เราจะคิดreplacement cost ยังไงเหรอครับ
โพสต์แล้ว: พฤหัสฯ. ส.ค. 18, 2011 8:16 pm
เราจะคิดreplacement cost จากหุ้น ยังไงเหรอครับ มันคิดได้ด้วยเหรอครับ
เว็บบอร์ดการลงทุนแบบเน้นคุณค่า ลงทุน VI หุ้น วีไอ แนวทางลงทุน คลังความรู้หุ้นวีไอ แหล่งรวมนักลงทุนหุ้นวีไอที่ใหญ่ที่สุด พร้อมรับสมาชิก VIP มีหมวดลงทุน ร้อยคนร้อยหุ้น คอมเม้นและข้อมูลดีๆ จากนักลงทุนเน้นคุณค่าผู้มีประสบการณ์ ข้อมูล Oppday ของหุ้นวีไอ
https://v3.thaivi.org/
Ii'8N เขียน:ผมว่าเหตุการณ์ปัจจุบัน case study คือ TTA เข้าข่ายเรื่องนี้พอดีหลายจุดที่คุณ ih พูดถึงนะครับ
เพราะ Replacement cost คือพูดถึง "การประเมินมูลค่า ถ้าต้องเปลี่ยนหรือซ่อม/สร้าง Asset"
ข่าวเล่าลือก็คือกลัวกันว่ากลุ่มที่เข้าาใหม่ จะมา take over เพื่อนำของไปขาย ไม่ต้องดำเนินธุรกิจต่อ แต่ได้ของถูก TTA ที่ราคาตอนนี้อยู่ตำแหน่งตกท้องช้างในกราฟของ cycle
(เพียงแต่ที่ใครๆ รับรู้กันทั่ว ไม่ใช่ P/replacement cost แต่ปรากฎต่อ public คือเราเห็นในหน้าตัวเลข Financial Highlight ของ set.or.th คือตัวเลขยอดนิยมเห็นกันอยู่คือ P ต่ำกว่าราคา BV ...สุดคุ้ม)
คิดreplacement cost จากหุ้น จึงควรจะหมายถึง คิด replacement cost สำหรับ asset ของกิจการ อย่างกรณีนี้ ก็คือกองเรือ
เดาล้วนๆ นะครับ...ประเมินจากความหมาย
แต่มั่นใจว่าเดาถูก
ลองกลับมาอ่าน อีกรอบ แสดงว่า การคิดreplacement cost ขั้นแรกเลย คือเราต้องประเมิน มูลค่า การลงทุนของธุรกิจ ในcore bussiness ของเขา หากเราจะลงทุนอย่างนั้น แบบของเขา เราจะต้องใช้เงินทุนเท่าไรIi'8N เขียน:เป็นไปได้ ว่ามีตัวเลขประมาณการว่า replacement cost โรงกลั่นเฉลี่ยทั่วไปขนาดนี้ อายุเท่านี้ หน่วยเป็น USD/Barrel แล้วเอามาคูณกับกำลังการผลิต (Capacity) ของโรงกลั่น
ก็จะตีมูลค้่าได้
ถ้าเป็นโรงไฟฟ้าของ EGAT ก็ USD/kWatt
ถ้าเป็นโรงโม่หินแถาสระบุรี ก็ USD/Metric Tonne เป็นต้น
เตรียมการกันมาก่อนหน้านี้แล้ว
http://www.suthichaiyoon.com/detail/9825
ไทยออยล์เล็งใช้5หมื่นล้านฮุบ'เอสโซ่'65%
วันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2554AAAขนาดตัวอักษร| |
รูปอื่นๆ :
บอร์ดไทยออยล์ลงมติวาระลับตั้ง "เดอะควอนท์กรุ๊ป" ที่ปรึกษาการเงิน ทำดิวดิลิเจนซ์ เทคโอเวอร์ โรงกลั่นเอสโซ่ โดยการซื้อหุ้น 65% จาก Exxon Mobil คาดใช้เงิน 5 หมื่นล้านบาท ขีดเส้น 3 เดือนได้ข้อสรุป ระบุหากซื้อสำเร็จ ไทยออยล์ขึ้นแท่นโรงกลั่นใหญ่สุดในประเทศขนาด 5.4 แสนบาร์เรลต่อวัน ชี้ผลดีเพียบทั้งลดต้นทุน เพิ่มอำนาจต่อรองในตลาด เผยไตรมาสแรกกำไรกว่า 7 พันล้านบาท
