครุ่นใหม่ๆ ที่มีศักยภาพอย่างต่อเนื่อง
สถิติที่มีการวิจัยตลาดที่ระบุว่า ยอดการใช้จ่ายเฉลี่ยรายหัวของธุรกิจฟาสต์ฟู้ดอยู่ที่ประมาณ 80-120 บาทต่อคนต่อครั้ง เมื่อเทียบกับในช่วงเศรษฐกิจดีนั้นลูกค้าเข้ามาใช้บริการและจ่ายเฉลี่ย 110-120 บาทต่อคน ย่อมเป็นแรงดึงดูดใจให้การลงทุนน่าสนใจอย่างมาก ไม่ว่าการแข่งขันจะรุนแรงเพียงใด
ย่างก้าวที่สองของ SST ในการรุดธุรกิจสร้างสินทรัพย์ทางลัดผ่านการควบรวมกิจการ จึงท้าทายความสำเร็จน่าติดตาม ส่วนจะเป็นเกมราคาหุ้นหรือไม่ นักลงทุนต้องพิจารณาเอาเอง
ราคาหุ้นทางบัญชี 7.89 บาท ราคาตลาดปัจจุบันเหนือ 10 บาทเล็กน้อย แต่พี/อี 5.67 เท่า ถือว่าค่อนข้างต่ำเมื่อเทียบกับกลุ่มโลจิสติกส์ด้วยกัน และก็ต่ำเมื่อเทียบกับกลุ่มอาคารเครื่องดื่ม
ที่สำคัญ แม้ทุนจดทะเบียนต่ำแต่กำไรสะสมบานเบอะ แล้วก็มีฟรีโฟลทต่ำ ยกเว้นวอร์แรนต์ที่วิ่งไล่ราคากันสนั่นทุ่ง
ที่มา: นสพ.ข่าวหุ้น
จากคุณ : realTHAI
=======================
บริษัทที่เคยเงียบกับธุรกิจคลังสินค้าเก่าแก่มายาวนาน ขยับตัวครั้งสำคัญครั้งแรกเมื่อปีก่อนด้วยการเข้าซื้อธุรกิจที่ได้มาถูกๆ ยังไม่ใช่เรื่องประหลาด แต่ก้าวใหม่ครั้งที่สองด้วยการเข้าซื้อธุรกิจเพิ่มเติมอีก 2 รายการที่แตกต่างจากเดิม ย่อมมีคำถามตามมาว่า มีเป้าหมายอะไรกันแน่
การตัดสินใจเข้าซื้อกิจการครั้งใหม่ของ บมจ.ทรัพย์ศรีไทย หรือ SST เพื่อเข้าซื้อกิจการอาหารฟาสต์ฟู้ด 2 บริษัทที่เป็นแฟรนไชส์ซี ของฟาสต์ฟู้ดจากอเมริกาในไทยซึ่งมีความแตกต่างกัน แถมยังมีผลประกอบการขาดทุน โดยอ้างเหตุผลว่า เป็นความตั้งใจที่จะกระจายความเสี่ยงจากธุรกิจเดิมเข้าไปสู่ธุรกิจใหม่ อันเป็นการขยายตัวในแนวระนาบ ไปสู่ธุรกิจที่ไม่มีความถนัดมาก่อน ถือว่า มีความขัดแย้งในตัวเองพอสมควร แต่ก็มิใช่เรื่องแปลก เพราะก่อนหน้านี้ ในต้นปี 2553 บริษัทนี้ได้เคยรุกคืบทำนองเดียวกันมาแล้วครั้งหนึ่ง
ครั้งนั้น ในเดือนกุมภาพันธ์ SST ได้เข้าซื้อกิจการทุ่ม 200 ล้าน โดดเข้าซื้อกิจการของ บริษัท อุตสาหกรรมวิวัฒน์ จำกัด เจ้าของเครื่องหมายการค้าน้ำมันพืชทิพ ริน อาหารสัตว์วิวัฒน์ รวม 11 เครื่องหมาย พร้อมสิทธิบัตรเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ 5 สิทธิบัตร จากมือของตระกูลชาลีจันทร์-อินทรทูต อดีตผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของธนาคารกรุงเทพพาณิชยการ (BBC) ในอดีตที่ประสบปัญหาทางการเงินเพราะเก็งกำไรสต๊อกถั่วเหลืองผิดพลาด ขาดทุนสะสมกว่า 1,400 ล้านบาท และขาดสภาพคล่องทางการเงิน
ในการดำเนินการดังกล่าว SST ได้เตรียมความพร้อมรับมือกับปัญหาการเงินล่วงหน้า ด้วยการตั้งกองทุนอสังหาริมทรัพย์ขึ้นมา พร้อมกับขายสินทรัพย์ (โรงงาน โกดัง และที่ดิน มูลค่าเงินสด 630 ล้านบาท เพื่อนำมาซื้อกิจการดังกล่าวโดยไม่ต้องกู้เงินใหม่
ผลการดำเนินการซื้อกิจการดังกล่าว ถือว่าได้ประสบความสำเร็จน่าพึงพอใจ เพราะจากงบการเงินของบริษัทพบว่า นอกจากสินทรัพย์ของกิจการที่เคยเติบโตอย่างช้าๆ ในระดับ 700 ล้านบาก่อนหน้านี้ เมื่อสิ้นงวดบัญชีปี 2553 ก้าวกระโดดขึ้นเป็น 1,793.50 ล้านบาท และส่วนของผู้ถือหุ้นที่เคยอยู่ที่ระดับ 500 ล้านบาทเศษ ก็ก้าวกระโดดขึ้นมาทันตาเป็น 1,158.07 ล้านบาท แล้วยังทำให้กำไรสุทธิที่เคยมีอยู่ระดับ 50 ล้านบาทเศษหลายปี มาอยู่ที่ 190.63 ล้านบาทในสิ้นไตรมาสที่สามของปีนี้
ความสำเร็จดังกล่าว น่าจะมาจากการดำเนินการที่มีรายละเอียดอย่างดีตามแผนงานที่กำหนดไว้ซึ่งมีทั้งการเจรจาปรับปรุงโครงสร้างหนี้ การอัดฉีดเงินสดเข้าไปเพื่อให้โรงงานน้ำมันพืชเดินเครื่องจักรได้ตลอดและมีสินค้าออกมาจำหน่ายในตลาดทุกเดือน รวมทั้งลดขนาดธุรกิจให้เหมาะสมผ่านการศึกษาความต้องการของตลาดและผลิตสินค้าตามความต้องการ รวมถึงลดค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรลงค่อนข้างมาก
มองในเชิงการบริหารธุรกิจ นี่คือกลยุทธ์สร้างสินทรัพย์เพื่อเติบโตทางลัดที่มีประสิทธิผลอย่างแท้จริง เป็นวิศวกรรมการเงินเชิงบวกที่เกิดจากการปรับตัวใช้ประโยชน์ทางการเงินให้มีคุณค่า
การตัดสินใจเข้าซื้อกิจการใหม่ 2 แห่งล่าสุด ซึ่งอยู่ใต้ร่มธงของบริษัทเดียวกัน แม้จะไม่พูดถึงเหตุผลอื่นใดนอกจากกระจายความเสี่ยง แต่หากพิจารณาให้ชัดเจนแล้ว เป้าหมายหลักย่อมไม่ใช่การกระจายความเสี่ยง แต่เป็นการสร้างสินทรัพย์ครั้งใหญ่อีกครั้งหนึ่ง เพราะโดยข้อเท็จจริง ธุรกิจที่เข้าไปซื้อกิจการทั้งสองรายนี้ ล้วนมีคุณค่าแอบแฝงซ่อนอยู่ และมีโอกาสที่จะเติบโตในอนาคตได้อีกเพราะเป็นธุรกิจฟาสต์ฟู้ดที่มีโอกาสูงในการเติบโตมากกว่าระดับการเติบโตของเศรษฐกิจ เนื่องจากขนาดการเติบโตของชุมชนเมืองสมัยใหม่ในสังคมไทยกำลังรุดหน้า และลูกค้าเป้าหมายคือกลุ่มวัยรุ่นและหนุ่มสาวก็มีจำนวนมากยิ่งขึ้น
แฟรนไชส์ฟาสต์ฟู้ด 2 รายที่บริษัทเข้าซื้อกิจการคือ โอ บอง แปง ( Au Bon Pain) และ Dunkin' Donuts แม้จะดำเนินการแยกบริษัทกันคือ เอบีพี คาเฟฯ และ โกลเด้น โดนัท ตามลำดับ แต่ทั้งหมด อยู่ใต้ร่มธงบริษัทเดียวกันคือ บริษัท มัดแมน จำกัด โดยที่ โดยบริษัท มัดแมน ถือหุ้นแห่งละ 41% ในเอบีพี คาเฟฯ และ โกลเด้น โดนัท
กระบวนการเข้าซื้อกิจการ มีรายละเอียดคือ SST เข้าซื้อกิจการ 100% ของบริษัทมัดแมน และซื้อหุ้นบริษัท เอบีพี คาเฟ และบริษัท โกลเด้น โดนัท ในสัดส่วนบริษัทละ 59% ทำให้เกิดผลว่าถือให้ 100% ในกิจการทั้งหมดเบ็ดเสร็จ ซึ่งกระบวนการทั้งหมด จะแล้วเสร็จภายในเดือนมกราคมปีหน้า โดยที่ผู้บริหารของ Au Bon Pain และ Dunkin' Donuts ยังเป็นทีมงานชุดเดิม และวางแผนขยายสาขาเพิ่มขึ้นอีก
สำหรับแหล่งที่มาของเงินทุนที่ใช้ จะมาจากเงินทุนหมุนเวียนของบริษัท และเงินกู้จากสถาบันการเงินในประเทศ จำนวนไม่เกิน 850 ล้านบาท จากงบการลงทุนรวมที่คาดว่าจะประมาณ 1.32 พันล้านบาท
มองในเชิงบวก แม้ว่าจะมียอดขาดทุนปรากฏให้เห็นก่อนการซื้อกิจการ แต่การที่ เอบีพี คาเฟ่ เป็นบริษัทรายเดียวที่ถือสิทธิ์ในการประกอบธุรกิจร้านอาหาร Au Bon Pain ในตลาดไทย ส่วน โกลเด้น โดนัท เป็นบริษัทเดียวที่ถือสิทธิ์ในการประกอบธุรกิจร้าน Dunkin' Donuts ในไทยเช่นกัน และที่ผ่านมา มียอดเติบโตทางการตลาดในอัตราปีละเฉลี่ยมากกว่า 15% และทางการเงินปีละเฉลี่ย 10% ก็ถือว่ามีโอกาสกลับมาทำกำไรได้ นอกเหนือจากการสร้างกระแสเงินสดได้มากอันเป็นจุดแข็งของธุรกิจฟาสต์ฟู้ด
Au Bon Pain ถือกำเนิดขึ้นที่เมืองบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา มีลักษณะของคาเฟ่เทอเรส หรือเบเกอรี่ คาเฟ่ ที่นำเสนอความหลากหลายของสินค้าขนมปังและเบเกอรี่กว่า 30 ชนิด โดยเน้นตั้งสาขาอยู่ในทำเลที่ตั้งที่สะดวกในการใช้บริการของลูกค้า ไม่ว่าจะเป็นย่านธุรกิจชื่อดัง ศูนย์การค้าที่มีชื่อเสียง โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยต่างๆ หรือเขตที่มีสถานที่สำคัญแวดล้อมไปด้วยกลุ่มเป้าหมายที่เป็นคนทำงาน นักธุรกิจรุ่นใหม่ นักเรียน นักศึกษา ที่มีการดำเนินชีวิต และรสนิยมทันสมัย เปิดตัวในประเทศเมื่อปี พ.ศ.2540 โดยเปิดดำเนินการร้านรูปแบบ เบเกอรี่ คาเฟ่ ครั้งแรกอย่างเป็นทางการเป็นสาขาแรกที่อาคารสินธร ถนนวิทยุ ซึ่งปัจจุบัน โอ บอง แปง เจริญเติบโตขยายสาขาเพิ่มมากขึ้นถึงกว่า 40 สาขาในประเทศไทย
ในขณะที่ Dunkin' Donuts ในประเทศไทย เป็นแฟรนไชส์ของสหรัฐอเมริกาเช่นกัน ได้เปิดสาขาแรกที่สยามสแควร์ เมื่อปี พ.ศ.2524 ปัจจุบันมีอยู่ประมาณ 150 สาขาทั่วประเทศ
ผลพวงของการเข้าซื้อกิจการ จะทำให้อนาคตของ SST เปลี่ยนแปลงจากเดิมค่อนข้างมาก เพราะว่านอกเหนือจาก
อัตราการเติบโตแบบก้าวกระโดด ที่ประเมินว่ารายได้จะมาอยู่ที่ 2 พันล้านบาทต่อปีแล้วโครงสร้างรายได้ในอนาคตจะมาจากธุรกิจฟาสต์ฟู้ดประมาณ 60% จากธุรกิจน้ำมันพืช 30% ส่วนธุรกิจจากธุรกิจคลังสินค้าจะเหลือแค่ 10% ซึ่งจะต้องมีการเปลี่ยนย้ายกลุ่มธุรกิจในรายชื่อบริษัทจดทะเบียนแน่นอน
มองจากมุมของการแข่งขันทางธุรกิจและสร้างรายได้แล้ว การรุกคืบทางธุรกิจด้วยการสร้างสินทรัพย์ทางลัดเช่นนี้ ถือว่ามีความหมายอย่างลึกซึ้งทีเดียว เพราะเป็นการปรับสภาพของการทำธุรกิจ เนื่องจากธุรกิจฟาสต์ฟู้ดมีการแข่งขันสูงมาก โดยกุญแจสำคัญของธุรกิจอาหารฟาสต์ฟู้ด คือ การแย่งชิงพื้นที่ขยายสาขาในย่านธุรกิจและชุมชนของเมืองที่กำลังขยายใหญ่ และการลงทุนต่อยอดธุรกิจให้ครบไลน์และเครือข่ายการจัดจำหน่ายให้เกิดการประหยัดโดยขนาดให้เหมาะสม รวมทั้งการตกแต่งหน้าร้าน และการปรับกลยุทธ์ให้เหมาะกับไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภครุ่นใหม่ๆ ที่มีศักยภาพอย่างต่อเนื่อง
สถิติที่มีการวิจัยตลาดที่ระบุว่า ยอดการใช้จ่ายเฉลี่ยรายหัวของธุรกิจฟาสต์ฟู้ดอยู่ที่ประมาณ 80-120 บาทต่อคนต่อครั้ง เมื่อเทียบกับในช่วงเศรษฐกิจดีนั้นลูกค้าเข้ามาใช้บริการและจ่ายเฉลี่ย 110-120 บาทต่อคน ย่อมเป็นแรงดึงดูดใจให้การลงทุนน่าสนใจอย่างมาก ไม่ว่าการแข่งขันจะรุนแรงเพียงใด
ย่างก้าวที่สองของ SST ในการรุดธุรกิจสร้างสินทรัพย์ทางลัดผ่านการควบรวมกิจการ จึงท้าทายความสำเร็จน่าติดตาม ส่วนจะเป็นเกมราคาหุ้นหรือไม่ นักลงทุนต้องพิจารณาเอาเอง
ราคาหุ้นทางบัญชี 7.89 บาท ราคาตลาดปัจจุบันเหนือ 10 บาทเล็กน้อย แต่พี/อี 5.67 เท่า ถือว่าค่อนข้างต่ำเมื่อเทียบกับกลุ่มโลจิสติกส์ด้วยกัน และก็ต่ำเมื่อเทียบกับกลุ่มอาคารเครื่องดื่ม
ที่สำคัญ แม้ทุนจดทะเบียนต่ำแต่กำไรสะสมบานเบอะ แล้วก็มีฟรีโฟลทต่ำ ยกเว้นวอร์แรนต์ที่วิ่งไล่ราคากันสนั่นทุ่ง
ที่มา: นสพ.ข่าวหุ้น
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 11
คอลัมน์: สัมภาษณ์พิเศษ: พีทีที โกลบอล เดินหน้าไต่อันดับโลก ไล่ซื้อกิจการหวังโตทางลัด
Source - กรุงเทพธุรกิจ (Th), Tuesday, December 13, 2011
ศรัญญา ทองทับ
การควบรวมกิจการ ไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่สำหรับบริษัทพลังงานแห่งชาติ อย่างบริษัท ปตท.เพราะหลายปีมานี้มีการควบรวมระหว่างบริษัทในเครือหลายครั้งและหลายรอบ ด้วยธรรมชาติของอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ที่ต้องมีขนาดกำลังผลิตที่เหมาะสม จึงจะได้เปรียบคู่แข่งขัน หากเป้าหมายของกลุ่ม ปตท.คือ การก้าวออกไปยืนในเวทีโลกในฐานะผู้เล่นที่มีบทบาทในตลาด ทำให้ ปตท.ตัดสินใจนำ บริษัท ปตท.เคมิคอล ควบรวมเข้ากับบริษัท ปตท. อะโรเมติกส์ และการกลั่น เป็นรายล่าสุด และเปลี่ยนชื่อเป็น บริษัทพีทีที โกลบอล เคมิคอล พร้อมเปิดซื้อขายหลักทรัพย์วันแรกในตลาดหลักทรัพย์เมื่อวันที่ 21 ต.ค. ที่ผ่านมา
นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัทพีทีที โกลบอล บอกว่า การควบรวมกิจการทำให้บริษัทพีทีทีโกลบอลขึ้นแท่นเป็นผู้ผลิตปิโตรเคมี และเคมีภัณฑ์ครบวงจรชั้นนำในอาเซียน ด้วยกำลังการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีรวม 8.2 ล้านตันต่อปี และปิโตรเลียมรวม 2.28 แสนบาร์เรลต่อวัน ดำเนินการภายใต้ 7 กลุ่มธุรกิจ ประกอบด้วย ธุรกิจการกลั่น อะโรเมติกส์ โอเลฟินส์ โพลิเมอร์ เอทธิลีนออกไซด์ กรีนเคมิคอล และผลิตภัณฑ์ชนิดพิเศษ ซึ่งปัจจุบันถือว่าในธุรกิจเคมีคอลนั้น บริษัทมีขนาดใกล้เคียงกับกลุ่มปิโตรนาสปิโตรเคมี ของมาเลเซีย
โดยหลังจากนี้ ได้วางเส้นทางการเติบโตด้วยการ ขึ้นแท่นเป็นเบอร์ 1 ในอาเซียน และไต่อันดับโลกเป็นเป้าหมายถัดไป แต่เนื่องจากเพิ่งเป็นองค์กรที่มีอายุเพียงไม่กี่วัน เมื่อเทียบกับบริษัทยักษ์ใหญ่ของโลกอย่าง กลุ่มดูปองท์ ที่มีอายุกว่า 100 ปี ดังนั้น เขาจึงบอกว่า กว่าจะไปถึงเป้าหมายได้คงต้องใช้เวลาพอสมควร
บริษัทต้องอาศัยขนาด ขีดความสามารถในการแข่งขัน และนวัตกรรม หากเล็กจะอยู่ยาก หรือไม่ก็จะถูกทำให้ใหญ่โดยการถูกซื้อกิจการ หรือหากไม่มีประสิทธิภาพก็ต้องถูกปิดกิจการ หรือมีคนมาซื้อไป และหากไม่มีนวัตกรรมก็ปรับตัวเพื่อแข่งขันไม่ได้เลย
อย่างไรก็ตาม การเติบโตทางลัด ก็เป็นสิ่งที่บริษัทพีทีที โกลบอล ไม่ปฏิเสธ โดย นายวีรศักดิ์ บอกว่า เราไม่จำเป็นต้องเริ่มจากศูนย์เสมอไป เพราะในบางผลิตภัณฑ์มีคนคิดไว้ก่อนแล้วเป็นสิบปี ซึ่งหากจะเริ่มจากศูนย์ทุกครั้งคงไม่ทันท่วงที ดังนั้น การยืนอยู่ในลำดับโลกได้ในเวลาอันรวดเร็ว การซื้อกิจการก็เป็นคำตอบให้สามารถเติบโตอย่างก้าวกระโดดเช่นเดียวกัน
เขา ย้ำว่า การซื้อกิจการต้องหมายถึงอยู่ภายใต้กลยุทธ์ด้วย นั่นคือ ต้องทำให้เราเป็นเจ้าของเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมใหม่ๆ อย่างล่าสุด ที่ได้เข้าไปลงทุนซื้อหุ้นในบริษัท Perstorp HoldingFrance SAS (Perstorp Holding France) โดยถือหุ้นเบื้องต้น 51% ซึ่งบริษัทดังกล่าวเป็นผู้ผลิตและเป็นเจ้าของเทคโนโลยีในการผลิต Isocyanate ที่มีบทบาทสำคัญในยุโรปและเอเชีย โดยเฉพาะในกลุ่มของ Toluene diisocyanate (TDI),Hexamethylene diisocyanate (HDI) และ Derivatives ซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิตพลาสติก Polyurethan (PU) ที่มีคุณสมบัติเฉพาะในกลุ่มการใช้งานจำพวกโฟมและสารเคลือบในอุตสาหกรรมยานยนต์และสิ่งก่อสร้าง