แหล่งข่าวจากบริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า เมื่อวันศุกร์ที่ 29 เม.ย.ที่ผ่านมา ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทไทยออยล์ วาระลับพิเศษ พิจารณาการซื้อกิจการบริษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) โดยการเสนอซื้อหุ้นในส่วนที่ Exxon Mobil International Holdings ถืออยู่จำนวน 65% ซึ่งที่ประชุมคณะกรรมการมีมติให้เข้าทำการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน (Due Diligenc) และแต่งตั้ง บริษัท เดอะ ควอนท์ กรุ๊ป จำกัด เป็นที่ปรึกษาการเงิน
ส่วนราคาที่เสนอซื้อนั้น จะต้องมีการต่อรองกันระหว่างบริษัทไทยออยล์ และ Exxon Mobil International Holdings เนื่องจาก Exxon Mobil International Holdings เสนอราคาเบื้องต้น 2-3 เท่าของราคาตลาดนั้น เป็นการคิดตามมูลค่าทรัพย์สินของบริษัทเอสโซ่ จะได้ราคาที่ 2-3 เท่าของราคาตลาด แต่เชื่อว่าราคาตลาดจะต่ำกว่านี้
ตามแผนธุรกิจเมื่อไทยออยล์ สามารถซื้อหุ้นเอสโซ่ได้แล้ว ไทยออยล์ก็จะถือหุ้นในเอสโซ่จำนวน 65% แต่จะยังไม่มีการควบรวมกิจการ และอาจจะใช้ชื่อเอสโซ่ไปอีกระยะหนึ่ง เช่นเดียวกับกรณีที่บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ซื้อร้านค้าปลีกจิฟฟี่ ในสถานีบริการน้ำมัน Jet ในอดีต
นอกจากนี้ ไทยออยล์จะขอยกเว้นการทำคำเสนอซื้อจากนักลงทุนเป็นการทั่วไป (เทนเดอร์ออฟเฟอร์) ต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.)
"กรณีนี้เราเข้าไปติดต่อเขา (Exxon Mobil International Holdings) เพราะเราเห็นช่องมานานแล้ว หลังจากที่ก่อนหน้านี้ ที่ ปตท.ได้ซื้อโรงกลั่นน้ำมันจากเชลล์ เพราะนโยบายใหม่ของผู้ผลิตน้ำมันรายใหญ่ของโลก เริ่มเบนเข็มจากธุรกิจโรงกลั่นน้ำมัน ไปสู่ธุรกิจขุดเจาะน้ำมัน ที่ให้ผลตอบแทนจากการลงทุนมากกว่า" แหล่งข่าวกลับ
แหล่งข่าวยอมรับว่าอีกเหตุผลหนึ่ง ที่ทำให้ Exxon Mobil International Holdings ถอนตัวจากธุรกิจโรงกลั่นในประเทศ เนื่องจากการแข่งขันที่สูง และโครงสร้างการตลาดถูกครอบครองโดยบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ที่เป็นเจ้าตลาดในขณะนี้ ทำให้มีผลต่อค่าการตลาดที่ไม่เป็นอิสระ ไม่สะท้อนต้นทุนที่แท้จริง
คาดใช้เงินเฉียด 5 หมื่นล้านบาท
สำหรับมูลค่าการลงทุนเบื้องต้นในการซื้อหุ้นเอสโซ่ส่วนของ Exxon Mobil International Holdings ที่ถืออยู่ 2,264 ล้านหุ้น หรือ 65.43% นั้น ราคายังไม่เป็นที่ตกลงกัน แต่คาดว่าจะมากกว่า 2 เท่าตัวของราคาตลาด งบประมาณที่ใช้น่าจะอยู่ที่ประมาณ 5 หมื่นล้านบาท ซึ่งที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทวาระพิเศษดังกล่าว ได้อนุมัติวงเงินงบลงทุนไว้แล้ว โดยแหล่งเงินจะมาจากเงินสดที่ไทยออยล์ถืออยู่ส่วนหนึ่ง และเงินกู้อีกส่วนหนึ่ง
"เรายังบอกไม่ได้ว่าจะใช้เงินเท่าไร ขึ้นอยู่กับผลของการทำดิว ดิลิเจนซ์ และคงต้องมีการต่อรองเพิ่มเติม แต่เชื่อว่าราคานั้นคงใกล้เคียง 2 เท่าของราคาตลาด" แหล่งข่าวกล่าว
ราคาหุ้นบริษัทเอสโซ่ ปิดตลาดเมื่อวันที่ 4 พ.ค.ที่ 11 บาท เพิ่มขึ้น 0.40 บาท หรือ 3.77% มูลค่าการซื้อขาย 113 ล้านบาท ขณะที่ราคาปิดต่อมูลค่าทางบัญชี อยู่ที่ 1.53 เท่า และมีมูลค่าตลาดเท่ากับ 38,069 ล้านบาท ผลประกอบการงวดปี 2553 สิ้นสุด 31 ธ.ค. 2553 มีรายได้ 1.79 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ที่มีรายได้จำนวน 1.63 แสนล้านบาท และมีกำไรสุทธิจำนวน 1.653 พันล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนที่มีกำไรสุทธิ 4.449 พันล้านบาท
"ราคาหุ้นเอสโซ่ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากต้นปีนี้ที่อยู่ที่ 7-8 บาท มาเคลื่อนไหวที่ 11 บาทนั้น เป็นการปรับเพิ่มขึ้นตามราคาน้ำมันและค่าการกลั่นที่ดีขึ้น" แหล่งข่าวกล่าว
5.4 แสนบาร์เรล-อำนาจต่อรองล้น
ปัจจุบันไทยออยล์ มีกำลังการผลิต 3.7 แสนบาร์เรลต่อวัน ส่วนกำลังการผลิตของเอสโซ่อยู่ที่ 1.7 แสนบาร์เรลต่อวัน โรงกลั่นน้ำมันของไทยออยล์ ได้มาตรฐานยูโร 4 ขณะที่โรงกลั่นของเอสโซ่ ยังไม่ได้ ซึ่งหากต้องปรับปรุงคุณภาพน้ำมันให้ได้มาตรฐานเดียวกัน จะต้องใช้เงินลงทุนอีกประมาณ 100 ล้านดอลลาร์ หรือประมาณ 3 พันล้านบาท แต่น้ำมันที่เอสโซ่กลั่นได้ส่วนใหญ่เป็นน้ำมันเบนซินที่จำหน่ายได้ราคาดี
การเข้าไปถือหุ้นของไทยออยล์ในเอสโซ่ จะทำให้กำลังการกลั่นของ 2 แห่งรวมกันเป็น 5.4 แสนบาร์เรลต่อวัน ขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศ และเป็นขนาดที่สามารถแข่งขันกับโรงกลั่นขนาดใหญ่ในภูมิภาค โดยเฉพาะอินเดีย ที่มีโรงกลั่นน้ำมันขนาด 1 ล้านบาร์เรลต่อวัน ให้ต้นทุนการผลิตลดลง เนื่องจากผลิตภัณฑ์บางประเภทจะใช้รวมกันได้ ลดความซ้ำซ้อน เช่น การขนส่งที่สามารถสั่งน้ำมันเข้ามาล็อตใหญ่ และขนโดยเรือลำเดียวที่จะช่วยประหยัดต้นทุนค่าขนส่งได้มาก