การมองหาโอกาสซื้อกิจการในแถบยุโรป หรือสหรัฐอเมริกาเป็นโอกาสหนึ่งในภาวะที่เศรษฐกิจของประเทศแถบนั้นมีปัญหา ซึ่งกลยุทธ์ของเราไม่ได้เน้นการหาตลาดใหม่ๆ ในย่านนั้น เพราะตลาดหลักของเรายังคงเน้นในเอเชีย ซึ่งมีการเติบโตสูง แต่ต้องการเป็นส่วนหนึ่งของเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมที่มีผู้คิดค้นมาแล้ว เพื่อนำมาต่อยอด รวมถึงสร้างองค์ความรู้ให้กับบุคลากร
อย่างไรก็ตาม เขา ย้ำว่า บริษัทพีทีทีโกลบอล คงไม่ได้มุ่งเน้นการเติบโตด้วยขนาดเท่านั้น แต่การเติบโตด้วยความยั่งยืนสำคัญกว่า โดยสามารถผลิตผลิตภัณฑ์ที่สามารถตอบสนองความต้องการของตลาดได้อย่างต่อเนื่อง และไม่กระทบกับสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ์ของบริษัทพีทีทีโกลบอล คือ การเลือกต่อยอดเคมีคอลในบางผลิตภัณฑ์ เป็นการโฟกัสของวีรศักดิ์ โดยเขา บอกว่า สิ่งที่เราทำได้ดีในวันนี้ คือ ผลิตภัณฑ์สายอะโรเมติกส์ และโอเลฟินส์ โดยต่อยอดในกลุ่มธุรกิจขั้นปลาย (Downstream) และเน้นไปที่ผลิตภัณฑ์ที่รองรับ 3 อุตสาหกรรมหลัก ประกอบด้วย อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ รถยนต์ และก่อสร้าง
เขาขยายความต่อว่า กว่าจะวางกลยุทธ์ออกมาได้อย่างนี้ ได้ผ่านการวิเคราะห์มากว่า 2 ปี และพบว่าการเติบโตของโลกใน 5-10 ปีนั้น จะอยู่ในตลาดเอเชีย ขณะเดียวกัน ได้วิเคราะห์พลเมือง และวิถีชีวิตของผู้คนในอนาคต ซึ่งได้ข้อสรุปว่า การขยายตัวของประชากรในโลกจะมาจากเอเชียเป็นหลัก อีกทั้งรายได้ของประชากรก็ต่ำกว่าแถบยุโรป และสหรัฐ ทั้งเป็นคนรุ่นใหม่ นอกจากนี้ จะมีเมืองขนาดใหญ่หลายสิบเมืองเกิดขึ้นในเอเชีย ดังนั้น ความต้องการที่อยู่อาศัย เครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และรถยนต์จะขยายตัวอย่างรวดเร็ว
และเมื่อคิดต่อไปในโลกอนาคต ทำให้เรามั่นใจว่า พลาสติกจะเป็นคำตอบ เพราะเทคโนโลยีการก่อสร้างจะเปลี่ยนไป โดยมุ่งเน้นอาคารประหยัดพลังงาน และใช้วัสดุที่เป็นพลาสติกคุณภาพสูงทั้งหมด รวมถึงบ้านเรือนที่จะมีการออกแบบให้ประหยัดพลังงานด้วยเช่นเดียวกัน ส่วนสินค้าอิเล็กทรอนิกส์จะมีคนใช้ตอบสนองความต้องการในชีวิตประจำวันมากขึ้น และผลิตจากพลาสติก ซึ่งสามารถตอบสนองความต้องการได้มากกว่าวัสดุอื่น
ทั้งในเรื่องการใช้งาน ที่สำคัญพลาสติกใช้พลังงานต่ำที่สุดในการผลิต ทำให้ราคาสินค้าถูกลง ส่วนรถยนต์จะเป็นอิเล็กทริกคาร์ที่ต้องการความเบา โดยปัจจุบันนี้ก็มีการใช้พลาสติกทดแทนวัสดุอื่นๆ ในหลายส่วนแล้ว เช่น การใช้โพลีคาร์บอเนทในไฟหน้าแทนกระจก และอนาคตแม้แต่ตัวถังรถยนต์ก็มีแนวโน้มเป็นพลาสติก
สิ่งที่เราต้องคิด คือ ทำอย่างไรให้พลาสติกมีคุณภาพมากขึ้นและแข็งแรงมากขึ้น เพื่อทดแทนวัสดุอื่นได้อย่างเหมาะสม ซึ่งนวัตกรรมเป็นคำตอบ โดยที่ผ่านมา บริษัทได้ตั้งทีมนวัตกรรมขึ้นมารองรับอย่างเป็นรูปธรรม และแต่ละปีจะมีผลิตภัณฑ์ออกมาใหม่ 2-3 ผลิตภัณฑ์เสมอ นายวีรศักดิ์กล่าว
เขากล่าวในตอนท้ายว่า ปัจจุบันเราพอใจในการเติบโตที่เป็นไปอย่างก้าวกระโดดติดอันดับโลก เห็นได้จากผลประกอบการในปี 2554 ที่ใกล้เคียง 4 แสนล้านบาทจากเมื่อ 5 ปีก่อนมีการควบรวมไม่ถึง 1 แสนล้านบาท แต่การเติบโตนั้น จะต้องเป็นการขยายงานที่โฟกัสมาก โดยต้องเป็นธุรกิจที่ได้ผลตอบแทนสมเหตุสมผล และอยู่ในวิสัยที่ทำได้ รวมถึงต้องเป็นธุรกิจที่อยู่ในสายเท่านั้น
ที่มา: หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
Source - กรุงเทพธุรกิจ (Th), Tuesday, December 13, 2011
ศรัญญา ทองทับ
การควบรวมกิจการ ไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่สำหรับบริษัทพลังงานแห่งชาติ อย่างบริษัท ปตท.เพราะหลายปีมานี้มีการควบรวมระหว่างบริษัทในเครือหลายครั้งและหลายรอบ ด้วยธรรมชาติของอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ที่ต้องมีขนาดกำลังผลิตที่เหมาะสม จึงจะได้เปรียบคู่แข่งขัน หากเป้าหมายของกลุ่ม ปตท.คือ การก้าวออกไปยืนในเวทีโลกในฐานะผู้เล่นที่มีบทบาทในตลาด ทำให้ ปตท.ตัดสินใจนำ บริษัท ปตท.เคมิคอล ควบรวมเข้ากับบริษัท ปตท. อะโรเมติกส์ และการกลั่น เป็นรายล่าสุด และเปลี่ยนชื่อเป็น บริษัทพีทีที โกลบอล เคมิคอล พร้อมเปิดซื้อขายหลักทรัพย์วันแรกในตลาดหลักทรัพย์เมื่อวันที่ 21 ต.ค. ที่ผ่านมา
นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัทพีทีที โกลบอล บอกว่า การควบรวมกิจการทำให้บริษัทพีทีทีโกลบอลขึ้นแท่นเป็นผู้ผลิตปิโตรเคมี และเคมีภัณฑ์ครบวงจรชั้นนำในอาเซียน ด้วยกำลังการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีรวม 8.2 ล้านตันต่อปี และปิโตรเลียมรวม 2.28 แสนบาร์เรลต่อวัน ดำเนินการภายใต้ 7 กลุ่มธุรกิจ ประกอบด้วย ธุรกิจการกลั่น อะโรเมติกส์ โอเลฟินส์ โพลิเมอร์ เอทธิลีนออกไซด์ กรีนเคมิคอล และผลิตภัณฑ์ชนิดพิเศษ ซึ่งปัจจุบันถือว่าในธุรกิจเคมีคอลนั้น บริษัทมีขนาดใกล้เคียงกับกลุ่มปิโตรนาสปิโตรเคมี ของมาเลเซีย
โดยหลังจากนี้ ได้วางเส้นทางการเติบโตด้วยการ ขึ้นแท่นเป็นเบอร์ 1 ในอาเซียน และไต่อันดับโลกเป็นเป้าหมายถัดไป แต่เนื่องจากเพิ่งเป็นองค์กรที่มีอายุเพียงไม่กี่วัน เมื่อเทียบกับบริษัทยักษ์ใหญ่ของโลกอย่าง กลุ่มดูปองท์ ที่มีอายุกว่า 100 ปี ดังนั้น เขาจึงบอกว่า กว่าจะไปถึงเป้าหมายได้คงต้องใช้เวลาพอสมควร
บริษัทต้องอาศัยขนาด ขีดความสามารถในการแข่งขัน และนวัตกรรม หากเล็กจะอยู่ยาก หรือไม่ก็จะถูกทำให้ใหญ่โดยการถูกซื้อกิจการ หรือหากไม่มีประสิทธิภาพก็ต้องถูกปิดกิจการ หรือมีคนมาซื้อไป และหากไม่มีนวัตกรรมก็ปรับตัวเพื่อแข่งขันไม่ได้เลย
อย่างไรก็ตาม การเติบโตทางลัด ก็เป็นสิ่งที่บริษัทพีทีที โกลบอล ไม่ปฏิเสธ โดย นายวีรศักดิ์ บอกว่า เราไม่จำเป็นต้องเริ่มจากศูนย์เสมอไป เพราะในบางผลิตภัณฑ์มีคนคิดไว้ก่อนแล้วเป็นสิบปี ซึ่งหากจะเริ่มจากศูนย์ทุกครั้งคงไม่ทันท่วงที ดังนั้น การยืนอยู่ในลำดับโลกได้ในเวลาอันรวดเร็ว การซื้อกิจการก็เป็นคำตอบให้สามารถเติบโตอย่างก้าวกระโดดเช่นเดียวกัน
เขา ย้ำว่า การซื้อกิจการต้องหมายถึงอยู่ภายใต้กลยุทธ์ด้วย นั่นคือ ต้องทำให้เราเป็นเจ้าของเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมใหม่ๆ อย่างล่าสุด ที่ได้เข้าไปลงทุนซื้อหุ้นในบริษัท Perstorp HoldingFrance SAS (Perstorp Holding France) โดยถือหุ้นเบื้องต้น 51% ซึ่งบริษัทดังกล่าวเป็นผู้ผลิตและเป็นเจ้าของเทคโนโลยีในการผลิต Isocyanate ที่มีบทบาทสำคัญในยุโรปและเอเชีย โดยเฉพาะในกลุ่มของ Toluene diisocyanate (TDI),Hexamethylene diisocyanate (HDI) และ Derivatives ซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิตพลาสติก Polyurethan (PU) ที่มีคุณสมบัติเฉพาะในกลุ่มการใช้งานจำพวกโฟมและสารเคลือบในอุตสาหกรรมยานยนต์และสิ่งก่อสร้าง
การมองหาโอกาสซื้อกิจการในแถบยุโรป หรือสหรัฐอเมริกาเป็นโอกาสหนึ่งในภาวะที่เศรษฐกิจของประเทศแถบนั้นมีปัญหา ซึ่งกลยุทธ์ของเราไม่ได้เน้นการหาตลาดใหม่ๆ ในย่านนั้น เพราะตลาดหลักของเรายังคงเน้นในเอเชีย ซึ่งมีการเติบโตสูง แต่ต้องการเป็นส่วนหนึ่งของเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมที่มีผู้คิดค้นมาแล้ว เพื่อนำมาต่อยอด รวมถึงสร้างองค์ความรู้ให้กับบุคลากร
อย่างไรก็ตาม เขา ย้ำว่า บริษัทพีทีทีโกลบอล คงไม่ได้มุ่งเน้นการเติบโตด้วยขนาดเท่านั้น แต่การเติบโตด้วยความยั่งยืนสำคัญกว่า โดยสามารถผลิตผลิตภัณฑ์ที่สามารถตอบสนองความต้องการของตลาดได้อย่างต่อเนื่อง และไม่กระทบกับสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ์ของบริษัทพีทีทีโกลบอล คือ การเลือกต่อยอดเคมีคอลในบางผลิตภัณฑ์ เป็นการโฟกัสของวีรศักดิ์ โดยเขา บอกว่า สิ่งที่เราทำได้ดีในวันนี้ คือ ผลิตภัณฑ์สายอะโรเมติกส์ และโอเลฟินส์ โดยต่อยอดในกลุ่มธุรกิจขั้นปลาย (Downstream) และเน้นไปที่ผลิตภัณฑ์ที่รองรับ 3 อุตสาหกรรมหลัก ประกอบด้วย อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ รถยนต์ และก่อสร้าง
เขาขยายความต่อว่า กว่าจะวางกลยุทธ์ออกมาได้อย่างนี้ ได้ผ่านการวิเคราะห์มากว่า 2 ปี และพบว่าการเติบโตของโลกใน 5-10 ปีนั้น จะอยู่ในตลาดเอเชีย ขณะเดียวกัน ได้วิเคราะห์พลเมือง และวิถีชีวิตของผู้คนในอนาคต ซึ่งได้ข้อสรุปว่า การขยายตัวของประชากรในโลกจะมาจากเอเชียเป็นหลัก อีกทั้งรายได้ของประชากรก็ต่ำกว่าแถบยุโรป และสหรัฐ ทั้งเป็นคนรุ่นใหม่ นอกจากนี้ จะมีเมืองขนาดใหญ่หลายสิบเมืองเกิดขึ้นในเอเชีย ดังนั้น ความต้องการที่อยู่อาศัย เครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และรถยนต์จะขยายตัวอย่างรวดเร็ว
และเมื่อคิดต่อไปในโลกอนาคต ทำให้เรามั่นใจว่า พลาสติกจะเป็นคำตอบ เพราะเทคโนโลยีการก่อสร้างจะเปลี่ยนไป โดยมุ่งเน้นอาคารประหยัดพลังงาน และใช้วัสดุที่เป็นพลาสติกคุณภาพสูงทั้งหมด รวมถึงบ้านเรือนที่จะมีการออกแบบให้ประหยัดพลังงานด้วยเช่นเดียวกัน ส่วนสินค้าอิเล็กทรอนิกส์จะมีคนใช้ตอบสนองความต้องการในชีวิตประจำวันมากขึ้น และผลิตจากพลาสติก ซึ่งสามารถตอบสนองความต้องการได้มากกว่าวัสดุอื่น
ทั้งในเรื่องการใช้งาน ที่สำคัญพลาสติกใช้พลังงานต่ำที่สุดในการผลิต ทำให้ราคาสินค้าถูกลง ส่วนรถยนต์จะเป็นอิเล็กทริกคาร์ที่ต้องการความเบา โดยปัจจุบันนี้ก็มีการใช้พลาสติกทดแทนวัสดุอื่นๆ ในหลายส่วนแล้ว เช่น การใช้โพลีคาร์บอเนทในไฟหน้าแทนกระจก และอนาคตแม้แต่ตัวถังรถยนต์ก็มีแนวโน้มเป็นพลาสติก
สิ่งที่เราต้องคิด คือ ทำอย่างไรให้พลาสติกมีคุณภาพมากขึ้นและแข็งแรงมากขึ้น เพื่อทดแทนวัสดุอื่นได้อย่างเหมาะสม ซึ่งนวัตกรรมเป็นคำตอบ โดยที่ผ่านมา บริษัทได้ตั้งทีมนวัตกรรมขึ้นมารองรับอย่างเป็นรูปธรรม และแต่ละปีจะมีผลิตภัณฑ์ออกมาใหม่ 2-3 ผลิตภัณฑ์เสมอ นายวีรศักดิ์กล่าว
เขากล่าวในตอนท้ายว่า ปัจจุบันเราพอใจในการเติบโตที่เป็นไปอย่างก้าวกระโดดติดอันดับโลก เห็นได้จากผลประกอบการในปี 2554 ที่ใกล้เคียง 4 แสนล้านบาทจากเมื่อ 5 ปีก่อนมีการควบรวมไม่ถึง 1 แสนล้านบาท แต่การเติบโตนั้น จะต้องเป็นการขยายงานที่โฟกัสมาก โดยต้องเป็นธุรกิจที่ได้ผลตอบแทนสมเหตุสมผล และอยู่ในวิสัยที่ทำได้ รวมถึงต้องเป็นธุรกิจที่อยู่ในสายเท่านั้น
ที่มา: หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 12
KK มูลค่าหุ้นพุ่ง 8.25 บ. ฮุบภัทรกำไรกระโดดฐานลูกค้าขยาย EPS-ROE เพิ่ม เป้าใหม่ 45 บ. [ ข่าวหุ้น, 13 ธ.ค. 54 ]
แบงก์เกียรตินาคิน (KK) ฮุบ บล.ภัทร ดันมูลค่าหุ้นพุ่งสูงจากกระดาน 8.25 บาท มีอัพไซด์ 22.44%
สว็อปหุ้นรอบนี้กำไรต่อหุ้นไม่กระทบ ไม่มีผลไดลูท ส่งผล KK มีฐานลูกค้าตราสารหนี้ ตราสารทุน อนุพันธ์
ธุรกิจกองทุน และธุรกิจค้าหุ้นโตพรวด ทำให้ EPS-ROE ปรี๊ด ตะลึงราคาหุ้นอยู่เฉียดบุ๊คแวลู ขณะแบงก์อื่น
ราคาสูงกว่าบุ๊ค 1.5-3 เท่า ฝรั่งให้ราคาเป้าหมายเบาะ ๆ 45 บาท
แบงก์เกียรตินาคิน (KK) ฮุบ บล.ภัทร ดันมูลค่าหุ้นพุ่งสูงจากกระดาน 8.25 บาท มีอัพไซด์ 22.44%
สว็อปหุ้นรอบนี้กำไรต่อหุ้นไม่กระทบ ไม่มีผลไดลูท ส่งผล KK มีฐานลูกค้าตราสารหนี้ ตราสารทุน อนุพันธ์
ธุรกิจกองทุน และธุรกิจค้าหุ้นโตพรวด ทำให้ EPS-ROE ปรี๊ด ตะลึงราคาหุ้นอยู่เฉียดบุ๊คแวลู ขณะแบงก์อื่น
ราคาสูงกว่าบุ๊ค 1.5-3 เท่า ฝรั่งให้ราคาเป้าหมายเบาะ ๆ 45 บาท
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
-
- Verified User
- โพสต์: 1980
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 13
รายการนี่แหละที่น่ากลัวpak เขียน:KK มูลค่าหุ้นพุ่ง 8.25 บ. ฮุบภัทรกำไรกระโดดฐานลูกค้าขยาย EPS-ROE เพิ่ม เป้าใหม่ 45 บ. [ ข่าวหุ้น, 13 ธ.ค. 54 ]
แบงก์เกียรตินาคิน (KK) ฮุบ บล.ภัทร ดันมูลค่าหุ้นพุ่งสูงจากกระดาน 8.25 บาท มีอัพไซด์ 22.44%
สว็อปหุ้นรอบนี้กำไรต่อหุ้นไม่กระทบ ไม่มีผลไดลูท ส่งผล KK มีฐานลูกค้าตราสารหนี้ ตราสารทุน อนุพันธ์
ธุรกิจกองทุน และธุรกิจค้าหุ้นโตพรวด ทำให้ EPS-ROE ปรี๊ด ตะลึงราคาหุ้นอยู่เฉียดบุ๊คแวลู ขณะแบงก์อื่น
ราคาสูงกว่าบุ๊ค 1.5-3 เท่า ฝรั่งให้ราคาเป้าหมายเบาะ ๆ 45 บาท
The mother of all evils is speculation, leverage debt. Bottom line, is borrowing to the hilt. And I hate to tell you this, but it's a bankrupt business model. It won't work. It's systemic, malignant, and it's global, like cancer.
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 14
เทรนด์ควบกิจการแรงปี 55 บล.เจอด่านแรกรับเปิดเสรีค่าคอมฯ วัดขีดแข่งขัน บริษัทขนาดใหญ่ทั้ง
พลังงาน-ปูนซีเมนต์ มองโอกาสซื้อกิจการทั้งในและต่างประเทศไม่หยุดรับมือเปิดเสรีอาเซียน
4 ม.ค.--กรุงเทพธุรกิจ
นับถอยหลังการเปิดเสรีอาเซียนเพิ่มแรงกดดันภาคธุรกิจไทยปรับตัวเพื่อรองรับการแข่งขันทุก
อุตสาหกรรมต่างก็หาช่องทางอยู่รอด ไม่ว่าจะเป็นการหาพันธมิตรข้ามชาติเพื่อร่วมมือทางธุรกิจ การ
ควบรวมกิจการ การเทคโอเวอร์ ขึ้นอยู่กับความพร้อมของแต่ละบริษัทว่าจะเลือกรูปแบบแบบใด
พลังงาน-ปูนซีเมนต์ มองโอกาสซื้อกิจการทั้งในและต่างประเทศไม่หยุดรับมือเปิดเสรีอาเซียน
4 ม.ค.--กรุงเทพธุรกิจ
นับถอยหลังการเปิดเสรีอาเซียนเพิ่มแรงกดดันภาคธุรกิจไทยปรับตัวเพื่อรองรับการแข่งขันทุก
อุตสาหกรรมต่างก็หาช่องทางอยู่รอด ไม่ว่าจะเป็นการหาพันธมิตรข้ามชาติเพื่อร่วมมือทางธุรกิจ การ
ควบรวมกิจการ การเทคโอเวอร์ ขึ้นอยู่กับความพร้อมของแต่ละบริษัทว่าจะเลือกรูปแบบแบบใด
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 15
ปีพลิกผันของตลาดทุนไทย
Source - โพสต์ ทูเดย์ (Th), Monday, January 02, 2012
...เจียรนัย อุตะมะ
ปี2554 เป็นปีแห่งความพลิกผันของตลาดทุนไทย เพราะความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลก อันเนื่องมาจากปัญหาเศรษฐกิจของประเทศมหาอำนาจตะวันตกคือ สหรัฐและสหภาพยุโรป (อียู) ทำให้กระดานหุ้นไทยและโลหะมีค่าพลิกผันได้ตลอดเวลา ยากแก่การคาดการณ์
ผลการเลือกตั้งได้รัฐบาลใหม่พรรคเพื่อไทย(พท.) โดยมี "ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร" น้องสาว "พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร" เป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของประเทศไทย ได้ทำให้เกิดการเก็งกำไรหุ้นการเมืองกันจ้าละหวั่น
ผสมโรงด้วยอุทกภัยที่ไม่คาดคิด หลังเกิดเหตุการณ์สึนามิที่ญี่ปุ่นเมื่อเดือน มี.ค. ทำให้หุ้นกลุ่มนิคมอุตสาหกรรม ยานยนต์ และอิเล็กทรอนิกส์เจ๊งชั่วคราว 1-2 ไตรมาส
นอกจากนั้น ในปีนี้ยังมีการซื้อกิจการและรวมกิจการเกิดขึ้นตลอดทั้งปีเพื่อเพิ่มความแข็งแกร่งของธุรกิจ และเกิดขึ้นแบบกระจายกลุ่ม ทั้งพลังงาน โรงพยาบาล อาหาร และหลักทรัพย์ รวมถึงการเพิกถอนบริษัทจดทะเบียน (บจ.) ออกจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.)
เรื่องเด่นในวงการตลาดทุนไทยเรียงลำดับได้ดังนี้
เรื่องเด่นที่หนึ่ง
แบล็ก มันเดย์ ’หุ้นร่วง-ทองลง-เงินดิ่ง’เจ๊งยับล้านล้านบาท
ผลจากความปั่นป่วนเนื่องจากทั่วโลกไม่เชื่อมั่นว่าวิกฤตเศรษฐกิจยุโรปจะได้รับการเยียวยา ทำให้ตลาดทุนโลกและไทยปั่นป่วน ผสมกับผลการประชุมประเทศผู้นำเศรษฐกิจ 20 แห่ง (จี20) เมื่อสุดสัปดาห์ที่ 24-25 ก.ย. 2554 ไม่มีมาตรการแก้ปัญหาที่เป็นรูปธรรม ทำให้การซื้อขายหุ้นและโลหะมีค่าเมื่อวันจันทร์ที่ 26 ก.ย. กลายเป็นวันจันทร์ทมิฬ หรือแบล็กมันเดย์
ทันทีที่ตลาดหุ้นและตลาดสินค้าโลหะมีค่า ทั้งทองและเงินเปิดทำการ ราคาก็ร่วงลงหนักเป็นวันที่ 3 ตลาดหุ้นไทยลงไปลึกสุดถึง 867.86 จุดใกล้ 10% จนทำให้ระบบการซื้อขายหยุดชะงักชั่วคราวในช่วงเวลาประมาณ 14.00-14.35 น.
ช่วงเวลาไล่เลี่ยกันกับการที่ตลาดทองคำทั่วโลกหยุดชะงักเพราะส่งคำสั่งซื้อขายไม่ทัน มีผลให้การซื้อขายทองในประเทศชะงักงันไปด้วย เพราะกำหนดราคาไม่ได้ ตลาดอนุพันธ์ (ประเทศไทย)ต้องประกาศหยุดซื้อขายซิลเวอร์ ฟิวเจอร์สชั่วคราวเป็นรอบที่ 2 ใน 3 วัน
ขณะที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ออกแถลงการณ์ว่า การหยุดชะงักชั่วคราวนั้นไม่ใช่มาตรการเซอร์กิต เบรกเกอร์ หรือระงับคำสั่งซื้อขายชั่วคราว แต่เป็นเพราะคอมพิวเตอร์ขัดข้อง สุดท้ายดัชนีกลับมาปิดตลาดที่เหนือ 900 จุดได้
รวม 3 วัน มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดหรือมาร์เก็ตแคป หายไปแล้ว 1 ล้านล้านบาทต่างชาติขายออกเกือบ 9,000 ล้านบาท เฉพาะวันที่26 ก.ย. ตลาดหุ้นไทยลดลงหนักสุดในตลาดหุ้นเอเชีย ต่างชาติ ขายกว่า 3,000 ล้านบาท
จนกระทั่งปิดล่าสุดวันสุดท้ายของปีวันที่ 30 ธ.ค. 2554 ที่ 1,025.32 เทียบกับสิ้นปี 2553 เท่ากับลดลงเล็กน้อย 0.72% หรือ 7.44 จุด นักลงทุนที่ลงทุนในวันแรกของปีและขายวันสุดท้ายเท่ากับว่าขาดทุนเล็กน้อยเช่นกัน
เรื่องเด่นที่สอง
ทองพลิกเป็นขาลง ธ.ค.
สร้างความประหลาดใจให้นักลงทุนอย่างถ้วนหน้ากับราคาทองคำในตลาดโลกที่ปรับขึ้นมาดีเกือบตลอดทั้งปีจนผู้ค้าทองคาดกันว่าจะไปไกลถึง1,920-2,000 เหรียญสหรัฐต่อออนซ์ กลับปรับตัวลงกะทันหันเมื่อวันที่ 8 ธ.ค. ก่อนการประชุมผู้นำอียู วันที่ 9 ธ.ค. จาก 1,730 เหรียญสหรัฐต่อออนซ์ลงมาอยู่ที่ 1,561 เหรียญสหรัฐต่อออนซ์ เมื่อวันสุดท้ายของปี วันที่ 30 ธ.ค. 2554 นับว่าตกลงมาถึง 169 เหรียญสหรัฐต่อออนซ์ จนผู้ค้าทองออกมายืนยันว่าทองคำจะลดลงจนถึงครึ่งแรกเดือน ม.ค.2555 กว่าจะปรับขึ้นสู่จุดสูงสุดอีกครั้งในไตรมาสแรกปี 2555
ในปี 2554 เริ่มเห็นภาพชัดเจนว่าการซื้อขายทองคำหรือสัญญาทองคำล่วงหน้า นับเป็นสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงสูง และราคาไม่ได้เปลี่ยนแปลงตรงกันข้ามกับดัชนีหุ้นเหมือนที่ผ่านมาอีกต่อไปแล้ว ส่วนหนึ่งเป็นเพราะแรงเก็งกำไรในทองคำ จนผลักดันให้ราคาปรับตัวขึ้นอย่างรวดเร็วและระหว่างวันราคาก็มีการเปลี่ยนแปลงสูง ซึ่งเมื่อมีอะไรเกิดขึ้นมาแล้วทำให้นักลงทุนเกิดความไม่มั่นใจ ก็จะเฮโลไปลงทุนในเงินเหรียญสหรัฐแทน เพราะเป็นสินทรัพย์ที่มีความมั่นคงมาก
เรื่องเด่นที่สาม
อุทกภัยฉุดกำไร บจ.
อุทกภัยที่เกิดช่วงเดือน ต.ค.-พ.ย. 2554 สร้างความเสียหายให้บริษัทจดทะเบียนถึง 53 แห่งรายได้สูญประมาณ 3 หมื่นล้านบาท จากผลสำรวจของสมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
"สมบัติ นราวุฒิชัย" เลขาธิการสมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ประมาณการว่าจะฉุดกำไรสุทธิบริษัทจดทะเบียน 3-4 หมื่นล้านบาท
กระทบกลุ่มอุตสาหกรรม 10 ประเภทกลุ่มนิคมอุตสาหกรรม กลุ่มยานยนต์ กลุ่มประกันวินาศภัย กลุ่มชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มธนาคารพาณิชย์
กลุ่มพัฒนาที่อยู่อาศัย กลุ่มท่องเที่ยว บันเทิง นอกจากนี้ ทางกระทรวงการคลัง คาดการณ์ว่าผลกระทบจากมหาอุทกภัยส่งผลให้เศรษฐกิจไทยในไตรมาส 4 ทรุดลงแรงถึง 5% จึงส่งผลให้รวมทั้งปี 2554 เศรษฐกิจเติบโตเพียง 1.1% ซึ่งนับว่าผลกระทบครั้งนี้มากกว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ และจะส่งผลกระทบต่อเนื่องถึงเศรษฐกิจในไตรมาสแรก ทำให้เศรษฐกิจโตติดลบอีกหนึ่งไตรมาสได้
เรื่องเด่นที่สี่
ซื้อกิจการและรวมกิจการ
เริ่มจากปี 2554 เกิดการควบรวมกิจการและซื้อกิจการของบริษัทจดทะเบียนมากเป็นประวัติการณ์เกือบ 30 ธุรกรรม คิดเป็นมูลค่าหลักแสนล้านบาท
อาทิ บริษัทในกลุ่มปิโตรเคมีและโรงกลั่นของบริษัท ปตท. (PTT) โดยการรวมกิจการระหว่างบริษัท ปตท.เคมิคอล (PTTCH) และบริษัท ปตท.อะโรเมติกส์ และการกลั่น(PTTAR)ก็แล้วเสร็จและนำบริษัทแห่งใหม่เข้าซื้อขายใน ตลท.เป็นวันแรก เมื่อวันศุกร์ที่ 21 ต.ค.ที่ผ่านมา ภายใต้ชื่อบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล (PTTGC) ธงนำทัพธุรกิจปิโตรเคมีของ PTT ที่เหมาะสำหรับลงทุนในระยะยาว
ผลการซื้อขายวันแรกราคาหุ้นไม่ได้วิ่งไปไหนไกล ปิดที่หุ้นละ 54 บาท แต่มูลค่าการซื้อขายติดอันดับสูงสุดประจำวัน
การควบบริษัทระหว่าง PTTCH กับ PTTAR ทำให้ PTTGC ก้าวขึ้นเป็นแกนนำด้านธุรกิจเคมีภัณฑ์ของกลุ่ม ปตท.ด้วยกำลังการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี รวม 8.2 ล้านตันต่อปี และกำลังการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมรวม 228,000 บาร์เรลต่อวันด้วยจุดแข็งด้านความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขั้นต้น ขั้นกลาง และขั้นปลาย ทั้งสายโอเลฟินส์และอะโรเมติกส์ อันเป็นการสร้างศักยภาพด้านการดำเนินงานและช่วยลดความเสี่ยงจากการแข่งขันที่รุนแรงในธุรกิจปิโตรเคมีในปัจจุบัน
PTTGC นับเป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่นครบวงจรที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และเป็นอันดับ 2 ของอาเซียน เป็นรองเพียงบริษัท ปิโตรนาส เคมิคัล ของมาเลเซียและมีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดรวม(มาร์เก็ตแคป) สูงติดอันดับ 8 ของตลาดหลักทรัพย์
ตามมาด้วย กิจการโรงพยาบาลใหญ่ในเครือโรงพยาบาลกรุงเทพหรือบริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ (BGH) ของ นพ.ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ กับเครือโรงพยาบาลพญาไทของ "วิชัย ทองแตง" ที่เพิ่งเซ็นสัญญารวมกิจการกันอย่างเป็นทางการเมื่อเดือน ก.พ.ที่ผ่านมา ส่งผลให้หุ้น BGH วิ่งขึ้นหูดับตับไหม้
รอบปีที่ผ่านมาราคาหุ้น BGH เพิ่มสูงมากจากแถว 40 บาท มาเป็น 82 บาทต่อหุ้น พุ่งขึ้นถึง105% ส่งผลให้บรรดาผู้ถือหุ้นใหญ่ทั้งสามรายรวยขึ้นมาติดอันดับถ้วนหน้า
สงบสุขชิงน้ำดำเป๊ปซี่ หลังจากชิงอำนาจบริหารงานกันมานาน ในที่สุดเดือน ก.ค. บริษัทเสริมสุข (SSC) แจ้ง ตลท.ว่า คณะกรรมการบริษัทได้รับทราบหนังสือลงวันที่ 20 ก.ค.ที่ผ่านมา จากบริษัท เป๊ปซี่-โคล่า (ไทย) เทรดดิ้ง เซเว่น-อัพ และบริษัท เอสเอสเนชั่นแนล โลจิสติกส์ (SSN) ซึ่งทั้งสองกลุ่มเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ได้ลงนามสัญญาจะซื้อจะขายหุ้น ลงวันที่ 20 ก.ค.
สาระสำคัญของสัญญาคือ กลุ่มเป๊ปซี่จะต้องเสนอราคาหุ้นให้ SSN พิจารณา และ SSN จะเป็นฝ่ายเลือกที่จะขายหุ้นที่ถืออยู่ทั้งหมดให้แก่เป๊ปซี่ หรือเลือกซื้อหุ้นที่กลุ่มเป๊ปซี่ถืออยู่ทั้งหมดในราคาที่เป๊ปซี่เสนอ ทำให้ความขัดแย้งระหว่างทั้งสองฝ่ายลงเอย
เป๊ปซี่มีข้อเสนอที่เป็นประโยชน์กับเสริมสุขกรณีที่เป๊ปซี่ได้หุ้นจาก SSN โดยเป๊ปซี่จะต่อสัญญาทำธุรกิจกับเสริมสุขออกไปอีกช่วงหนึ่ง จากเดิมสัญญา Exclusive Bottling Appointment (EBA)จะหมดอายุวันที่ 1 เม.ย. 2555 (ยกเลิกสัญญาฉบับวันที่ 1 ม.ค. 2541) และทำสัญญา EBA ฉบับใหม่
สำหรับสัญญาฉบับใหม่กรณีที่เป๊ปซี่เป็นผู้ซื้อหุ้นจาก SSN เป๊ปซี่มีอายุสัญญา 7 ปี และต่ออัตโนมัติอีก 5 ปี ซึ่งสัญญาฉบับใหม่เริ่มต้นวันที่ 1 พ.ย. 2554 นอกจากนี้ EBA ฉบับใหม่จะกำหนด
บริษัท ไทยยูเนียน โฟรเซ่น โปรดักส์ (TUF)ได้ลงนามในสัญญาซื้อขายหุ้นบริษัท แพ็คฟู้ด(PPC)กับกลุ่มตระกูลอารีย์เจริญเลิศ จำนวน40% คาดว่า การซื้อขายหุ้นจะแล้วเสร็จเดือน เม.ย. 2555 การผนึกกำลังในครั้งนี้ จะทำให้ทั้งสองบริษัทส่งออกกุ้งไปสหรัฐและยุโรปถึงวันละ 420 ตัน เป็นอันดับต้นๆ ของโลก
บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล (MINT) ได้ซื้อหุ้น บริษัท ไทยเอ็กซ์เพรส เพิ่มอีก 30% โดยใช้เงินในการเข้าซื้อ 406 ล้านบาท ทำให้บริษัทถือหุ้นทั้งสิ้น 100% การเข้าซื้อหุ้นเพิ่มขึ้นครั้งนี้ เป็น
การต่อยอดทางธุรกิจและเป็นการสร้างโอกาสในการขยายธุรกิจอาหารในต่างประเทศ รวมถึงจะทำให้บริษัทมีสัดส่วนรายได้และกำไรจากต่างประเทศมากขึ้นทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
บริษัท ไทยเอ็กซ์เพรส นั้น ดำเนินธุรกิจร้านอาหารโดยตรงในประเทศสิงคโปร์ โดยมีสาขาทั้งสิ้น 54 สาขา และยังมีการลงทุนผ่านแฟรนไชส์ทั้งที่มาเลเซีย เวียดนาม และออสเตรเลีย ด้วย
กลุ่มบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส (IVL) ได้ลงนามกับบริษัท Aurelius Ag เพื่อซื้อหุ้นทั้งหมด100% ของบริษัท เวลแมน อินเตอร์เนชั่นแนล ในยุโรป ซึ่งเป็นบริษัทรีไซเคิลชั้นนำของยุโรป มูลค่าลงทุนไม่สามารถเปิดเผยได้
คาดว่าการซื้อขายกิจการจะเสร็จสิ้นภายในปีนี้ผลจากการซื้อ เวลแมน ช่วยให้กลุ่ม IVL เข้าถึงการผสมรีไซเคิลเพต (PET) กับของเสียจาก
อุตสาหกรรมอื่นๆ ส่งผลให้เป็นบริษัทที่ไม่มีของเสีย มีค่าการปล่อยคาร์บอนที่ต่ำ สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคในการรีไซเคิลของที่ใช้แล้วให้กลับมาใช้ใหม่ได้ และถ่ายทอดไปยังธุรกิจอื่นๆ ของกลุ่ม IVL ในทวีปเอเชีย
แบงก์-บล.รวมกิจการในที่สุดบริษัท ทุนภัทร (PHATRA) ซึ่งขึ้นชื่อว่ามีจุดแข็งและมีความพร้อมมากที่สุดในการรับมือกับการแข่งขัน การเปิดเสรีธุรกิจหลักทรัพย์ที่กำลังจะเกิดขึ้นในปี 2555 ก็ตัดสินใจลุกขึ้นมาควบรวมกิจการกับธนาคารเกียรตินาคิน (KK) ดีลนี้มีมูลค่าณ ราคาตลาดเมื่อวันที่ 9 ธ.ค. 2554 ถึง 7,300 ล้านบาท
การควบรวมครั้งนี้ถือว่าเป็นการร่วมกิจการในเชิงยุทธศาสตร์ของธุรกิจ เพราะประเทศไทยจะต้องเปิดเสรีทางการเงินและการลงทุน ซึ่งจะเอื้ออำนวยให้สถาบันการเงินที่มีความพร้อม มีความเชี่ยวชาญในการทำธุรกิจ มีศักยภาพและสามารถขยายตัวได้ทวีคูณ ได้ประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจที่เสรีเต็มรูปแบบ
ความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลกและการเปิดเสรีมากขึ้น ทำให้ธุรกิจเหล่านี้ต้องปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของตัวเอง....
--จบ--
ที่มา: หนังสือพิมพ์โพสต์ทูเดย์
Source - โพสต์ ทูเดย์ (Th), Monday, January 02, 2012
...เจียรนัย อุตะมะ
ปี2554 เป็นปีแห่งความพลิกผันของตลาดทุนไทย เพราะความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลก อันเนื่องมาจากปัญหาเศรษฐกิจของประเทศมหาอำนาจตะวันตกคือ สหรัฐและสหภาพยุโรป (อียู) ทำให้กระดานหุ้นไทยและโลหะมีค่าพลิกผันได้ตลอดเวลา ยากแก่การคาดการณ์
ผลการเลือกตั้งได้รัฐบาลใหม่พรรคเพื่อไทย(พท.) โดยมี "ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร" น้องสาว "พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร" เป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของประเทศไทย ได้ทำให้เกิดการเก็งกำไรหุ้นการเมืองกันจ้าละหวั่น
ผสมโรงด้วยอุทกภัยที่ไม่คาดคิด หลังเกิดเหตุการณ์สึนามิที่ญี่ปุ่นเมื่อเดือน มี.ค. ทำให้หุ้นกลุ่มนิคมอุตสาหกรรม ยานยนต์ และอิเล็กทรอนิกส์เจ๊งชั่วคราว 1-2 ไตรมาส
นอกจากนั้น ในปีนี้ยังมีการซื้อกิจการและรวมกิจการเกิดขึ้นตลอดทั้งปีเพื่อเพิ่มความแข็งแกร่งของธุรกิจ และเกิดขึ้นแบบกระจายกลุ่ม ทั้งพลังงาน โรงพยาบาล อาหาร และหลักทรัพย์ รวมถึงการเพิกถอนบริษัทจดทะเบียน (บจ.) ออกจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.)