นอกจากนี้ ยังเป็นการเพิ่มอำนาจต่อรองในตลาดซื้อขายน้ำมัน ที่ซื้อมากย่อมได้รับส่วนลดมากขึ้น รวมถึงการเพิ่มขีดแข่งขันในเวทีการค้าระดับภูมิภาค
"อินเดียเขามี 1 ล้านบาร์เรล วันนี้ เขาใหญ่กว่าเรา ค่าการกลั่นเขาดีกว่าเรา เขาเห็นว่าคุ้มค่าหากจะยอมเสียค่าขนส่งเพิ่มขึ้น เพื่อส่งน้ำมันมาขายในเกาหลี จีน และญี่ปุ่น นอกเหนือไปจากตลาดหลักที่ยุโรป แต่เมื่อไทยออยล์มีขนาดใหญ่ขึ้น ลดต้นทุนได้ใกล้เคียงกับคู่แข่งสำคัญ แน่นอนว่า เราก็จะไปยึดตลาด เกาหลี จีน และญี่ปุ่น ที่เรามีความได้เปรียบในแง่ของเส้นทางขนส่งแทน"
โครงสร้างธุรกิจใกล้เคียงกัน
ปัจจุบันโครงสร้างผลิตภัณฑ์ของไทยออยล์และเอสโซ่ มีความใกล้เคียงกัน โดยเอสโซ่ มีส่วนธุรกิจการกลั่นน้ำมันและจัดจำหน่ายน้ำมัน ที่มีรายได้ประมาณ 90% ของรายได้ ส่วนธุรกิจปิโตรเคมี มีรายได้ 10% ขณะที่ไทยออยล์ มีรายได้จากธุรกิจกลั่นน้ำมันเป็นหลัก และยังมีรายได้จากธุรกิจกลั่นน้ำมันหล่อลื่น ธุรกิจปิโตรเคมี ธุรกิจผลิตไฟฟ้า ธุรกิจขนส่งน้ำมันและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี และอื่นๆ
บริษัทเอสโซ่เป็นบริษัทมหาชนจำกัด ซึ่งจดทะเบียนจัดตั้งและมีภูมิลำเนาอยู่ในไทย จัดตั้งในปี 2508 แต่บริษัทและบริษัทในเครือที่เกี่ยวข้องประกอบธุรกิจในไทยมาเป็นระยะเวลา 116 ปี บริษัทเอสโซ่ ได้จดทะเบียนแปรสภาพจากบริษัทเอกชนจำกัดเป็นบริษัทมหาชนจำกัด เมื่อวันที่ 12 มี.ค. 2539 และหุ้นสามัญของบริษัทได้เข้าเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ตั้งแต่วันที่ 6 พ.ค. 2551
โครงสร้างผู้ถือหุ้นสำคัญได้แก่ บริษัท Exxon Mobil International Holdings Inc ถือหุ้น 2,264 ล้านหุ้น หรือ 65.43% กองทุนรวมวายุภักษ์ หนึ่ง โดย บลจ.เอ็มเอฟซี จำกัด (มหาชน) ถือจำนวน 126.875 ล้านหุ้น หรือ 3.67% กองทุนรวม วายุภักษ์ หนึ่ง โดย บลจ.กรุงไทย จำกัด (มหาชน) ถือ 126.875 ล้านหุ้น หรือ 3.67% บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด ถือ 57.172 ล้านหุ้น หรือ 1.65% Somers (U.K.) Limited ถือจำนวน 37.792 ล้านหุ้น หรือ 1.09% และ State Street Bank And Trust Company For Australia ถือ 36.014 ล้านหุ้น หรือ 1.04%
ล้มแผนโรงกลั่นสงขลา