เรื่องเด่นในวงการตลาดทุนไทยเรียงลำดับได้ดังนี้
เรื่องเด่นที่หนึ่ง
แบล็ก มันเดย์ ’หุ้นร่วง-ทองลง-เงินดิ่ง’เจ๊งยับล้านล้านบาท
ผลจากความปั่นป่วนเนื่องจากทั่วโลกไม่เชื่อมั่นว่าวิกฤตเศรษฐกิจยุโรปจะได้รับการเยียวยา ทำให้ตลาดทุนโลกและไทยปั่นป่วน ผสมกับผลการประชุมประเทศผู้นำเศรษฐกิจ 20 แห่ง (จี20) เมื่อสุดสัปดาห์ที่ 24-25 ก.ย. 2554 ไม่มีมาตรการแก้ปัญหาที่เป็นรูปธรรม ทำให้การซื้อขายหุ้นและโลหะมีค่าเมื่อวันจันทร์ที่ 26 ก.ย. กลายเป็นวันจันทร์ทมิฬ หรือแบล็กมันเดย์
ทันทีที่ตลาดหุ้นและตลาดสินค้าโลหะมีค่า ทั้งทองและเงินเปิดทำการ ราคาก็ร่วงลงหนักเป็นวันที่ 3 ตลาดหุ้นไทยลงไปลึกสุดถึง 867.86 จุดใกล้ 10% จนทำให้ระบบการซื้อขายหยุดชะงักชั่วคราวในช่วงเวลาประมาณ 14.00-14.35 น.
ช่วงเวลาไล่เลี่ยกันกับการที่ตลาดทองคำทั่วโลกหยุดชะงักเพราะส่งคำสั่งซื้อขายไม่ทัน มีผลให้การซื้อขายทองในประเทศชะงักงันไปด้วย เพราะกำหนดราคาไม่ได้ ตลาดอนุพันธ์ (ประเทศไทย)ต้องประกาศหยุดซื้อขายซิลเวอร์ ฟิวเจอร์สชั่วคราวเป็นรอบที่ 2 ใน 3 วัน
ขณะที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ออกแถลงการณ์ว่า การหยุดชะงักชั่วคราวนั้นไม่ใช่มาตรการเซอร์กิต เบรกเกอร์ หรือระงับคำสั่งซื้อขายชั่วคราว แต่เป็นเพราะคอมพิวเตอร์ขัดข้อง สุดท้ายดัชนีกลับมาปิดตลาดที่เหนือ 900 จุดได้
รวม 3 วัน มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดหรือมาร์เก็ตแคป หายไปแล้ว 1 ล้านล้านบาทต่างชาติขายออกเกือบ 9,000 ล้านบาท เฉพาะวันที่26 ก.ย. ตลาดหุ้นไทยลดลงหนักสุดในตลาดหุ้นเอเชีย ต่างชาติ ขายกว่า 3,000 ล้านบาท
จนกระทั่งปิดล่าสุดวันสุดท้ายของปีวันที่ 30 ธ.ค. 2554 ที่ 1,025.32 เทียบกับสิ้นปี 2553 เท่ากับลดลงเล็กน้อย 0.72% หรือ 7.44 จุด นักลงทุนที่ลงทุนในวันแรกของปีและขายวันสุดท้ายเท่ากับว่าขาดทุนเล็กน้อยเช่นกัน
เรื่องเด่นที่สอง
ทองพลิกเป็นขาลง ธ.ค.
สร้างความประหลาดใจให้นักลงทุนอย่างถ้วนหน้ากับราคาทองคำในตลาดโลกที่ปรับขึ้นมาดีเกือบตลอดทั้งปีจนผู้ค้าทองคาดกันว่าจะไปไกลถึง1,920-2,000 เหรียญสหรัฐต่อออนซ์ กลับปรับตัวลงกะทันหันเมื่อวันที่ 8 ธ.ค. ก่อนการประชุมผู้นำอียู วันที่ 9 ธ.ค. จาก 1,730 เหรียญสหรัฐต่อออนซ์ลงมาอยู่ที่ 1,561 เหรียญสหรัฐต่อออนซ์ เมื่อวันสุดท้ายของปี วันที่ 30 ธ.ค. 2554 นับว่าตกลงมาถึง 169 เหรียญสหรัฐต่อออนซ์ จนผู้ค้าทองออกมายืนยันว่าทองคำจะลดลงจนถึงครึ่งแรกเดือน ม.ค.2555 กว่าจะปรับขึ้นสู่จุดสูงสุดอีกครั้งในไตรมาสแรกปี 2555
ในปี 2554 เริ่มเห็นภาพชัดเจนว่าการซื้อขายทองคำหรือสัญญาทองคำล่วงหน้า นับเป็นสินทรัพย์ที่มีความเสี่ยงสูง และราคาไม่ได้เปลี่ยนแปลงตรงกันข้ามกับดัชนีหุ้นเหมือนที่ผ่านมาอีกต่อไปแล้ว ส่วนหนึ่งเป็นเพราะแรงเก็งกำไรในทองคำ จนผลักดันให้ราคาปรับตัวขึ้นอย่างรวดเร็วและระหว่างวันราคาก็มีการเปลี่ยนแปลงสูง ซึ่งเมื่อมีอะไรเกิดขึ้นมาแล้วทำให้นักลงทุนเกิดความไม่มั่นใจ ก็จะเฮโลไปลงทุนในเงินเหรียญสหรัฐแทน เพราะเป็นสินทรัพย์ที่มีความมั่นคงมาก
เรื่องเด่นที่สาม
อุทกภัยฉุดกำไร บจ.
อุทกภัยที่เกิดช่วงเดือน ต.ค.-พ.ย. 2554 สร้างความเสียหายให้บริษัทจดทะเบียนถึง 53 แห่งรายได้สูญประมาณ 3 หมื่นล้านบาท จากผลสำรวจของสมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์
"สมบัติ นราวุฒิชัย" เลขาธิการสมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ประมาณการว่าจะฉุดกำไรสุทธิบริษัทจดทะเบียน 3-4 หมื่นล้านบาท
กระทบกลุ่มอุตสาหกรรม 10 ประเภทกลุ่มนิคมอุตสาหกรรม กลุ่มยานยนต์ กลุ่มประกันวินาศภัย กลุ่มชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มธนาคารพาณิชย์
กลุ่มพัฒนาที่อยู่อาศัย กลุ่มท่องเที่ยว บันเทิง นอกจากนี้ ทางกระทรวงการคลัง คาดการณ์ว่าผลกระทบจากมหาอุทกภัยส่งผลให้เศรษฐกิจไทยในไตรมาส 4 ทรุดลงแรงถึง 5% จึงส่งผลให้รวมทั้งปี 2554 เศรษฐกิจเติบโตเพียง 1.1% ซึ่งนับว่าผลกระทบครั้งนี้มากกว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ และจะส่งผลกระทบต่อเนื่องถึงเศรษฐกิจในไตรมาสแรก ทำให้เศรษฐกิจโตติดลบอีกหนึ่งไตรมาสได้
เรื่องเด่นที่สี่
ซื้อกิจการและรวมกิจการ
เริ่มจากปี 2554 เกิดการควบรวมกิจการและซื้อกิจการของบริษัทจดทะเบียนมากเป็นประวัติการณ์เกือบ 30 ธุรกรรม คิดเป็นมูลค่าหลักแสนล้านบาท
อาทิ บริษัทในกลุ่มปิโตรเคมีและโรงกลั่นของบริษัท ปตท. (PTT) โดยการรวมกิจการระหว่างบริษัท ปตท.เคมิคอล (PTTCH) และบริษัท ปตท.อะโรเมติกส์ และการกลั่น(PTTAR)ก็แล้วเสร็จและนำบริษัทแห่งใหม่เข้าซื้อขายใน ตลท.เป็นวันแรก เมื่อวันศุกร์ที่ 21 ต.ค.ที่ผ่านมา ภายใต้ชื่อบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล (PTTGC) ธงนำทัพธุรกิจปิโตรเคมีของ PTT ที่เหมาะสำหรับลงทุนในระยะยาว
ผลการซื้อขายวันแรกราคาหุ้นไม่ได้วิ่งไปไหนไกล ปิดที่หุ้นละ 54 บาท แต่มูลค่าการซื้อขายติดอันดับสูงสุดประจำวัน
การควบบริษัทระหว่าง PTTCH กับ PTTAR ทำให้ PTTGC ก้าวขึ้นเป็นแกนนำด้านธุรกิจเคมีภัณฑ์ของกลุ่ม ปตท.ด้วยกำลังการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี รวม 8.2 ล้านตันต่อปี และกำลังการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมรวม 228,000 บาร์เรลต่อวันด้วยจุดแข็งด้านความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขั้นต้น ขั้นกลาง และขั้นปลาย ทั้งสายโอเลฟินส์และอะโรเมติกส์ อันเป็นการสร้างศักยภาพด้านการดำเนินงานและช่วยลดความเสี่ยงจากการแข่งขันที่รุนแรงในธุรกิจปิโตรเคมีในปัจจุบัน
PTTGC นับเป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่นครบวงจรที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และเป็นอันดับ 2 ของอาเซียน เป็นรองเพียงบริษัท ปิโตรนาส เคมิคัล ของมาเลเซียและมีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดรวม(มาร์เก็ตแคป) สูงติดอันดับ 8 ของตลาดหลักทรัพย์
ตามมาด้วย กิจการโรงพยาบาลใหญ่ในเครือโรงพยาบาลกรุงเทพหรือบริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ (BGH) ของ นพ.ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ กับเครือโรงพยาบาลพญาไทของ "วิชัย ทองแตง" ที่เพิ่งเซ็นสัญญารวมกิจการกันอย่างเป็นทางการเมื่อเดือน ก.พ.ที่ผ่านมา ส่งผลให้หุ้น BGH วิ่งขึ้นหูดับตับไหม้
รอบปีที่ผ่านมาราคาหุ้น BGH เพิ่มสูงมากจากแถว 40 บาท มาเป็น 82 บาทต่อหุ้น พุ่งขึ้นถึง105% ส่งผลให้บรรดาผู้ถือหุ้นใหญ่ทั้งสามรายรวยขึ้นมาติดอันดับถ้วนหน้า
สงบสุขชิงน้ำดำเป๊ปซี่ หลังจากชิงอำนาจบริหารงานกันมานาน ในที่สุดเดือน ก.ค. บริษัทเสริมสุข (SSC) แจ้ง ตลท.ว่า คณะกรรมการบริษัทได้รับทราบหนังสือลงวันที่ 20 ก.ค.ที่ผ่านมา จากบริษัท เป๊ปซี่-โคล่า (ไทย) เทรดดิ้ง เซเว่น-อัพ และบริษัท เอสเอสเนชั่นแนล โลจิสติกส์ (SSN) ซึ่งทั้งสองกลุ่มเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ได้ลงนามสัญญาจะซื้อจะขายหุ้น ลงวันที่ 20 ก.ค.
สาระสำคัญของสัญญาคือ กลุ่มเป๊ปซี่จะต้องเสนอราคาหุ้นให้ SSN พิจารณา และ SSN จะเป็นฝ่ายเลือกที่จะขายหุ้นที่ถืออยู่ทั้งหมดให้แก่เป๊ปซี่ หรือเลือกซื้อหุ้นที่กลุ่มเป๊ปซี่ถืออยู่ทั้งหมดในราคาที่เป๊ปซี่เสนอ ทำให้ความขัดแย้งระหว่างทั้งสองฝ่ายลงเอย
เป๊ปซี่มีข้อเสนอที่เป็นประโยชน์กับเสริมสุขกรณีที่เป๊ปซี่ได้หุ้นจาก SSN โดยเป๊ปซี่จะต่อสัญญาทำธุรกิจกับเสริมสุขออกไปอีกช่วงหนึ่ง จากเดิมสัญญา Exclusive Bottling Appointment (EBA)จะหมดอายุวันที่ 1 เม.ย. 2555 (ยกเลิกสัญญาฉบับวันที่ 1 ม.ค. 2541) และทำสัญญา EBA ฉบับใหม่
สำหรับสัญญาฉบับใหม่กรณีที่เป๊ปซี่เป็นผู้ซื้อหุ้นจาก SSN เป๊ปซี่มีอายุสัญญา 7 ปี และต่ออัตโนมัติอีก 5 ปี ซึ่งสัญญาฉบับใหม่เริ่มต้นวันที่ 1 พ.ย. 2554 นอกจากนี้ EBA ฉบับใหม่จะกำหนด
บริษัท ไทยยูเนียน โฟรเซ่น โปรดักส์ (TUF)ได้ลงนามในสัญญาซื้อขายหุ้นบริษัท แพ็คฟู้ด(PPC)กับกลุ่มตระกูลอารีย์เจริญเลิศ จำนวน40% คาดว่า การซื้อขายหุ้นจะแล้วเสร็จเดือน เม.ย. 2555 การผนึกกำลังในครั้งนี้ จะทำให้ทั้งสองบริษัทส่งออกกุ้งไปสหรัฐและยุโรปถึงวันละ 420 ตัน เป็นอันดับต้นๆ ของโลก
บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล (MINT) ได้ซื้อหุ้น บริษัท ไทยเอ็กซ์เพรส เพิ่มอีก 30% โดยใช้เงินในการเข้าซื้อ 406 ล้านบาท ทำให้บริษัทถือหุ้นทั้งสิ้น 100% การเข้าซื้อหุ้นเพิ่มขึ้นครั้งนี้ เป็น
การต่อยอดทางธุรกิจและเป็นการสร้างโอกาสในการขยายธุรกิจอาหารในต่างประเทศ รวมถึงจะทำให้บริษัทมีสัดส่วนรายได้และกำไรจากต่างประเทศมากขึ้นทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
บริษัท ไทยเอ็กซ์เพรส นั้น ดำเนินธุรกิจร้านอาหารโดยตรงในประเทศสิงคโปร์ โดยมีสาขาทั้งสิ้น 54 สาขา และยังมีการลงทุนผ่านแฟรนไชส์ทั้งที่มาเลเซีย เวียดนาม และออสเตรเลีย ด้วย
กลุ่มบริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส (IVL) ได้ลงนามกับบริษัท Aurelius Ag เพื่อซื้อหุ้นทั้งหมด100% ของบริษัท เวลแมน อินเตอร์เนชั่นแนล ในยุโรป ซึ่งเป็นบริษัทรีไซเคิลชั้นนำของยุโรป มูลค่าลงทุนไม่สามารถเปิดเผยได้
คาดว่าการซื้อขายกิจการจะเสร็จสิ้นภายในปีนี้ผลจากการซื้อ เวลแมน ช่วยให้กลุ่ม IVL เข้าถึงการผสมรีไซเคิลเพต (PET) กับของเสียจาก
อุตสาหกรรมอื่นๆ ส่งผลให้เป็นบริษัทที่ไม่มีของเสีย มีค่าการปล่อยคาร์บอนที่ต่ำ สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคในการรีไซเคิลของที่ใช้แล้วให้กลับมาใช้ใหม่ได้ และถ่ายทอดไปยังธุรกิจอื่นๆ ของกลุ่ม IVL ในทวีปเอเชีย
แบงก์-บล.รวมกิจการในที่สุดบริษัท ทุนภัทร (PHATRA) ซึ่งขึ้นชื่อว่ามีจุดแข็งและมีความพร้อมมากที่สุดในการรับมือกับการแข่งขัน การเปิดเสรีธุรกิจหลักทรัพย์ที่กำลังจะเกิดขึ้นในปี 2555 ก็ตัดสินใจลุกขึ้นมาควบรวมกิจการกับธนาคารเกียรตินาคิน (KK) ดีลนี้มีมูลค่าณ ราคาตลาดเมื่อวันที่ 9 ธ.ค. 2554 ถึง 7,300 ล้านบาท
การควบรวมครั้งนี้ถือว่าเป็นการร่วมกิจการในเชิงยุทธศาสตร์ของธุรกิจ เพราะประเทศไทยจะต้องเปิดเสรีทางการเงินและการลงทุน ซึ่งจะเอื้ออำนวยให้สถาบันการเงินที่มีความพร้อม มีความเชี่ยวชาญในการทำธุรกิจ มีศักยภาพและสามารถขยายตัวได้ทวีคูณ ได้ประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจที่เสรีเต็มรูปแบบ
ความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจโลกและการเปิดเสรีมากขึ้น ทำให้ธุรกิจเหล่านี้ต้องปรับตัวเพื่อความอยู่รอดของตัวเอง....