ก่อนหน้านี้ ไทยออยล์มีแนวคิดจะไปสร้างโรงกลั่นน้ำมันขนาด 1 ล้านบาร์เรล ที่จังหวัดสงขลา และสร้างท่าเรือน้ำลึกที่สตูล โดยใช้แลนด์บริดจ์เป็นตัวเชื่อม ลดการขนส่ง แต่โครงการนี้ก็พับไป เนื่องจากการลงทุนที่สูง และคาดว่าจะได้รับการต่อต้านจากกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
"ว่าไปแล้วการพับแผนลงทุนโรงกลั่นที่สงขลาก็ดี เพราะโรงกลั่นใหม่ 1 โรงต้องใช้เวลาสร้าง 3 ปี ที่เราไม่ได้รีเทิร์นกลับมาเลย แต่การซื้อโรงกลั่นที่มีอยู่แล้วนั้น เราสามารถบันทึกรายได้เข้ามาทันที" แหล่งข่าวกล่าว
สเต็ป 2 ศึกษารวมกิจการ
แหล่งข่าว กล่าวว่า หากการซื้อหุ้นเอสโซ่สำเร็จ จะมีการรวมกิจการระหว่างกันหรือไม่ ยังเป็นประเด็นที่ต้องศึกษาเพิ่มเติมในภายหลัง จะต้องพิจารณาถึงผลประโยชน์ที่ได้รับ และผลกระทบที่ตามมาอย่างละเอียด ซึ่งคาดว่าจะต้องใช้เวลาอีกระยะหนึ่ง
"การรวมกิจการเป็น step 2 เหมือนกรณีที่ ปตท.เข้าไปซื้อโรงกลั่นระยองในอดีต ก่อนที่จะนำมารวมกับบริษัทอะโรเมติกส์ ประเทศไทย เป็นบริษัท ปตท.อะโรเมติกส์และการกลั่น และสุดท้าย นำมารวมกับบริษัท ปตท.เคมิคอล"
เผยไตรมาสแรกกำไร 7 พันล้านบาท
แหล่งข่าวกล่าวอีกว่าสำหรับผลประกอบการของบริษัทไทยออยล์ ในไตรมาสแรกปี 2554 ปรากฏว่ามีกำไรสุทธิประมาณ 7 พันล้านบาท โดยกำไรประมาณ 3 พันล้านบาท มาจากกำไรจากสต็อกน้ำมัน ที่ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกขยับเพิ่มขึ้นจากระดับ 80 ดอลลาร์ เป็น 100 กว่าดอลลาร์ต่อบาร์เรล ส่งผลให้ค่าการกลั่นปรับตัวดีขึ้น
"ค่าการกลั่นรวมทุกผลิตภัณฑ์ในไตรมาสแรกของเราอยู่ที่ประมาณ 10 กว่าดอลลาร์ต่อบาร์เรล ราคาน้ำมันตลาดโลกที่เพิ่มขึ้นนั้น ทำให้ค่าการกลั่นเดือน เม.ย.เดือนเดียวเพิ่มขึ้นเป็น 12 ดอลลาร์ต่อบาร์เรล แต่เรายังไม่สามารถบอกได้ว่าค่าการกลั่น หรือกำไรทั้งปีจะดีตลอดหรือไม่ เพราะขึ้นกับราคาน้ำมันในตลาดด้วย"
ไทยออยล์ประกาศผลการดำเนินงานงวดปี 2553 มีรายได้สุทธิ 3.24 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ที่มีรายได้จำนวน 2.87 แสนล้านบาท โดยมีกำไรสุทธิ 8.998 พันล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ที่มีกำไรสุทธิ 1.21 หมื่นล้านบาท
cyber-shot เขียน:ลองกลับมาอ่าน อีกรอบ แสดงว่า การคิดreplacement cost ขั้นแรกเลย คือเราต้องประเมิน มูลค่า การลงทุนของธุรกิจ ในcore bussiness ของเขา หากเราจะลงทุนอย่างนั้น แบบของเขา เราจะต้องใช้เงินทุนเท่าไรIi'8N เขียน:เป็นไปได้ ว่ามีตัวเลขประมาณการว่า replacement cost โรงกลั่นเฉลี่ยทั่วไปขนาดนี้ อายุเท่านี้ หน่วยเป็น USD/Barrel แล้วเอามาคูณกับกำลังการผลิต (Capacity) ของโรงกลั่น
ก็จะตีมูลค้่าได้
ถ้าเป็นโรงไฟฟ้าของ EGAT ก็ USD/kWatt
ถ้าเป็นโรงโม่หินแถาสระบุรี ก็ USD/Metric Tonne เป็นต้น
เตรียมการกันมาก่อนหน้านี้แล้ว
http://www.suthichaiyoon.com/detail/9825
ไทยออยล์เล็งใช้5หมื่นล้านฮุบ'เอสโซ่'65%
วันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2554AAAขนาดตัวอักษร| |
รูปอื่นๆ :
บอร์ดไทยออยล์ลงมติวาระลับตั้ง "เดอะควอนท์กรุ๊ป" ที่ปรึกษาการเงิน ทำดิวดิลิเจนซ์ เทคโอเวอร์ โรงกลั่นเอสโซ่ โดยการซื้อหุ้น 65% จาก Exxon Mobil คาดใช้เงิน 5 หมื่นล้านบาท ขีดเส้น 3 เดือนได้ข้อสรุป ระบุหากซื้อสำเร็จ ไทยออยล์ขึ้นแท่นโรงกลั่นใหญ่สุดในประเทศขนาด 5.4 แสนบาร์เรลต่อวัน ชี้ผลดีเพียบทั้งลดต้นทุน เพิ่มอำนาจต่อรองในตลาด เผยไตรมาสแรกกำไรกว่า 7 พันล้านบาท
แหล่งข่าวจากบริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า เมื่อวันศุกร์ที่ 29 เม.ย.ที่ผ่านมา ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทไทยออยล์ วาระลับพิเศษ พิจารณาการซื้อกิจการบริษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) โดยการเสนอซื้อหุ้นในส่วนที่ Exxon Mobil International Holdings ถืออยู่จำนวน 65% ซึ่งที่ประชุมคณะกรรมการมีมติให้เข้าทำการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สิน (Due Diligenc) และแต่งตั้ง บริษัท เดอะ ควอนท์ กรุ๊ป จำกัด เป็นที่ปรึกษาการเงิน
ส่วนราคาที่เสนอซื้อนั้น จะต้องมีการต่อรองกันระหว่างบริษัทไทยออยล์ และ Exxon Mobil International Holdings เนื่องจาก Exxon Mobil International Holdings เสนอราคาเบื้องต้น 2-3 เท่าของราคาตลาดนั้น เป็นการคิดตามมูลค่าทรัพย์สินของบริษัทเอสโซ่ จะได้ราคาที่ 2-3 เท่าของราคาตลาด แต่เชื่อว่าราคาตลาดจะต่ำกว่านี้
ตามแผนธุรกิจเมื่อไทยออยล์ สามารถซื้อหุ้นเอสโซ่ได้แล้ว ไทยออยล์ก็จะถือหุ้นในเอสโซ่จำนวน 65% แต่จะยังไม่มีการควบรวมกิจการ และอาจจะใช้ชื่อเอสโซ่ไปอีกระยะหนึ่ง เช่นเดียวกับกรณีที่บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ซื้อร้านค้าปลีกจิฟฟี่ ในสถานีบริการน้ำมัน Jet ในอดีต
นอกจากนี้ ไทยออยล์จะขอยกเว้นการทำคำเสนอซื้อจากนักลงทุนเป็นการทั่วไป (เทนเดอร์ออฟเฟอร์) ต่อสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.)