--จบ--
ที่มา: หนังสือพิมพ์โพสต์ทูเดย์
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 16
เทรนด์ควบกิจการแรงปี 55 บล.เจอด่านแรกรับเปิดเสรีค่าคอมฯวัดขีดแข่งขัน
Source - กรุงเทพธุรกิจ (Th), Wednesday, January 04, 2012
บริษัทขนาดใหญ่ ทั้งพลังงาน-ปูนซีเมนต์ มองโอกาสซื้อกิจการทั้งในและต่างประเทศไม่หยุดรับมือเปิดเสรีอาเซียน
นับถอยหลังการเปิดเสรีอาเซียน เพิ่มแรงกดดันภาคธุรกิจไทยปรับตัวเพื่อรองรับการแข่งขัน ทุกอุตสาหกรรมต่างก็หาช่องทางอยู่รอด ไม่ว่าจะเป็นการหาพันธมิตรข้ามชาติเพื่อร่วมมือทางธุรกิจ การควบรวมกิจการ การเทคโอเวอร์ ขึ้นอยู่กับความพร้อมของแต่ละบริษัทว่าจะเลือกรูปแบบแบบใด
แม้กระทั่งยักษ์ใหญ่พลังงานอย่างบริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม หรือ ปตท.สผ. ก็ยังไม่ปิดโอกาสที่จะเพิ่มขนาดธุรกิจเพื่อเพิ่มขีดการแข่งขันนายอนนต์ สิริแสงทักษิณ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ปตท.สผ. บอกว่า บริษัทยังมองหาโอกาสการลงทุนทั้งในรูปแบบการเทคโอเวอร์ และการควบรวมกิจการในกลุ่มพลังงานด้วยกัน เพราะประเมินว่าหลังจากเปิดเสรีในปี 2558 ภาพการแข่งขันในธุรกิจพลังงานจะเปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง โดยเฉพาะเรื่องของการกำหนดราคาผลิตภัณฑ์ด้านพลังงานก็จะเป็นไปตามกลไกตลาด ไม่เว้นแม้แต่ราคาเอ็นจีวี หรือแอลพีจี
ผู้ประกอบการในกลุ่มพลังงานไม่ว่าจะเป็นขนาดเล็กขนาดใหญ่ก็ต้องปรับตัว แม้ ปตท.สผ. จะเป็นหนึ่งในผู้นำธุรกิจพลังงานในภูมิภาคเอเชีย แต่ก็ไม่ได้หยุดการลงทุน ทุกครั้งที่มีโอกาสเราก็พร้อมที่จะลงทุน หรือซื้อกิจการธุรกิจพลังงานในภูมิภาค นอกเหนือจากการลงทุนในแหล่งปิโตรเลียมใหม่ๆ เพราะด้วยศักยภาพของบริษัทมั่นใจว่าจะแข่งขันได้ และการไหลเข้ามาของทุนต่างชาติน่าจะส่งผลดีมากกว่า โดยเป้าหมายการลงทุนใหม่ๆ จะพุ่งเป้าไปที่ภูมิภาคและมีขนาดที่ไม่เล็กเกินไป
“จริงๆ แล้ว ธุรกิจของ ปตท.สผ.ได้เตรียมพร้อมมานาน เราขยายโอกาสลงทุนมาตลอด มีเป้าหมายให้ครอบคลุมอินโดจีนและปัจจุบันก็ถือเป็นศูนย์กลางอินโดจีนก็ว่าได้ เมื่อเทียบกับคู่แข่งในภูมิภาคเดียวกัน เราพัฒนามาไกลกว่าคู่แข่งแล้ว”
ล่าสุด ปตท.สผ.ได้จัดทำงบลงทุน 5 ปี (2555-2559) ไว้มูลค่า 1.1 หมื่นล้านดอลลาร์ หรือประมาณ 3.3 แสนล้านบาท เพื่อรองรับการลงทุน แต่ในแง่ของค่าใช้จ่ายการดำเนินงานในช่วงระยะเวลาเดียวกันสูงกว่าค่าใช้จ่ายดำเนินงานในช่วง 5 ปีก่อนหน้า โดยตั้งไว้ที่ 7 พันล้านดอลลาร์ หรือประมาณ 2.1 แสนบาท ซึ่งเป็นการสะท้อนถึงเป้าหมายการขยายลงทุนอย่างต่อเนื่อง
กลุ่ม ปตท.ถือเป็นผู้ประกอบการพลังงานยักษ์ใหญ่ของประเทศ ที่ตื่นตัวการควบรวมกิจการ ที่ผ่านมา ก็นำร่องควบรวมธุรกิจในกลุ่มก่อน และที่เพิ่งควบรวมลงตัวในปี 2554 ก็คือ บริษัท ปตท.อะโรเมติกส์และการกลั่น (PTTAR) และบริษัท ปตท.เคมิคอล (PTTCH) รวมกันเป็นหนึ่งเดียวภายใต้ชื่อบริษัท พีทีทีโกลบอล เคมิคอล (PTTGC)
ไม่เพียงแต่กลุ่มพลังงานเท่านั้นกลุ่มปูนซิเมนต์ไทยก็ยังคงมองโอกาสการลงทุนในต่างประเทศตลอดเวลา รวมถึงบริษัทไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่นฟูดส์ (ทียูเอฟ) ก็เช่นกัน
โบรกเกอร์เจอด่านแรกเปิดเสรีค่าคอมปีหน้า
ธุรกิจโบรกเกอร์ เป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่อยู่ในข่ายต้องเร่งปรับตัว เพราะก่อนที่จะเปิดเสรีเต็มรูปแบบในปี 2558 โจทย์ใหญ่ด่านแรกที่โบรกเกอร์ต้องเจอ ก็คือ การเปิดเสรีค่าคอมมิชชั่นในปีหน้า ซึ่งในช่วงที่ผ่านมา จะเห็นภาพการควบรวมของธุรกิจหลักทรัพย์อย่างต่อเนื่อง ล่าสุดบริษัททุนภัทร และธนาคารเกียรตินาคิน เพื่อเสริมความแกร่งรับมือกับการแข่งขัน และเชื่อว่าดีลนี้คงไม่ใช่ดีลสุดท้ายที่จะได้เห็น เพราะการเปิดเสรีค่าคอมฯ ในปีหน้า จะเป็นตัววัดฝีมือของสถาบันการเงินได้ดีว่าใครที่จะสามารถอยู่รอดๆ ได้
ที่ผ่านมา บล.ที่มีการทำควบรวมกิจการแล้ว ประกอบด้วย บล.บัวหลวงถูกธนาคารกรุงเทพ ในฐานะบริษัทแม่เข้ามาซื้อหุ้นทั้ง 100% นอกจากนี้ บล.กิมเอ็ง (ประเทศไทย) ก็ถูกเมย์แบงก์ (MAY Bank) ของมาเลเซีย ซื้อกิจการ และเปลี่ยนชื่อเป็น บล.เมย์แบงก์ กิมเอ็ง (ประเทศไทย) .และก่อนหน้านี้ บล.ฟินันเซีย ควบรวมกับบ ล.ไซรัส เปลี่ยนชื่อเป็น บล.ฟินันเซียไซรัส
นายไพบูลย์ นลินทรางกูร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บล.ทิสโก้ ประเมินว่า แนวโน้มการควบรวมกิจการธุรกิจหลักทรัพย์ยังเกิดขึ้นต่อเนื่อง แต่คงจะไม่มากนัก เพราะที่ผ่านมา บริษัทหลักทรัพย์ได้มีการควบรวมมาตลอด คงจะเหลือเฉพาะกลุ่มที่มีมาร์เก็ตแชร์ต่ำกว่า 1% เท่านั้น อย่างไรก็ตาม ในส่วนของ บล.ทิสโก้ ก็มีพันธมิตรต่างชาติเกื้อหนุนธุรกิจอยู่แล้ว ซึ่งก็ไม่มีแผนควบรวมกิจการกับใคร
สอดคล้องกับหน่วยงานกำกับดูแลตลาดทุนอย่างนายวรพล โสคติยานุรักษ์ เลขาธิการคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ที่ยอมรับว่าในช่วงนี้มีบริษัทหลักทรัพย์หลายแห่งเข้ามาหารือกับ ก.ล.ต.เกี่ยวกับการควบรวมกิจการ หรือแม้กระทั่งการหาพันธมิตรเข้าสนับสนุนธุรกิจของบริษัทหลักทรัพย์ ซึ่งคงต้องใช้เวลาในการศึกษาข้อมูลระหว่างกัน
ก.ล.ต.ชี้ บล.ส่วนใหญ่พร้อมรับแข่งขัน
เลขาธิการ ก.ล.ต. ระบุว่า ปัจจุบันผู้ประกอบการธุรกิจหลักทรัพย์แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มแรกที่มีแบงก์พาณิชย์เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ซึ่งกลุ่มนี้ไม่น่าเป็นห่วงเพราะจะใช้เครือข่ายของธนาคารในการขยายฐานลูกค้าและเป็นช่องทางจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ กลุ่มที่สอง คือ กลุ่มที่มีต่างชาติเป็นพันธมิตร ก็ไม่น่าห่วงเช่นกัน ส่วนกลุ่มสุดท้ายกลุ่มที่เป็นสแตนอะโลน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นโบรกเกอร์ขนาดเล็กกลุ่มนี้อยู่ในข่ายที่จะมีการควบรวมกันในอนาคต แต่หากไม่ต้องการควบรวมก็จะต้องเป็นโบรกเกอร์ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เช่น ด้านวาณิชธนกิจ หรือการมีฐานลูกค้ารายย่อยเฉพาะกลุ่มของตัวเอง
อย่างไรก็ตาม การเปิดเสรีการเงินในปีหน้า และการเปิดเสรีอาเซียนปี 2558 จะเป็นแรงกดดันให้ธุรกิจหลักทรัพย์ต้องปรับตัว เพื่อสร้างศักยภาพการแข่งขัน เพราะการเปิดเสรีจะทำให้ไม่มีขีดจำกัดของการแข่งขัน ซึ่งที่ผ่านมา ผู้ประกอบการในธุรกิจหลักทรัพย์ส่วนใหญ่ก็มีการปรับตัวไว้ล่วงหน้าแล้ว
“การเปิดเสรีการเงินในปีหน้าจะเป็นด่านแรกที่พิสูจน์ความพร้อมของโบรกเกอร์ ซึ่งจากการตรวจสอบความพร้อมของโบรกเกอร์ ก็ไม่น่าห่วงเท่าไร ที่ผ่านมา ก็ควบรวม และหาพันธมิตรต่างชาติเข้ามาเสริมศักยภาพกันแล้ว” นายวรพลกล่าว
นายวรพล กล่าวว่า ก.ล.ต.ในฐานะที่เป็นหน่วยงานกำกับดูแลตลาดทุนของประเทศ พร้อมที่จะส่งเสริมการควบรวมกิจการเพื่อให้ธุรกิจเติบโต และนำพาตลาดทุนไทยเติบโตไปด้วย ไม่เฉพาะการเติบโตในประเทศเท่านั้น ก.ล.ต.ยังส่งเสริมให้บริษัทในตลาดหลักทรัพย์ออกไปควบรวมกิจการในต่างแดนมากขึ้น อาทิเช่น อินโดนีเซีย เวียดนาม มองโกเลีย ออสเตรเลีย เป็นต้น โดยเร่งแก้ไขกฎเกณฑ์ให้คล่องตัวมากขึ้น
ขณะเดียวกัน ธุรกิจบริษัทหลักทรัพย์ (บล.) ก็จะมีความไทยชำนาญจนทำให้เกิดความน่าเชื่อถือในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และหากมีดีลธุรกิจควบรวมในระดับภูมิภาค งานด้านวาณิชธนกิจจะต้องมีบริษัทหลักทรัพย์ไทย ก็จะเป็นทางเลือกหนึ่งที่บริษัทระดับภูมิภาคจะต้องใช้บริการ โดยขณะนี้ ก.ล.ต.เริ่มดำเนินการบ้างแล้ว เช่น หากจะลงทุนหรือซื้อกิจการบริษัทในเวียดนาม หรืออินโดนีเซียจะต้องเลือก บล.ในไทยที่มีความชำนาญ ฉะนั้น ก.ล.ต.ต้องส่งเสริมเพิ่มศักยภาพบริษัท มีการแก้ไขกติกาให้ง่ายขึ้น ทั้งปัญหาภาษีด้วยเพื่อให้สามารถแข่งขันได้
กลุ่มโรงพยาบาลผนึกเหลือ 2 ค่ายใหญ่
ธุรกิจโรงพยาบาลเป็นหนึ่งในธุรกิจที่มีการปรับตัวอย่างชัดเจน เพื่อตั้งรับการเปิดเสรี โดยดีลแห่งปีที่สร้างความสั่นสะเทือนให้กับวงการโรงพยาบาลเอกชนไทย ก็คือ การควบรวมกิจการของกลุ่ม รพ.กรุงเทพ และกลุ่ม รพ.พญาไท-เปาโล นายแพทย์ปราเสริฐ ปราสาททอง ประธานกรรมการและผู้ถือหุ้นใหญ่บริษัทกรุงเทพดุสิตเวชการ (BGH) ซึ่งเป็นผู้บริหารกลุ่ม รพ.กรุงเทพ บอกว่า การควบรวมกิจการกับกลุ่มโรงพยาบาลพญาไทในครั้งนี้ เนื่องมาจากมีความคิด และเป้าหมายเดียวกัน ที่จะต้องทำให้ธุรกิจ health care ของไทยสามารถแข่งขันและยืนอยู่ได้ในกลุ่มอาเซียนหลังจากที่เปิดเสรี 2015
ซึ่งประชาคมอาเซียนทั้งหมด 11 ประเทศ มีประชากร 600 ล้านคนจะไปมาหาสู่กันสะดวกมากขึ้น ดังนั้น หาก เราไม่ร่วมมือกันการแข่งขันในธุรกิจ health care จะค่อนข้างลำบาก และธุรกิจ health care ของไทยอาจจะถูกต่างประเทศซื้อกิจการไปหมด ซึ่งก็มีแนวโน้มไปในทิศทางดังกล่าว
นายวิชัย ทองแตง ประธานกรรมการกลุ่มพญาไท กล่าวว่า หลังจากการรวมกิจการ มั่นใจว่าจะทำให้ธุรกิจโรงพยาบาลของกลุ่มมีความมั่นคง และยิ่งใหญ่ได้ ซึ่งการควบรวมครั้งนี้จะทำให้ธุรกิจ health care ในภูมิภาคอาจจะต้องสั่นสะเทือน และจับตาดูเรามากขึ้น เนื่องจากทั้งกลุ่มสามารถรองรับผู้ใช้บริการได้ตั้งแต่ระดับล่าง จนถึงระดับสูง
การควบรวมดังกล่าวทำให้ภาพของธุรกิจโรงพยาบาลในเมืองไทยแบ่งเป็น 2 ค่ายใหญ่ คือ กลุ่ม รพ.กรุงเทพ ผนึกกับพญาไท และอีกกลุ่ม ก็คือ กลุ่ม รพ.บำรุงราษฎร์ที่เข้าไปถือหุ้นใน รพ.เกษมราษฎร์ ส่วนโรงพยาบาลที่อยู่อย่างโดดเดี่ยวไม่มีเครือข่ายก็คงต้องปรับตัวหรืออยู่ในระหว่างรอการควบรวมกับผู้ประกอบการที่แข็งแรงกว่า
ที่มา: หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
Source - กรุงเทพธุรกิจ (Th), Wednesday, January 04, 2012
บริษัทขนาดใหญ่ ทั้งพลังงาน-ปูนซีเมนต์ มองโอกาสซื้อกิจการทั้งในและต่างประเทศไม่หยุดรับมือเปิดเสรีอาเซียน
นับถอยหลังการเปิดเสรีอาเซียน เพิ่มแรงกดดันภาคธุรกิจไทยปรับตัวเพื่อรองรับการแข่งขัน ทุกอุตสาหกรรมต่างก็หาช่องทางอยู่รอด ไม่ว่าจะเป็นการหาพันธมิตรข้ามชาติเพื่อร่วมมือทางธุรกิจ การควบรวมกิจการ การเทคโอเวอร์ ขึ้นอยู่กับความพร้อมของแต่ละบริษัทว่าจะเลือกรูปแบบแบบใด
แม้กระทั่งยักษ์ใหญ่พลังงานอย่างบริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม หรือ ปตท.สผ. ก็ยังไม่ปิดโอกาสที่จะเพิ่มขนาดธุรกิจเพื่อเพิ่มขีดการแข่งขันนายอนนต์ สิริแสงทักษิณ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ปตท.สผ. บอกว่า บริษัทยังมองหาโอกาสการลงทุนทั้งในรูปแบบการเทคโอเวอร์ และการควบรวมกิจการในกลุ่มพลังงานด้วยกัน เพราะประเมินว่าหลังจากเปิดเสรีในปี 2558 ภาพการแข่งขันในธุรกิจพลังงานจะเปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง โดยเฉพาะเรื่องของการกำหนดราคาผลิตภัณฑ์ด้านพลังงานก็จะเป็นไปตามกลไกตลาด ไม่เว้นแม้แต่ราคาเอ็นจีวี หรือแอลพีจี
ผู้ประกอบการในกลุ่มพลังงานไม่ว่าจะเป็นขนาดเล็กขนาดใหญ่ก็ต้องปรับตัว แม้ ปตท.สผ. จะเป็นหนึ่งในผู้นำธุรกิจพลังงานในภูมิภาคเอเชีย แต่ก็ไม่ได้หยุดการลงทุน ทุกครั้งที่มีโอกาสเราก็พร้อมที่จะลงทุน หรือซื้อกิจการธุรกิจพลังงานในภูมิภาค นอกเหนือจากการลงทุนในแหล่งปิโตรเลียมใหม่ๆ เพราะด้วยศักยภาพของบริษัทมั่นใจว่าจะแข่งขันได้ และการไหลเข้ามาของทุนต่างชาติน่าจะส่งผลดีมากกว่า โดยเป้าหมายการลงทุนใหม่ๆ จะพุ่งเป้าไปที่ภูมิภาคและมีขนาดที่ไม่เล็กเกินไป
“จริงๆ แล้ว ธุรกิจของ ปตท.สผ.ได้เตรียมพร้อมมานาน เราขยายโอกาสลงทุนมาตลอด มีเป้าหมายให้ครอบคลุมอินโดจีนและปัจจุบันก็ถือเป็นศูนย์กลางอินโดจีนก็ว่าได้ เมื่อเทียบกับคู่แข่งในภูมิภาคเดียวกัน เราพัฒนามาไกลกว่าคู่แข่งแล้ว”
ล่าสุด ปตท.สผ.ได้จัดทำงบลงทุน 5 ปี (2555-2559) ไว้มูลค่า 1.1 หมื่นล้านดอลลาร์ หรือประมาณ 3.3 แสนล้านบาท เพื่อรองรับการลงทุน แต่ในแง่ของค่าใช้จ่ายการดำเนินงานในช่วงระยะเวลาเดียวกันสูงกว่าค่าใช้จ่ายดำเนินงานในช่วง 5 ปีก่อนหน้า โดยตั้งไว้ที่ 7 พันล้านดอลลาร์ หรือประมาณ 2.1 แสนบาท ซึ่งเป็นการสะท้อนถึงเป้าหมายการขยายลงทุนอย่างต่อเนื่อง
กลุ่ม ปตท.ถือเป็นผู้ประกอบการพลังงานยักษ์ใหญ่ของประเทศ ที่ตื่นตัวการควบรวมกิจการ ที่ผ่านมา ก็นำร่องควบรวมธุรกิจในกลุ่มก่อน และที่เพิ่งควบรวมลงตัวในปี 2554 ก็คือ บริษัท ปตท.อะโรเมติกส์และการกลั่น (PTTAR) และบริษัท ปตท.เคมิคอล (PTTCH) รวมกันเป็นหนึ่งเดียวภายใต้ชื่อบริษัท พีทีทีโกลบอล เคมิคอล (PTTGC)
ไม่เพียงแต่กลุ่มพลังงานเท่านั้นกลุ่มปูนซิเมนต์ไทยก็ยังคงมองโอกาสการลงทุนในต่างประเทศตลอดเวลา รวมถึงบริษัทไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่นฟูดส์ (ทียูเอฟ) ก็เช่นกัน
โบรกเกอร์เจอด่านแรกเปิดเสรีค่าคอมปีหน้า
ธุรกิจโบรกเกอร์ เป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่อยู่ในข่ายต้องเร่งปรับตัว เพราะก่อนที่จะเปิดเสรีเต็มรูปแบบในปี 2558 โจทย์ใหญ่ด่านแรกที่โบรกเกอร์ต้องเจอ ก็คือ การเปิดเสรีค่าคอมมิชชั่นในปีหน้า ซึ่งในช่วงที่ผ่านมา จะเห็นภาพการควบรวมของธุรกิจหลักทรัพย์อย่างต่อเนื่อง ล่าสุดบริษัททุนภัทร และธนาคารเกียรตินาคิน เพื่อเสริมความแกร่งรับมือกับการแข่งขัน และเชื่อว่าดีลนี้คงไม่ใช่ดีลสุดท้ายที่จะได้เห็น เพราะการเปิดเสรีค่าคอมฯ ในปีหน้า จะเป็นตัววัดฝีมือของสถาบันการเงินได้ดีว่าใครที่จะสามารถอยู่รอดๆ ได้
ที่ผ่านมา บล.ที่มีการทำควบรวมกิจการแล้ว ประกอบด้วย บล.บัวหลวงถูกธนาคารกรุงเทพ ในฐานะบริษัทแม่เข้ามาซื้อหุ้นทั้ง 100% นอกจากนี้ บล.กิมเอ็ง (ประเทศไทย) ก็ถูกเมย์แบงก์ (MAY Bank) ของมาเลเซีย ซื้อกิจการ และเปลี่ยนชื่อเป็น บล.เมย์แบงก์ กิมเอ็ง (ประเทศไทย) .และก่อนหน้านี้ บล.ฟินันเซีย ควบรวมกับบ ล.ไซรัส เปลี่ยนชื่อเป็น บล.ฟินันเซียไซรัส
นายไพบูลย์ นลินทรางกูร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บล.ทิสโก้ ประเมินว่า แนวโน้มการควบรวมกิจการธุรกิจหลักทรัพย์ยังเกิดขึ้นต่อเนื่อง แต่คงจะไม่มากนัก เพราะที่ผ่านมา บริษัทหลักทรัพย์ได้มีการควบรวมมาตลอด คงจะเหลือเฉพาะกลุ่มที่มีมาร์เก็ตแชร์ต่ำกว่า 1% เท่านั้น อย่างไรก็ตาม ในส่วนของ บล.ทิสโก้ ก็มีพันธมิตรต่างชาติเกื้อหนุนธุรกิจอยู่แล้ว ซึ่งก็ไม่มีแผนควบรวมกิจการกับใคร
สอดคล้องกับหน่วยงานกำกับดูแลตลาดทุนอย่างนายวรพล โสคติยานุรักษ์ เลขาธิการคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ที่ยอมรับว่าในช่วงนี้มีบริษัทหลักทรัพย์หลายแห่งเข้ามาหารือกับ ก.ล.ต.เกี่ยวกับการควบรวมกิจการ หรือแม้กระทั่งการหาพันธมิตรเข้าสนับสนุนธุรกิจของบริษัทหลักทรัพย์ ซึ่งคงต้องใช้เวลาในการศึกษาข้อมูลระหว่างกัน
ก.ล.ต.ชี้ บล.ส่วนใหญ่พร้อมรับแข่งขัน
เลขาธิการ ก.ล.ต. ระบุว่า ปัจจุบันผู้ประกอบการธุรกิจหลักทรัพย์แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มแรกที่มีแบงก์พาณิชย์เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ซึ่งกลุ่มนี้ไม่น่าเป็นห่วงเพราะจะใช้เครือข่ายของธนาคารในการขยายฐานลูกค้าและเป็นช่องทางจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ กลุ่มที่สอง คือ กลุ่มที่มีต่างชาติเป็นพันธมิตร ก็ไม่น่าห่วงเช่นกัน ส่วนกลุ่มสุดท้ายกลุ่มที่เป็นสแตนอะโลน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นโบรกเกอร์ขนาดเล็กกลุ่มนี้อยู่ในข่ายที่จะมีการควบรวมกันในอนาคต แต่หากไม่ต้องการควบรวมก็จะต้องเป็นโบรกเกอร์ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เช่น ด้านวาณิชธนกิจ หรือการมีฐานลูกค้ารายย่อยเฉพาะกลุ่มของตัวเอง
อย่างไรก็ตาม การเปิดเสรีการเงินในปีหน้า และการเปิดเสรีอาเซียนปี 2558 จะเป็นแรงกดดันให้ธุรกิจหลักทรัพย์ต้องปรับตัว เพื่อสร้างศักยภาพการแข่งขัน เพราะการเปิดเสรีจะทำให้ไม่มีขีดจำกัดของการแข่งขัน ซึ่งที่ผ่านมา ผู้ประกอบการในธุรกิจหลักทรัพย์ส่วนใหญ่ก็มีการปรับตัวไว้ล่วงหน้าแล้ว
“การเปิดเสรีการเงินในปีหน้าจะเป็นด่านแรกที่พิสูจน์ความพร้อมของโบรกเกอร์ ซึ่งจากการตรวจสอบความพร้อมของโบรกเกอร์ ก็ไม่น่าห่วงเท่าไร ที่ผ่านมา ก็ควบรวม และหาพันธมิตรต่างชาติเข้ามาเสริมศักยภาพกันแล้ว” นายวรพลกล่าว
นายวรพล กล่าวว่า ก.ล.ต.ในฐานะที่เป็นหน่วยงานกำกับดูแลตลาดทุนของประเทศ พร้อมที่จะส่งเสริมการควบรวมกิจการเพื่อให้ธุรกิจเติบโต และนำพาตลาดทุนไทยเติบโตไปด้วย ไม่เฉพาะการเติบโตในประเทศเท่านั้น ก.ล.ต.ยังส่งเสริมให้บริษัทในตลาดหลักทรัพย์ออกไปควบรวมกิจการในต่างแดนมากขึ้น อาทิเช่น อินโดนีเซีย เวียดนาม มองโกเลีย ออสเตรเลีย เป็นต้น โดยเร่งแก้ไขกฎเกณฑ์ให้คล่องตัวมากขึ้น
ขณะเดียวกัน ธุรกิจบริษัทหลักทรัพย์ (บล.) ก็จะมีความไทยชำนาญจนทำให้เกิดความน่าเชื่อถือในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และหากมีดีลธุรกิจควบรวมในระดับภูมิภาค งานด้านวาณิชธนกิจจะต้องมีบริษัทหลักทรัพย์ไทย ก็จะเป็นทางเลือกหนึ่งที่บริษัทระดับภูมิภาคจะต้องใช้บริการ โดยขณะนี้ ก.ล.ต.เริ่มดำเนินการบ้างแล้ว เช่น หากจะลงทุนหรือซื้อกิจการบริษัทในเวียดนาม หรืออินโดนีเซียจะต้องเลือก บล.ในไทยที่มีความชำนาญ ฉะนั้น ก.ล.ต.ต้องส่งเสริมเพิ่มศักยภาพบริษัท มีการแก้ไขกติกาให้ง่ายขึ้น ทั้งปัญหาภาษีด้วยเพื่อให้สามารถแข่งขันได้
กลุ่มโรงพยาบาลผนึกเหลือ 2 ค่ายใหญ่
ธุรกิจโรงพยาบาลเป็นหนึ่งในธุรกิจที่มีการปรับตัวอย่างชัดเจน เพื่อตั้งรับการเปิดเสรี โดยดีลแห่งปีที่สร้างความสั่นสะเทือนให้กับวงการโรงพยาบาลเอกชนไทย ก็คือ การควบรวมกิจการของกลุ่ม รพ.กรุงเทพ และกลุ่ม รพ.พญาไท-เปาโล นายแพทย์ปราเสริฐ ปราสาททอง ประธานกรรมการและผู้ถือหุ้นใหญ่บริษัทกรุงเทพดุสิตเวชการ (BGH) ซึ่งเป็นผู้บริหารกลุ่ม รพ.กรุงเทพ บอกว่า การควบรวมกิจการกับกลุ่มโรงพยาบาลพญาไทในครั้งนี้ เนื่องมาจากมีความคิด และเป้าหมายเดียวกัน ที่จะต้องทำให้ธุรกิจ health care ของไทยสามารถแข่งขันและยืนอยู่ได้ในกลุ่มอาเซียนหลังจากที่เปิดเสรี 2015
ซึ่งประชาคมอาเซียนทั้งหมด 11 ประเทศ มีประชากร 600 ล้านคนจะไปมาหาสู่กันสะดวกมากขึ้น ดังนั้น หาก เราไม่ร่วมมือกันการแข่งขันในธุรกิจ health care จะค่อนข้างลำบาก และธุรกิจ health care ของไทยอาจจะถูกต่างประเทศซื้อกิจการไปหมด ซึ่งก็มีแนวโน้มไปในทิศทางดังกล่าว
นายวิชัย ทองแตง ประธานกรรมการกลุ่มพญาไท กล่าวว่า หลังจากการรวมกิจการ มั่นใจว่าจะทำให้ธุรกิจโรงพยาบาลของกลุ่มมีความมั่นคง และยิ่งใหญ่ได้ ซึ่งการควบรวมครั้งนี้จะทำให้ธุรกิจ health care ในภูมิภาคอาจจะต้องสั่นสะเทือน และจับตาดูเรามากขึ้น เนื่องจากทั้งกลุ่มสามารถรองรับผู้ใช้บริการได้ตั้งแต่ระดับล่าง จนถึงระดับสูง
การควบรวมดังกล่าวทำให้ภาพของธุรกิจโรงพยาบาลในเมืองไทยแบ่งเป็น 2 ค่ายใหญ่ คือ กลุ่ม รพ.กรุงเทพ ผนึกกับพญาไท และอีกกลุ่ม ก็คือ กลุ่ม รพ.บำรุงราษฎร์ที่เข้าไปถือหุ้นใน รพ.เกษมราษฎร์ ส่วนโรงพยาบาลที่อยู่อย่างโดดเดี่ยวไม่มีเครือข่ายก็คงต้องปรับตัวหรืออยู่ในระหว่างรอการควบรวมกับผู้ประกอบการที่แข็งแรงกว่า
ที่มา: หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 17
วิน วิริยประไพกิจ "ผ่าทางตัน" ซื้อโรงถลุงเหล็ก Corus ขึ้นแท่นผู้ผลิตเหล็กครบวงจร
สัมภาษณ์, วันที่ 02 กันยายน พ.ศ. 2553 ปีที่ 34 ฉบับที่ 4241 ประชาชาติธุรกิจ
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาได้เกิด "ข่าวใหญ่" ขึ้นในอุตสาหกรรม เหล็กโลก เมื่อบริษัท สหวิริยาสตีล อินดัสตรี จำกัด (มหาชน) หรือ SSI ผู้ผลิตเหล็กแผ่นรีดร้อนรายใหญ่ที่สุด ของประเทศ ได้ประกาศลงนาม MOU กับ Corus UK Limited หรือ Corus ซึ่งเป็นบริษัทในกลุ่ม Tata Steel Group เพื่อแสดงเจตนารมณ์ที่จะซื้อโรงงานถลุงเหล็ก Teesside Cast Products (TCP) ในประเทศอังกฤษ ในมูลค่าเบื้องต้น 500 ล้านเหรียญสหรัฐ
จากในอดีตที่ SSI พยายามที่จะก่อสร้างโรงงานถลุงเหล็กในประเทศไทยที่ อ.บางสะพาน จ.ประจวบคีรีขันธ์ แต่เกิดปัญหากับโครงการในประเทศอย่างน้อย 3 ประการคือ เงินลงทุน-การต่อต้านของมวลชน และความไม่ชัดเจนของกฎระเบียบ ทำให้โรงถลุงเหล็กของ SSI ไม่สามารถ เกิดขึ้นในเมืองไทยได้ ล่าสุด นายวิน วิริยประไพกิจ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท สหวิริยาสตีล อินดัสตรี จำกัด (มหาชน) ได้เปิดแถลงข่าวอย่างเป็นทางการถึงการเตรียมที่จะซื้อโรงถลุงเหล็ก Teesside Cast Products (TCP)
- การเจรจาซื้อโรงถลุงเหล็ก TCP
จากเดิมเราเป็นลูกค้าที่ซื้อเหล็กแผ่น ทรงแบน (slab) ของโรงงานดังกล่าว อยู่แล้ว แต่เมื่อโรงงาน Teesside Cast ปิดส่วนการผลิต slab ไปช่วงปลายปี ที่ผ่านมา เราจึงเริ่มเจรจาในการเข้าไปซื้อโรงงานอย่างจริงจังช่วงเดือนเมษายน 2553 จากที่ได้มีการดูและเจรจาหารือไว้หลายที่ แต่ที่ TCP ถือว่าโลเกชั่นดีมาก เป็นโรงงานถลุงเหล็กติดทะเล มีท่าเรือน้ำลึกรองรับ อยู่แล้ว เมื่อเทียบกับที่อื่นมีศักยภาพในลักษณะนี้ เราจึงตัดสินใจซื้อ ซึ่งเป็นการมอง "ผ่าทางตัน" ให้ SSI เติบโตต่อไป
เนื่องจาก SSI มียุทธศาสตร์หลัก ในการเชื่อมโยงอุตสาหกรรมต้นน้ำไปถึงปลายน้ำ และเชื่อว่าทรัพย์สินปลายน้ำที่มีอยู่ในปัจจุบันอยู่ในระดับโลก (world class) แล้ว ก็สามารถเชื่อมโยงในส่วนของต้นน้ำให้มีความแข็งแกร่งมากขึ้น ก้าวเป็น ผู้ผลิตเหล็กครบวงจร รายใหญ่สุดในอาเซียน ตอบสนองตลาดและบริการ สามารถผลิตป้อนสินค้าเหล็กให้กับประเทศได้อย่างมั่นคง และมีความมั่นคงในเชิง รายได้และผลกำไร
- MOU กับ Corus UK
การลงนามในครั้งนี้ SSI ได้ตกลงกับผู้ขายในการซื้อสินค้าการผลิตเหล็กต้นน้ำ ซื้อวัตถุดิบ สินค้าคงเหลือ ที่ดิน 2,000 ไร่ และทรัพย์สินหมุนเวียนอื่น ๆ เป็นการตกลงเบื้องต้น ยังมีงานที่ต้องทำอีกหลายส่วนเพื่อให้บรรลุความสำเร็จ เช่น การทำสัญญาร่วมทุนกิจการท่าเรือน้ำลึก ที่เขาขายมาให้ 50%, สัญญาบริการของสาธารณูปโภคบางรายการที่จะต้องใช้ ซึ่งกันและกัน
อีกส่วนหนึ่งที่ต้องทำก็คือ การหารือกับผู้สนับสนุน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ เช่น สหภาพแรงงาน, พนักงาน, ผู้ค้า, รัฐบาลท้องถิ่น/รัฐบาลกลาง, หน่วยงานอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อม, การลงทุนที่จะต้องโอนใบอนุญาตมาให้กับ SSI แต่หลังจากที่ได้มีการประกาศดีลครั้งนี้ ออกไปก็มีส่วนขานรับมากมายให้การสนับสนุนเรา
เนื่องจากโรงงานนี้มีประวัติการผลิต มาอย่างยาวนานหลายปี แต่มีกำลังการผลิตส่วนเกินในส่วน slab อยู่ ทำให้บริษัทเกิดภาวะการขาดทุน ผู้ขายจึงตัดสินใจประกาศปิดส่วนการผลิตสแลบลงเมื่อเดือนธันวาคมปีที่แล้ว แต่ทั้งพนักงาน รัฐบาล และมวลชน ก็ไม่อยากให้ปิด อยากให้มีการผลิตต่อไป ทำให้เกิดการขานรับโครงการดี ซึ่งความตั้งใจส่วนของ SSI และผู้ขายในการเจรจาให้จบภายในปีนี้ ซึ่งการซื้อครั้งนี้ SSI ตกลงซื้อในส่วนของทรัพย์ แต่จะไม่รับภาระในส่วนของหนี้สินที่ผู้ขายมีอยู่
- แผนการผลิตของโรงถลุงเหล็ก TCP
แม้จะมีการหยุดผลิตในส่วนของ slab แต่โรงงานยังมีรายได้จากการผลิตถ่านโค้ก ไฟฟ้าจากก๊าซที่ได้จากกระบวนการผลิตถ่านโค้ก การให้บริการท่าเรืออยู่ ในส่วนของโรงผลิต slab ที่ปิดไป เขามีการดูแลอย่างดีได้มาตรฐาน ปัจจุบันมีคนงาน 700 คน โดยกว่า 300 คนยังคงทำงานในส่วน ที่มีการผลิต ส่วนอีกกว่า 300 คนเป็นวิศวกรที่อยู่ในส่วนของโรงงานถลุงเหล็ก ยังไม่ได้ไปไหน แม้จะมีการหยุดผลิต
ดังนั้นหากดีลนี้จบ ก็สามารถเดินหน้าการผลิตได้เลย โดยในช่วงแรกคงจะเริ่ม ในกำลังการผลิต 3.2 ล้านตัน ซึ่งกำลังการผลิต slab ส่วนนี้สามารถป้อนให้กับ SSI ที่ผลิตเหล็กแผ่นรีดร้อนในประเทศไทยได้ทั้งหมด ทำให้ SSI สามารถบริหารต้นทุนวัตถุดิบได้มากขึ้น จากเดิมที่เราต้องนำเข้า slab จากประเทศต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นยูเครน-รัสเซีย-อังกฤษอยู่แล้ว ในส่วน ค่าเฟสจึงไม่เสียเปรียบมาก แต่เราจะได้เปรียบในเรื่องของต้นทุนวัตถุดิบที่ผลิตเองได้ มีกำไรจากยอดขายเพิ่มขึ้น ซึ่งขณะนี้ ยังประเมินชัดเจนไม่ได้ว่าเพิ่มขึ้นเท่าใด
- แหล่งเงินทุนที่จะมาซื้อ TCP
แหล่งเงินทุนคงออกมา 2 รูปแบบคือ การเพิ่มทุน กับการกู้เงิน ซึ่งขณะนี้ก็กำลังหารือกับสถาบันการเงินทั้งในและต่างประเทศอยู่ โดยมีที่ปรึกษาการเงิน 2 รายคือ ธนาคารไทยพาณิชย์ และรอยัลแบงก์ออฟสกอตแลนด์
- โครงการถลุงเหล็กที่บางสะพาน
ก็ยังไม่ทิ้ง แต่ยอมรับว่าที่ผ่านมาทั้งเรื่องของมวลชนและความชัดเจน ในเรื่องของกฎระเบียบในประเทศไทย เป็นอุปสรรคต่อการลงทุนโครงการดังกล่าว แต่ถ้าหากกฎระเบียบมีความชัดเจนแล้ว เราก็คงจะกลับมามองที่เมืองไทยเหมือนเดิม ส่วนการเจรจาเรื่องเหมืองแร่เหล็กที่ออสเตรเลียก็สามารถจะขยับไปใช้ในส่วนของโรงงาน TCP ได้ ส่วนเครื่องจักรในการถลุงเหล็กที่เดิมตกลงซื้อขายกับประเทศจีนก็ยกเลิกไป โดยไม่ต้องเสียค่าปรับ
- เป้าหมายการดำเนินการของ SSI
ในปีนี้บริษัทตั้งเป้ารายได้จากการจำหน่ายเหล็กแผ่นรีดร้อนประมาณ 50,000 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาที่มี รายได้ 33,000 ล้านบาท สาเหตุของ รายได้ที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากการปริมาณจำหน่ายเพิ่มขึ้นจาก 1.8 ล้านตันเป็น 2.7 ล้านตัน ประกอบกับราคาเพิ่มขึ้นเล็กน้อย หลังจากนี้ภายในอีก 3 ปีบริษัทตั้งเป้า จะเพิ่มกำลังการผลิตเป็น 3 ล้านตัน
ส่วนราคาเหล็กขณะนี้ได้ผ่านพ้นช่วงราคาต่ำสุดมาแล้ว เหล็กรีดร้อนชนิดม้วนปรับเพิ่มขึ้นมาอยู่ 700 เหรียญสหรัฐ/ตัน จากต่ำสุดที่ 650 เหรียญสหรัฐ จากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจของสหภาพยุโรปและกรีซ ดีขึ้น ส่วนจีนก็มีการควบคุมภาวะฟองสบู่ จึงเป็นสาเหตุให้ราคาเหล็กปรับเพิ่มขึ้น
*** ข่าวเก่า แต่ผมใส่เพื่อกันลืม Case นี้อ่ะนะครับ
สัมภาษณ์, วันที่ 02 กันยายน พ.ศ. 2553 ปีที่ 34 ฉบับที่ 4241 ประชาชาติธุรกิจ
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาได้เกิด "ข่าวใหญ่" ขึ้นในอุตสาหกรรม เหล็กโลก เมื่อบริษัท สหวิริยาสตีล อินดัสตรี จำกัด (มหาชน) หรือ SSI ผู้ผลิตเหล็กแผ่นรีดร้อนรายใหญ่ที่สุด ของประเทศ ได้ประกาศลงนาม MOU กับ Corus UK Limited หรือ Corus ซึ่งเป็นบริษัทในกลุ่ม Tata Steel Group เพื่อแสดงเจตนารมณ์ที่จะซื้อโรงงานถลุงเหล็ก Teesside Cast Products (TCP) ในประเทศอังกฤษ ในมูลค่าเบื้องต้น 500 ล้านเหรียญสหรัฐ
จากในอดีตที่ SSI พยายามที่จะก่อสร้างโรงงานถลุงเหล็กในประเทศไทยที่ อ.บางสะพาน จ.ประจวบคีรีขันธ์ แต่เกิดปัญหากับโครงการในประเทศอย่างน้อย 3 ประการคือ เงินลงทุน-การต่อต้านของมวลชน และความไม่ชัดเจนของกฎระเบียบ ทำให้โรงถลุงเหล็กของ SSI ไม่สามารถ เกิดขึ้นในเมืองไทยได้ ล่าสุด นายวิน วิริยประไพกิจ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท สหวิริยาสตีล อินดัสตรี จำกัด (มหาชน) ได้เปิดแถลงข่าวอย่างเป็นทางการถึงการเตรียมที่จะซื้อโรงถลุงเหล็ก Teesside Cast Products (TCP)
- การเจรจาซื้อโรงถลุงเหล็ก TCP
จากเดิมเราเป็นลูกค้าที่ซื้อเหล็กแผ่น ทรงแบน (slab) ของโรงงานดังกล่าว อยู่แล้ว แต่เมื่อโรงงาน Teesside Cast ปิดส่วนการผลิต slab ไปช่วงปลายปี ที่ผ่านมา เราจึงเริ่มเจรจาในการเข้าไปซื้อโรงงานอย่างจริงจังช่วงเดือนเมษายน 2553 จากที่ได้มีการดูและเจรจาหารือไว้หลายที่ แต่ที่ TCP ถือว่าโลเกชั่นดีมาก เป็นโรงงานถลุงเหล็กติดทะเล มีท่าเรือน้ำลึกรองรับ อยู่แล้ว เมื่อเทียบกับที่อื่นมีศักยภาพในลักษณะนี้ เราจึงตัดสินใจซื้อ ซึ่งเป็นการมอง "ผ่าทางตัน" ให้ SSI เติบโตต่อไป
เนื่องจาก SSI มียุทธศาสตร์หลัก ในการเชื่อมโยงอุตสาหกรรมต้นน้ำไปถึงปลายน้ำ และเชื่อว่าทรัพย์สินปลายน้ำที่มีอยู่ในปัจจุบันอยู่ในระดับโลก (world class) แล้ว ก็สามารถเชื่อมโยงในส่วนของต้นน้ำให้มีความแข็งแกร่งมากขึ้น ก้าวเป็น ผู้ผลิตเหล็กครบวงจร รายใหญ่สุดในอาเซียน ตอบสนองตลาดและบริการ สามารถผลิตป้อนสินค้าเหล็กให้กับประเทศได้อย่างมั่นคง และมีความมั่นคงในเชิง รายได้และผลกำไร
- MOU กับ Corus UK
การลงนามในครั้งนี้ SSI ได้ตกลงกับผู้ขายในการซื้อสินค้าการผลิตเหล็กต้นน้ำ ซื้อวัตถุดิบ สินค้าคงเหลือ ที่ดิน 2,000 ไร่ และทรัพย์สินหมุนเวียนอื่น ๆ เป็นการตกลงเบื้องต้น ยังมีงานที่ต้องทำอีกหลายส่วนเพื่อให้บรรลุความสำเร็จ เช่น การทำสัญญาร่วมทุนกิจการท่าเรือน้ำลึก ที่เขาขายมาให้ 50%, สัญญาบริการของสาธารณูปโภคบางรายการที่จะต้องใช้ ซึ่งกันและกัน
อีกส่วนหนึ่งที่ต้องทำก็คือ การหารือกับผู้สนับสนุน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่าง ๆ เช่น สหภาพแรงงาน, พนักงาน, ผู้ค้า, รัฐบาลท้องถิ่น/รัฐบาลกลาง, หน่วยงานอนุญาตด้านสิ่งแวดล้อม, การลงทุนที่จะต้องโอนใบอนุญาตมาให้กับ SSI แต่หลังจากที่ได้มีการประกาศดีลครั้งนี้ ออกไปก็มีส่วนขานรับมากมายให้การสนับสนุนเรา
เนื่องจากโรงงานนี้มีประวัติการผลิต มาอย่างยาวนานหลายปี แต่มีกำลังการผลิตส่วนเกินในส่วน slab อยู่ ทำให้บริษัทเกิดภาวะการขาดทุน ผู้ขายจึงตัดสินใจประกาศปิดส่วนการผลิตสแลบลงเมื่อเดือนธันวาคมปีที่แล้ว แต่ทั้งพนักงาน รัฐบาล และมวลชน ก็ไม่อยากให้ปิด อยากให้มีการผลิตต่อไป ทำให้เกิดการขานรับโครงการดี ซึ่งความตั้งใจส่วนของ SSI และผู้ขายในการเจรจาให้จบภายในปีนี้ ซึ่งการซื้อครั้งนี้ SSI ตกลงซื้อในส่วนของทรัพย์ แต่จะไม่รับภาระในส่วนของหนี้สินที่ผู้ขายมีอยู่
- แผนการผลิตของโรงถลุงเหล็ก TCP
แม้จะมีการหยุดผลิตในส่วนของ slab แต่โรงงานยังมีรายได้จากการผลิตถ่านโค้ก ไฟฟ้าจากก๊าซที่ได้จากกระบวนการผลิตถ่านโค้ก การให้บริการท่าเรืออยู่ ในส่วนของโรงผลิต slab ที่ปิดไป เขามีการดูแลอย่างดีได้มาตรฐาน ปัจจุบันมีคนงาน 700 คน โดยกว่า 300 คนยังคงทำงานในส่วน ที่มีการผลิต ส่วนอีกกว่า 300 คนเป็นวิศวกรที่อยู่ในส่วนของโรงงานถลุงเหล็ก ยังไม่ได้ไปไหน แม้จะมีการหยุดผลิต
ดังนั้นหากดีลนี้จบ ก็สามารถเดินหน้าการผลิตได้เลย โดยในช่วงแรกคงจะเริ่ม ในกำลังการผลิต 3.2 ล้านตัน ซึ่งกำลังการผลิต slab ส่วนนี้สามารถป้อนให้กับ SSI ที่ผลิตเหล็กแผ่นรีดร้อนในประเทศไทยได้ทั้งหมด ทำให้ SSI สามารถบริหารต้นทุนวัตถุดิบได้มากขึ้น จากเดิมที่เราต้องนำเข้า slab จากประเทศต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นยูเครน-รัสเซีย-อังกฤษอยู่แล้ว ในส่วน ค่าเฟสจึงไม่เสียเปรียบมาก แต่เราจะได้เปรียบในเรื่องของต้นทุนวัตถุดิบที่ผลิตเองได้ มีกำไรจากยอดขายเพิ่มขึ้น ซึ่งขณะนี้ ยังประเมินชัดเจนไม่ได้ว่าเพิ่มขึ้นเท่าใด
- แหล่งเงินทุนที่จะมาซื้อ TCP
แหล่งเงินทุนคงออกมา 2 รูปแบบคือ การเพิ่มทุน กับการกู้เงิน ซึ่งขณะนี้ก็กำลังหารือกับสถาบันการเงินทั้งในและต่างประเทศอยู่ โดยมีที่ปรึกษาการเงิน 2 รายคือ ธนาคารไทยพาณิชย์ และรอยัลแบงก์ออฟสกอตแลนด์
- โครงการถลุงเหล็กที่บางสะพาน
ก็ยังไม่ทิ้ง แต่ยอมรับว่าที่ผ่านมาทั้งเรื่องของมวลชนและความชัดเจน ในเรื่องของกฎระเบียบในประเทศไทย เป็นอุปสรรคต่อการลงทุนโครงการดังกล่าว แต่ถ้าหากกฎระเบียบมีความชัดเจนแล้ว เราก็คงจะกลับมามองที่เมืองไทยเหมือนเดิม ส่วนการเจรจาเรื่องเหมืองแร่เหล็กที่ออสเตรเลียก็สามารถจะขยับไปใช้ในส่วนของโรงงาน TCP ได้ ส่วนเครื่องจักรในการถลุงเหล็กที่เดิมตกลงซื้อขายกับประเทศจีนก็ยกเลิกไป โดยไม่ต้องเสียค่าปรับ
- เป้าหมายการดำเนินการของ SSI
ในปีนี้บริษัทตั้งเป้ารายได้จากการจำหน่ายเหล็กแผ่นรีดร้อนประมาณ 50,000 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาที่มี รายได้ 33,000 ล้านบาท สาเหตุของ รายได้ที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากการปริมาณจำหน่ายเพิ่มขึ้นจาก 1.8 ล้านตันเป็น 2.7 ล้านตัน ประกอบกับราคาเพิ่มขึ้นเล็กน้อย หลังจากนี้ภายในอีก 3 ปีบริษัทตั้งเป้า จะเพิ่มกำลังการผลิตเป็น 3 ล้านตัน
ส่วนราคาเหล็กขณะนี้ได้ผ่านพ้นช่วงราคาต่ำสุดมาแล้ว เหล็กรีดร้อนชนิดม้วนปรับเพิ่มขึ้นมาอยู่ 700 เหรียญสหรัฐ/ตัน จากต่ำสุดที่ 650 เหรียญสหรัฐ จากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจของสหภาพยุโรปและกรีซ ดีขึ้น ส่วนจีนก็มีการควบคุมภาวะฟองสบู่ จึงเป็นสาเหตุให้ราคาเหล็กปรับเพิ่มขึ้น
*** ข่าวเก่า แต่ผมใส่เพื่อกันลืม Case นี้อ่ะนะครับ
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 18
ไมเนอร์ฯทุ่ม1.2หมื่นล้านลุยซื้อกิจการ [ โพสต์ทูเดย์, 13 ม.ค. 55 ]
ไมเนอร์ฯ เตรียมงบซื้อกิจการภายใน 5 ปี 1.2 หมื่นล้านบาท เน้นธุรกิจอาหาร-โรงแรมต่าง
ประเทศ พร้อมตั้งเป้ารายได้โตปีละ 20%
แหล่งข่าวจากบริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล (MINT) เปิดเผยว่า บริษัทตั้งงบลงทุนสำหรับการ
ซื้อกิจการใหม่หรือการร่วมทุนภายใน 5 ปี (2555-2559) ไว้ที่ 1.1-1.2 หมื่นล้านบาท โดยจะเน้นไปที่
กลุ่มอาหารและโรงแรมเป็นหลัก เนื่องจากเป็นธุรกิจที่มีความชำนาญและมีศักยภาพสูง
======================================================
CENเล็งซื้อเหมืองถ่านหินเป้าต่อยอดทำธุรกิจโรงไฟฟ้าคาด 2เดือนสรุปเซ็นเอ็มโอยู [ โพสต์ทูเดย์, 13 ม.ค. 55 ]
"CEN" เล็งซื้อเหมืองถ่านหิน 12 ล้านตัน หวังต่อยอดธุรกิจโรงไฟฟ้า ปลุกหุ้นวิ่ง
แหล่งข่าวจากผู้ประกอบการเหมืองถ่านหิน เปิดเผยว่า บริษัท แคปปิทอล เอ็นจิเนียริ่ง เน็ตเวิร์ค
(CEN) มีความสนใจที่จะซื้อเหมืองถ่านหินแห่งหนึ่งในประเทศอินโดนีเซีย มีปริมาณถ่านหิน 12 ล้านตัน
ไมเนอร์ฯ เตรียมงบซื้อกิจการภายใน 5 ปี 1.2 หมื่นล้านบาท เน้นธุรกิจอาหาร-โรงแรมต่าง
ประเทศ พร้อมตั้งเป้ารายได้โตปีละ 20%
แหล่งข่าวจากบริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล (MINT) เปิดเผยว่า บริษัทตั้งงบลงทุนสำหรับการ
ซื้อกิจการใหม่หรือการร่วมทุนภายใน 5 ปี (2555-2559) ไว้ที่ 1.1-1.2 หมื่นล้านบาท โดยจะเน้นไปที่
กลุ่มอาหารและโรงแรมเป็นหลัก เนื่องจากเป็นธุรกิจที่มีความชำนาญและมีศักยภาพสูง
======================================================
CENเล็งซื้อเหมืองถ่านหินเป้าต่อยอดทำธุรกิจโรงไฟฟ้าคาด 2เดือนสรุปเซ็นเอ็มโอยู [ โพสต์ทูเดย์, 13 ม.ค. 55 ]
"CEN" เล็งซื้อเหมืองถ่านหิน 12 ล้านตัน หวังต่อยอดธุรกิจโรงไฟฟ้า ปลุกหุ้นวิ่ง
แหล่งข่าวจากผู้ประกอบการเหมืองถ่านหิน เปิดเผยว่า บริษัท แคปปิทอล เอ็นจิเนียริ่ง เน็ตเวิร์ค
(CEN) มีความสนใจที่จะซื้อเหมืองถ่านหินแห่งหนึ่งในประเทศอินโดนีเซีย มีปริมาณถ่านหิน 12 ล้านตัน
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 325
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 19
ผมมองว่าเหตุที่ธุรกรรม M&A ของไทยน้อยไประยะหนึ่ง ก็วิกฤตเศรษฐกิจปี 40 ทำให้กิจการส่วนหนึ่งเลือกใช้นโยบายอนุรักษ์นิยมสุดๆ..
ก่อนปี 40 มีการลงทุนในต่างประเทศของไทยเยอะและใหญ่ด้วย เมื่อเกิดวิกฤต ธุรกรรมส่วนหนึ่งก็รอด บางส่วนล้มหายตายจาก มีการเปลี่ยนมือ เปลี่ยนเจ้าของกิจการไป
เช่น คริสเตียนนีแอนด์นิลเซ็น ประเทศไทย กลับไปซื้อบริษัทแม่ในเยอรมัน
หรือ ดุสิตธานีลงทุนซื้อกิจการของกลุ่มโรงแรม Kempinsky
พอเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ทั้งสองบริษัทก็ติดหล่มหนี้ก้อนโต เป็นภาระตามมา..
หรือ ก่อนปี 40 ก็มีกรณีของยูนิคอร์ดซื้อกิจการของ Bumble Bee ที่อเมริกา และล้มเหลวเหมือนกัน
ที่จริงแล้วผมคิดว่าเป็นวงจรธุรกิจและช่วงอายุมากกว่า คนที่เห็นบทเรียนที่ล้มเหลวก็จะระมัดระวัง
พอคนรุ่นใหม่ขึ้นมาก็จะมีความกระตือรือล้นในการทำธุรกรรมใหม่อีก โดยกลุ่มหนึ่งประสบความสำเร็จ บางกลุ่มก็ล้มเหลว
อนึ่ง..กลุ่มที่ล้มเหลว ผมเชื่อว่าเป็นเพราะ Wrong Time / Wrong Place / Wrong Partner เสียมากกว่า ในใจจริงก็อยากให้ทุกๆ ท่านประสบความสำเร็จให้ธงไทยก้าวไกลทั่วโลก...ผมมองว่า เขาและเธอเหล่านั้นเป็นครูของชนรุ่นหลัง (ด้วยความเคารพจากใจจริงครับ)
ก่อนปี 40 มีการลงทุนในต่างประเทศของไทยเยอะและใหญ่ด้วย เมื่อเกิดวิกฤต ธุรกรรมส่วนหนึ่งก็รอด บางส่วนล้มหายตายจาก มีการเปลี่ยนมือ เปลี่ยนเจ้าของกิจการไป
เช่น คริสเตียนนีแอนด์นิลเซ็น ประเทศไทย กลับไปซื้อบริษัทแม่ในเยอรมัน
หรือ ดุสิตธานีลงทุนซื้อกิจการของกลุ่มโรงแรม Kempinsky
พอเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ทั้งสองบริษัทก็ติดหล่มหนี้ก้อนโต เป็นภาระตามมา..
หรือ ก่อนปี 40 ก็มีกรณีของยูนิคอร์ดซื้อกิจการของ Bumble Bee ที่อเมริกา และล้มเหลวเหมือนกัน
ที่จริงแล้วผมคิดว่าเป็นวงจรธุรกิจและช่วงอายุมากกว่า คนที่เห็นบทเรียนที่ล้มเหลวก็จะระมัดระวัง
พอคนรุ่นใหม่ขึ้นมาก็จะมีความกระตือรือล้นในการทำธุรกรรมใหม่อีก โดยกลุ่มหนึ่งประสบความสำเร็จ บางกลุ่มก็ล้มเหลว
อนึ่ง..กลุ่มที่ล้มเหลว ผมเชื่อว่าเป็นเพราะ Wrong Time / Wrong Place / Wrong Partner เสียมากกว่า ในใจจริงก็อยากให้ทุกๆ ท่านประสบความสำเร็จให้ธงไทยก้าวไกลทั่วโลก...ผมมองว่า เขาและเธอเหล่านั้นเป็นครูของชนรุ่นหลัง (ด้วยความเคารพจากใจจริงครับ)
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 21
ตลาดหุ้นฟิตปั๋งดันเป้ามาร็เก็ตแคป [ ไทยรัฐ, 19 ม.ค. 55 ]
นายจรัมพร โชติกเสถียร กรรมการผู้จัดการ ตลาดหลักทรัพย์ เปิดเผยว่า ตลาดหลักทรัพย์ตั้งเป้า
เพิ่มมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด (มาร์เก็ตแคป จากการเสนอขายหุ้นแก่สาธารณชนทั่วไปเป็นครั้งแรก
(IPO) ในปีนี้ให้ได้มูลค่า 120,000 ล้านบาท นอกจากนี้ จะผลักดันให้การส่งเสริมการควบรวมกิจการเป็น
วาระสำคัญของประเทศ เพราะการควบรวมกิจการจะช่วยให้บริษัทจดทะเบียนเติบโต แต่การควบรวม
กิจการยังมีอุปสรรคมาก จำเป็นต้องแก้ไขปัญหาที่ทำให้การควบรวมกิจการเกิดขึ้นได้ยากหมดไป
นายจรัมพร โชติกเสถียร กรรมการผู้จัดการ ตลาดหลักทรัพย์ เปิดเผยว่า ตลาดหลักทรัพย์ตั้งเป้า
เพิ่มมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด (มาร์เก็ตแคป จากการเสนอขายหุ้นแก่สาธารณชนทั่วไปเป็นครั้งแรก
(IPO) ในปีนี้ให้ได้มูลค่า 120,000 ล้านบาท นอกจากนี้ จะผลักดันให้การส่งเสริมการควบรวมกิจการเป็น
วาระสำคัญของประเทศ เพราะการควบรวมกิจการจะช่วยให้บริษัทจดทะเบียนเติบโต แต่การควบรวม
กิจการยังมีอุปสรรคมาก จำเป็นต้องแก้ไขปัญหาที่ทำให้การควบรวมกิจการเกิดขึ้นได้ยากหมดไป
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
- simplelife
- Verified User
- โพสต์: 756
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 23
วันก่อน เห็น link พยายามนั่งฟังอยู่เหมือนกัน เผื่อจะมีอะไรเด็ด สุดท้ายก็...pak เขียน:สมมุติว่า..."ถ้า ThaiVI ควบรวมกิจการกับ Stock2morrow" อืมมม...มันจะเป็นยังไงหว่า 555+
"I believe what I said yesterday. I don't know what I said, but I know what I think... and I assume it's what I said." -- Donald Rumsfeld
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 24
ไฟเขียวเกณฑ์ควบรวม กันรายใหญ่ฮุบรายเล็ก [ เดลินิวส์, 29 ก.พ. 55 ]
นายสันติชัย สารถวัลย์แพศย์ รองอธิบดีกรมการค้าภายใน เปิดเผยในงานสัมมนา การรวมธุรกิจ :
สร้างความเข้มแข็งหรือการผูดขาด เพื่อปรับปรุง พ.ร.บ.แข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 ว่า ขณะนี้หลาย
ประเทศให้ความสำคัญกับการออกหลักเกณฑ์และปรับปรุงเงื่อนไขของ พ.ร.บ.แข่งขันทางการค้า เพื่อใช้
ดูแลการเข้ามาลงทุนของบริษัทต่างชาติหลังประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) มีผลบังคับใช้ในปี 58
เพราะจะทำให้ประเทศในอาเซียนเข้ามาลงทุน และร่วมทุนทำธุรกิจในไทย มากขึ้น ซึ่งอาจทำให้เกิดความ
ได้เปรียบเสียเปรียบการแข่งขันทำธุรกิจ
--จบ--
นายสันติชัย สารถวัลย์แพศย์ รองอธิบดีกรมการค้าภายใน เปิดเผยในงานสัมมนา การรวมธุรกิจ :
สร้างความเข้มแข็งหรือการผูดขาด เพื่อปรับปรุง พ.ร.บ.แข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 ว่า ขณะนี้หลาย
ประเทศให้ความสำคัญกับการออกหลักเกณฑ์และปรับปรุงเงื่อนไขของ พ.ร.บ.แข่งขันทางการค้า เพื่อใช้
ดูแลการเข้ามาลงทุนของบริษัทต่างชาติหลังประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) มีผลบังคับใช้ในปี 58
เพราะจะทำให้ประเทศในอาเซียนเข้ามาลงทุน และร่วมทุนทำธุรกิจในไทย มากขึ้น ซึ่งอาจทำให้เกิดความ
ได้เปรียบเสียเปรียบการแข่งขันทำธุรกิจ
--จบ--
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 25
วันที่/เวลา 26 มี.ค. 2555 13:29:08
หัวข้อข่าว SET News : สำนักงาน ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์ฯ ร่วมผลักดันการควบรวมกิจการเป็นวาระสำคัญเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจไทย
หลักทรัพย์ SET
แหล่งข่าว SET
ฉบับที่ 34/2555
26 มีนาคม 2555
สำนักงาน ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์ฯ
ร่วมผลักดันการควบรวมกิจการเป็นวาระสำคัญเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจไทย
รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง
ระบุการควบรวมกิจการมีความสำคัญสำหรับธุรกิจทุกระดับและถือเป็นวาระสำคัญในการเสริมสร้างความสามารถในการแ
ข่งขันของประเทศ
นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กล่าวปาฐกถาพิเศษ
"การควบรวมกิจการ วาระแห่งชาติและทางรอดธุรกิจไทย" ในงานเสวนา "M&A: ปัจจัยความสำเร็จของธุรกิจไทย"
โดยเน้นถึงความสำคัญของการควบรวมกิจการ
ซึ่งเป็นกลยุทธ์ในการสร้างการเติบโตอย่างก้าวกระโดดให้แก่ภาคธุรกิจทุกระดับ
ทำให้มีบริษัทที่แข็งแกร่งและมีศักยภาพสูง สร้างความน่าสนใจแก่ผู้ลงทุนทั้งในและต่างประเทศ
ถือเป็นวาระสำคัญในการเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รัฐบาลจึงมีมติเห็นชอบ (ร่าง)
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการควบรวมกิจการในตลาดทุน เมื่อ 4 มกราคม 2555
ซึ่งปัจจุบันกฎหมายดังกล่าวอยู่ในขั้นตอนของการพิจารณาร่างกฎหมาย ทั้งนี้
การปฏิรูปกฎหมายและระบบภาษีเพื่อส่งเสริมการควบรวมกิจการจะเกิดประโยชน์สูงสุดได้
ย่อมขึ้นกับความร่วมมือของทุกภาคส่วนเป็นสำคัญ
ดร. วรพล โสคติยานุรักษ์ เลขาธิการ สำนักงาน ก.ล.ต. กล่าวในงานเสวนาว่า (ร่าง)
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการควบรวมกิจการในตลาดทุน
แสดงถึงนโยบายของภาครัฐในการสนับสนุนให้ภาคธุรกิจใช้กลไกการควบรวมกิจการเป็นเครื่องมือในการเพิ่มศักยภาพ
ทางธุรกิจ ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์ฯ
และผู้เกี่ยวข้องในตลาดทุนเห็นพ้องกันว่าควรจะเร่งผลักดันให้ร่างกฎหมายนี้ออกมาใช้บังคับโดยเร็ว
และปรับปรุงเนื้อหาบางส่วนให้มีความชัดเจน สมบูรณ์ และสอดคล้องกับการปฏิบัติมากขึ้น ก.ล.ต.
จึงได้แต่งตั้ง "คณะกรรมการขับเคลื่อนการควบรวมกิจการเพื่อพัฒนาธุรกิจและตลาดทุน"
ประกอบด้วยผู้บริหารระดับสูงจากหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องและผู้เชี่ยวชาญจากหลายสาขาวิชาชีพมาร่วมระดม
ความเห็นและเสนอแนะเกี่ยวกับร่างกฎหมายดังกล่าว โดย ก.ล.ต.
เชื่อว่าเมื่อสามารถขจัดอุปสรรคที่เกี่ยวข้องได้ ภาคธุรกิจจะมีการควบรวมกิจการกันมากขึ้น
ทำให้มีความแข็งแกร่งและสามารถแข่งขันได้ในเวทีระดับสากล
ด้านนายจรัมพร โชติกเสถียร กรรมการและผู้จัดการ ตลาดหลักทรัพย์ฯ กล่าวว่า
ปัจจุบันการที่ธุรกิจที่มีศักยภาพจะเติบโตจากการดำเนินธุรกิจปกติ ( organic growth)
เท่านั้นอาจไม่ทันต่อสถานการณ์การแข่งขันที่เข้มข้นขึ้น
การควบรวมกิจการจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับภาคธุรกิจที่จะเลือกใช้เพื่อเพิ่มมูลค่าของกิจการจากการประ
หยัดในเชิงขนาด (economy of scale) เช่น ในบางธุรกิจที่สามารถขยายช่องทางการค้าได้อย่างรวดเร็ว
ส่งผลต่อการบริหารจัดการ ทำให้บริษัทเข้มแข็ง เติบโต
ซึ่งในกรณีของบริษัทจดทะเบียนจะสะท้อนมาสู่มูลค่าตามราคาตลาด (Market Capitalization)
และสภาพคล่องโดยรวมที่เพิ่มขึ้น ตลาดหลักทรัพย์ฯ
ซึ่งเป็นองค์กรหลักในการขับเคลื่อนภาคตลาดทุนเพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้ระบบเศรษฐกิจโดยรวม
จึงพร้อมให้ความร่วมมือกับทุกภาคส่วนในการผลักดันให้การควบรวมกิจการเป็นวาระสำคัญในการเสริมสร้างความสาม
ารถในการแข่งขันของประเทศ และสร้างโอกาสให้แก่บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ รวมถึงผู้ลงทุนด้วย
การจัดงาน เสวนา "M&A : ปัจจัยความสำเร็จของธุรกิจไทย" ครั้งนี้ เพื่อนำเสนอข้อมูลแก่ทุกภาคส่วน
ทั้งภาคการเมือง ภาครัฐ ผู้บริหารบริษัทจดทะเบียน และผู้ที่เกี่ยวข้องในตลาดทุน
ให้ได้รับทราบถึงความสำคัญของการควบรวมกิจการเพื่อเพิ่มศักยภาพและสร้างโอกาสเติบโตทางธุรกิจ
จากวิทยากรผู้มากประสบการณ์ร่วมถ่ายทอดหลากหลายแง่มุมที่ครบถ้วน ทั้งในแง่มุมของบริษัทจดทะเบียน
จากคุณชนินท์ ว่องกุศลกิจ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ. บ้านปู และคุณอดิเรก ปฏิทัศน์
ประธานกรรมการบริหาร บมจ. เอ็ม เอฟ อี ซี ความคิดเห็นของที่ปรึกษาทางการเงิน โดยคุณอภินันท์
เกลียวปฏินนท์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ. ทุนภัทร และมุมมองของที่ปรึกษากฎหมาย โดยคุณกิติพงศ์
อุรพีพัฒนพงศ์ ประธานกรรมการ บจ. เบเคอร์ แอนด์ แม็คเค็นซี่
ผู้สนใจสามารถติดตาม เทปบันทึกงานเสวนาครั้งนี้ได้ที่ www.set.or.th/mna เว็บไซด์ที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ
จัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่ข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญเกี่ยวกับการควบรวมกิจการ ตลอดจนข่าวสารและกิจกรรมที่น่าสนใจ
เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในวงกว้างอย่างต่อเนื่องตลอดปี 2555 เริ่มเผยแพร่วันจันทร์ที่ 26 มีนาคม
2555 เป็นต้นไป
ที่มา : http://www.set.or.th/set/newsdetails.do ... country=TH
หัวข้อข่าว SET News : สำนักงาน ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์ฯ ร่วมผลักดันการควบรวมกิจการเป็นวาระสำคัญเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจไทย
หลักทรัพย์ SET
แหล่งข่าว SET
ฉบับที่ 34/2555
26 มีนาคม 2555
สำนักงาน ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์ฯ
ร่วมผลักดันการควบรวมกิจการเป็นวาระสำคัญเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจไทย
รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง
ระบุการควบรวมกิจการมีความสำคัญสำหรับธุรกิจทุกระดับและถือเป็นวาระสำคัญในการเสริมสร้างความสามารถในการแ
ข่งขันของประเทศ
นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กล่าวปาฐกถาพิเศษ
"การควบรวมกิจการ วาระแห่งชาติและทางรอดธุรกิจไทย" ในงานเสวนา "M&A: ปัจจัยความสำเร็จของธุรกิจไทย"
โดยเน้นถึงความสำคัญของการควบรวมกิจการ
ซึ่งเป็นกลยุทธ์ในการสร้างการเติบโตอย่างก้าวกระโดดให้แก่ภาคธุรกิจทุกระดับ
ทำให้มีบริษัทที่แข็งแกร่งและมีศักยภาพสูง สร้างความน่าสนใจแก่ผู้ลงทุนทั้งในและต่างประเทศ
ถือเป็นวาระสำคัญในการเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รัฐบาลจึงมีมติเห็นชอบ (ร่าง)
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการควบรวมกิจการในตลาดทุน เมื่อ 4 มกราคม 2555
ซึ่งปัจจุบันกฎหมายดังกล่าวอยู่ในขั้นตอนของการพิจารณาร่างกฎหมาย ทั้งนี้
การปฏิรูปกฎหมายและระบบภาษีเพื่อส่งเสริมการควบรวมกิจการจะเกิดประโยชน์สูงสุดได้
ย่อมขึ้นกับความร่วมมือของทุกภาคส่วนเป็นสำคัญ
ดร. วรพล โสคติยานุรักษ์ เลขาธิการ สำนักงาน ก.ล.ต. กล่าวในงานเสวนาว่า (ร่าง)
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการควบรวมกิจการในตลาดทุน
แสดงถึงนโยบายของภาครัฐในการสนับสนุนให้ภาคธุรกิจใช้กลไกการควบรวมกิจการเป็นเครื่องมือในการเพิ่มศักยภาพ
ทางธุรกิจ ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์ฯ
และผู้เกี่ยวข้องในตลาดทุนเห็นพ้องกันว่าควรจะเร่งผลักดันให้ร่างกฎหมายนี้ออกมาใช้บังคับโดยเร็ว
และปรับปรุงเนื้อหาบางส่วนให้มีความชัดเจน สมบูรณ์ และสอดคล้องกับการปฏิบัติมากขึ้น ก.ล.ต.
จึงได้แต่งตั้ง "คณะกรรมการขับเคลื่อนการควบรวมกิจการเพื่อพัฒนาธุรกิจและตลาดทุน"
ประกอบด้วยผู้บริหารระดับสูงจากหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องและผู้เชี่ยวชาญจากหลายสาขาวิชาชีพมาร่วมระดม
ความเห็นและเสนอแนะเกี่ยวกับร่างกฎหมายดังกล่าว โดย ก.ล.ต.
เชื่อว่าเมื่อสามารถขจัดอุปสรรคที่เกี่ยวข้องได้ ภาคธุรกิจจะมีการควบรวมกิจการกันมากขึ้น
ทำให้มีความแข็งแกร่งและสามารถแข่งขันได้ในเวทีระดับสากล
ด้านนายจรัมพร โชติกเสถียร กรรมการและผู้จัดการ ตลาดหลักทรัพย์ฯ กล่าวว่า
ปัจจุบันการที่ธุรกิจที่มีศักยภาพจะเติบโตจากการดำเนินธุรกิจปกติ ( organic growth)
เท่านั้นอาจไม่ทันต่อสถานการณ์การแข่งขันที่เข้มข้นขึ้น
การควบรวมกิจการจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับภาคธุรกิจที่จะเลือกใช้เพื่อเพิ่มมูลค่าของกิจการจากการประ
หยัดในเชิงขนาด (economy of scale) เช่น ในบางธุรกิจที่สามารถขยายช่องทางการค้าได้อย่างรวดเร็ว
ส่งผลต่อการบริหารจัดการ ทำให้บริษัทเข้มแข็ง เติบโต
ซึ่งในกรณีของบริษัทจดทะเบียนจะสะท้อนมาสู่มูลค่าตามราคาตลาด (Market Capitalization)
และสภาพคล่องโดยรวมที่เพิ่มขึ้น ตลาดหลักทรัพย์ฯ
ซึ่งเป็นองค์กรหลักในการขับเคลื่อนภาคตลาดทุนเพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้ระบบเศรษฐกิจโดยรวม
จึงพร้อมให้ความร่วมมือกับทุกภาคส่วนในการผลักดันให้การควบรวมกิจการเป็นวาระสำคัญในการเสริมสร้างความสาม
ารถในการแข่งขันของประเทศ และสร้างโอกาสให้แก่บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ รวมถึงผู้ลงทุนด้วย
การจัดงาน เสวนา "M&A : ปัจจัยความสำเร็จของธุรกิจไทย" ครั้งนี้ เพื่อนำเสนอข้อมูลแก่ทุกภาคส่วน
ทั้งภาคการเมือง ภาครัฐ ผู้บริหารบริษัทจดทะเบียน และผู้ที่เกี่ยวข้องในตลาดทุน
ให้ได้รับทราบถึงความสำคัญของการควบรวมกิจการเพื่อเพิ่มศักยภาพและสร้างโอกาสเติบโตทางธุรกิจ
จากวิทยากรผู้มากประสบการณ์ร่วมถ่ายทอดหลากหลายแง่มุมที่ครบถ้วน ทั้งในแง่มุมของบริษัทจดทะเบียน
จากคุณชนินท์ ว่องกุศลกิจ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ. บ้านปู และคุณอดิเรก ปฏิทัศน์
ประธานกรรมการบริหาร บมจ. เอ็ม เอฟ อี ซี ความคิดเห็นของที่ปรึกษาทางการเงิน โดยคุณอภินันท์
เกลียวปฏินนท์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ. ทุนภัทร และมุมมองของที่ปรึกษากฎหมาย โดยคุณกิติพงศ์
อุรพีพัฒนพงศ์ ประธานกรรมการ บจ. เบเคอร์ แอนด์ แม็คเค็นซี่
ผู้สนใจสามารถติดตาม เทปบันทึกงานเสวนาครั้งนี้ได้ที่ www.set.or.th/mna เว็บไซด์ที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ
จัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่ข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญเกี่ยวกับการควบรวมกิจการ ตลอดจนข่าวสารและกิจกรรมที่น่าสนใจ
เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในวงกว้างอย่างต่อเนื่องตลอดปี 2555 เริ่มเผยแพร่วันจันทร์ที่ 26 มีนาคม
2555 เป็นต้นไป
ที่มา : http://www.set.or.th/set/newsdetails.do ... country=TH
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 430
- ผู้ติดตาม: 0
Re: กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 26
ขอขัดนิดหน่อยนะครับ
ส่วนตัว ผมเองไม่ค่อยชอบเท่าไร กับการ M&A
เพราะหลายครั้ง หลังจากรวมตัวกันแล้ว ราคามักจะวิ่งปรู๊ดไปเลย
ทั้งทีก่อนหน้านี้ ราคาทั้งสองตัว ไม่ได้สูงเลย
ส่วนตัว ผมเองไม่ค่อยชอบเท่าไร กับการ M&A
เพราะหลายครั้ง หลังจากรวมตัวกันแล้ว ราคามักจะวิ่งปรู๊ดไปเลย
ทั้งทีก่อนหน้านี้ ราคาทั้งสองตัว ไม่ได้สูงเลย
ปล ความเห็นส่วนตัว
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 27
ตลาดหุ้นหนุนควบรวมกิจการ กรุยทางสร้างการเติบโตและธุรกิจแข็งแกร่ง [ ไทยรัฐ, 12 เม.ย. 55 ]
นางปวีณา ศรีโพธิ์ทอง ผู้ช่วยผู้จัดการกลุ่มงานผู้ออกหลักทรัพย์ และบริษัทจดทะเบียนตลาดหลักทรัพย์
เปิดเผยว่า หากพิจารณาการควบรวมกิจการที่เปิดเผยผ่านตลาดหลักทรัพย์ในไตรมาส 1 ที่ผ่านมา ไม่ว่า
จะเป็นการควบรวมในรูปแบบของการซื้อหุ้นของอีกกิจการในสัดส่วนที่ทำให้มีอำนาจควบคุมบริหารจัดการใน
อีกบริษัท (Share Acquisition) หรือในรูปแบบการซื้อสินทรัพย์ทั้งหมดหรือบางส่วนที่มีสาระสำคัญ
(Asset Acquistion) รวมทั้งรูปแบบการควบกัน (Amalgamation: A+B=C) พบว่ามีบริษัทจดทะเบียน
ควบรวมกิจการทั้งสิ้น 17 รายการ จาก 8 บริษัท คิดเป็น 37% ของดีลทังหมดของปี 54 ที่มีจำนวน 46
รายการ (34 บริษัท) โดยมีมูลค่าดีลรวมกว่า 35,000 ล้านบาท โดยหลายบริษัทมีดีลที่เกิดขึ้นมากกว่า
1 รายการ เช่น บมจ.อินโดรามา เวนเจอร์ส ที่เติบโตจากการเข้าซื้อกิจการ (Inorganic Growth)
ซึ่งมีดีลดังกล่าวแล้ว 4 รายการ
--จบ--
นางปวีณา ศรีโพธิ์ทอง ผู้ช่วยผู้จัดการกลุ่มงานผู้ออกหลักทรัพย์ และบริษัทจดทะเบียนตลาดหลักทรัพย์
เปิดเผยว่า หากพิจารณาการควบรวมกิจการที่เปิดเผยผ่านตลาดหลักทรัพย์ในไตรมาส 1 ที่ผ่านมา ไม่ว่า
จะเป็นการควบรวมในรูปแบบของการซื้อหุ้นของอีกกิจการในสัดส่วนที่ทำให้มีอำนาจควบคุมบริหารจัดการใน
อีกบริษัท (Share Acquisition) หรือในรูปแบบการซื้อสินทรัพย์ทั้งหมดหรือบางส่วนที่มีสาระสำคัญ
(Asset Acquistion) รวมทั้งรูปแบบการควบกัน (Amalgamation: A+B=C) พบว่ามีบริษัทจดทะเบียน
ควบรวมกิจการทั้งสิ้น 17 รายการ จาก 8 บริษัท คิดเป็น 37% ของดีลทังหมดของปี 54 ที่มีจำนวน 46
รายการ (34 บริษัท) โดยมีมูลค่าดีลรวมกว่า 35,000 ล้านบาท โดยหลายบริษัทมีดีลที่เกิดขึ้นมากกว่า
1 รายการ เช่น บมจ.อินโดรามา เวนเจอร์ส ที่เติบโตจากการเข้าซื้อกิจการ (Inorganic Growth)
ซึ่งมีดีลดังกล่าวแล้ว 4 รายการ
--จบ--
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 28
'อนันต์'แอ่นอกการันตีแบงก์แลนด์ไม่ควบรวม [ โพสต์ทูเดย์, 24 เม.ย. 55 ]
"อนันต์" ยันไม่มีสัญญาณควบรวมแบงก์แลนด์ ไม่ห่วงแข่งแบงก์ใหญ่
นายอนันต์ อัศวโภคิน ประธานกรรมการ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป ผู้ถือหุ้นใหญ่ธนาคาร
แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ กล่าวว่า ขณะนี้ยังไม่มีสัญญาณการควบรวมธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แม้ว่า
อุตสาหกรรมธนาคารพาณิชย์มีการควบรวมกิจการจำนวนมาก และในไทยก็มีการควบรวมกิจการหลายธนาคาร
แต่การควบรวมกิจการหลายธนาคาร แต่การควบรวมกิจการไม่ได้บอกว่าเป็นไปไม่ได้ แต่ต้องดูจังหวะเวลา
และความเหมาะสมของกิจการ ถ้าควบรวมแล้วหนึ่งบวกหนึ่งเท่ากับสาม ก็น่าสนใจและเป็นไปได้
"อนันต์" ยันไม่มีสัญญาณควบรวมแบงก์แลนด์ ไม่ห่วงแข่งแบงก์ใหญ่
นายอนันต์ อัศวโภคิน ประธานกรรมการ บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป ผู้ถือหุ้นใหญ่ธนาคาร
แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ กล่าวว่า ขณะนี้ยังไม่มีสัญญาณการควบรวมธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แม้ว่า
อุตสาหกรรมธนาคารพาณิชย์มีการควบรวมกิจการจำนวนมาก และในไทยก็มีการควบรวมกิจการหลายธนาคาร
แต่การควบรวมกิจการหลายธนาคาร แต่การควบรวมกิจการไม่ได้บอกว่าเป็นไปไม่ได้ แต่ต้องดูจังหวะเวลา
และความเหมาะสมของกิจการ ถ้าควบรวมแล้วหนึ่งบวกหนึ่งเท่ากับสาม ก็น่าสนใจและเป็นไปได้
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 29
เนสท์เล่ซื้ออาหารทารกไฟเซอร์ โวดาโฟน ซื้อเคเบิล แอนด์ ไวร์เลส เวิลด์ วายด์ [ ข่าวหุ้น, 24 เม.ย. 55 ]
บริษัททั่วโลกเริ่มซื้อกิจการกันอย่างคึกคักอีกครั้ง เนสท์เล่ตกลงซื้อธุรกิจอาหารทารกของไฟเซอร์เป็น
เงิน 11,850 ล้านดอลลาร์ หลังจากที่สามารถเอาชนะดานอนคู่แข่งจากฝรั่งเศสได้ ขณะเดียวกัน โวดา
โฟนตกลงซื้อเคเบิล แอนด์ ไวร์เลส เวิลด์ วายด์ เป็นเงิน 1,680 ล้านดอลลาร์
บริษัททั่วโลกเริ่มซื้อกิจการกันอย่างคึกคักอีกครั้ง เนสท์เล่ตกลงซื้อธุรกิจอาหารทารกของไฟเซอร์เป็น
เงิน 11,850 ล้านดอลลาร์ หลังจากที่สามารถเอาชนะดานอนคู่แข่งจากฝรั่งเศสได้ ขณะเดียวกัน โวดา
โฟนตกลงซื้อเคเบิล แอนด์ ไวร์เลส เวิลด์ วายด์ เป็นเงิน 1,680 ล้านดอลลาร์
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."
-
- Verified User
- โพสต์: 5659
- ผู้ติดตาม: 1
Re: กิจการไทยทำ M&A น้อยไปหรือเปล่า
โพสต์ที่ 30
สมาคมฯชู 3 ปีดัน 'บจ.' ลุยนอก ชงกฎหมายควบกิจการเข้าครม.หวังใช้ปีนี้ เร่งถกคลังปรับโครงสร้าง
ภาษี เอื้อบริษัทไทยควบรวมหรือซื้อกิจการในต่างประเทศ [ กรุงเทพธุรกิจ, 2 พ.ค. 55 ]
สมาคม บจ.วางแผน 3 ปี ผลักดัน บจ.ไทยขยายกิจการในต่างประเทศเพิ่ม เดินหน้าดันกฎหมาย
ควบรวมเข้า ครม.หวังบังคับใช้ได้ในปีนี้เร่งถกคลังปรับโครงสร้างภาษีลดความซ้ำซ้อน เพื่อสร้างความ
น่าสนใจตลาดทุนไทย เอื้อต่างชาติมาลงทุนและช่วยเอกชนไทยไปลงทุนต่างแดน ระบุทุกฝ่ายต้องตื่นตัว
รับมือเปิดเออีซีในปี 58
ภาษี เอื้อบริษัทไทยควบรวมหรือซื้อกิจการในต่างประเทศ [ กรุงเทพธุรกิจ, 2 พ.ค. 55 ]
สมาคม บจ.วางแผน 3 ปี ผลักดัน บจ.ไทยขยายกิจการในต่างประเทศเพิ่ม เดินหน้าดันกฎหมาย
ควบรวมเข้า ครม.หวังบังคับใช้ได้ในปีนี้เร่งถกคลังปรับโครงสร้างภาษีลดความซ้ำซ้อน เพื่อสร้างความ
น่าสนใจตลาดทุนไทย เอื้อต่างชาติมาลงทุนและช่วยเอกชนไทยไปลงทุนต่างแดน ระบุทุกฝ่ายต้องตื่นตัว
รับมือเปิดเออีซีในปี 58
"แม้การลงทุนจะมีความเสี่ยง แต่มันก็มีความฝันปะปนด้วยอยู่เสมอ..."