"กรณีนี้เราเข้าไปติดต่อเขา (Exxon Mobil International Holdings) เพราะเราเห็นช่องมานานแล้ว หลังจากที่ก่อนหน้านี้ ที่ ปตท.ได้ซื้อโรงกลั่นน้ำมันจากเชลล์ เพราะนโยบายใหม่ของผู้ผลิตน้ำมันรายใหญ่ของโลก เริ่มเบนเข็มจากธุรกิจโรงกลั่นน้ำมัน ไปสู่ธุรกิจขุดเจาะน้ำมัน ที่ให้ผลตอบแทนจากการลงทุนมากกว่า" แหล่งข่าวกลับ
แหล่งข่าวยอมรับว่าอีกเหตุผลหนึ่ง ที่ทำให้ Exxon Mobil International Holdings ถอนตัวจากธุรกิจโรงกลั่นในประเทศ เนื่องจากการแข่งขันที่สูง และโครงสร้างการตลาดถูกครอบครองโดยบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ที่เป็นเจ้าตลาดในขณะนี้ ทำให้มีผลต่อค่าการตลาดที่ไม่เป็นอิสระ ไม่สะท้อนต้นทุนที่แท้จริง
คาดใช้เงินเฉียด 5 หมื่นล้านบาท
สำหรับมูลค่าการลงทุนเบื้องต้นในการซื้อหุ้นเอสโซ่ส่วนของ Exxon Mobil International Holdings ที่ถืออยู่ 2,264 ล้านหุ้น หรือ 65.43% นั้น ราคายังไม่เป็นที่ตกลงกัน แต่คาดว่าจะมากกว่า 2 เท่าตัวของราคาตลาด งบประมาณที่ใช้น่าจะอยู่ที่ประมาณ 5 หมื่นล้านบาท ซึ่งที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทวาระพิเศษดังกล่าว ได้อนุมัติวงเงินงบลงทุนไว้แล้ว โดยแหล่งเงินจะมาจากเงินสดที่ไทยออยล์ถืออยู่ส่วนหนึ่ง และเงินกู้อีกส่วนหนึ่ง
"เรายังบอกไม่ได้ว่าจะใช้เงินเท่าไร ขึ้นอยู่กับผลของการทำดิว ดิลิเจนซ์ และคงต้องมีการต่อรองเพิ่มเติม แต่เชื่อว่าราคานั้นคงใกล้เคียง 2 เท่าของราคาตลาด" แหล่งข่าวกล่าว
ราคาหุ้นบริษัทเอสโซ่ ปิดตลาดเมื่อวันที่ 4 พ.ค.ที่ 11 บาท เพิ่มขึ้น 0.40 บาท หรือ 3.77% มูลค่าการซื้อขาย 113 ล้านบาท ขณะที่ราคาปิดต่อมูลค่าทางบัญชี อยู่ที่ 1.53 เท่า และมีมูลค่าตลาดเท่ากับ 38,069 ล้านบาท ผลประกอบการงวดปี 2553 สิ้นสุด 31 ธ.ค. 2553 มีรายได้ 1.79 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ที่มีรายได้จำนวน 1.63 แสนล้านบาท และมีกำไรสุทธิจำนวน 1.653 พันล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนที่มีกำไรสุทธิ 4.449 พันล้านบาท
"ราคาหุ้นเอสโซ่ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากต้นปีนี้ที่อยู่ที่ 7-8 บาท มาเคลื่อนไหวที่ 11 บาทนั้น เป็นการปรับเพิ่มขึ้นตามราคาน้ำมันและค่าการกลั่นที่ดีขึ้น" แหล่งข่าวกล่าว
5.4 แสนบาร์เรล-อำนาจต่อรองล้น
ปัจจุบันไทยออยล์ มีกำลังการผลิต 3.7 แสนบาร์เรลต่อวัน ส่วนกำลังการผลิตของเอสโซ่อยู่ที่ 1.7 แสนบาร์เรลต่อวัน โรงกลั่นน้ำมันของไทยออยล์ ได้มาตรฐานยูโร 4 ขณะที่โรงกลั่นของเอสโซ่ ยังไม่ได้ ซึ่งหากต้องปรับปรุงคุณภาพน้ำมันให้ได้มาตรฐานเดียวกัน จะต้องใช้เงินลงทุนอีกประมาณ 100 ล้านดอลลาร์ หรือประมาณ 3 พันล้านบาท แต่น้ำมันที่เอสโซ่กลั่นได้ส่วนใหญ่เป็นน้ำมันเบนซินที่จำหน่ายได้ราคาดี
การเข้าไปถือหุ้นของไทยออยล์ในเอสโซ่ จะทำให้กำลังการกลั่นของ 2 แห่งรวมกันเป็น 5.4 แสนบาร์เรลต่อวัน ขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศ และเป็นขนาดที่สามารถแข่งขันกับโรงกลั่นขนาดใหญ่ในภูมิภาค โดยเฉพาะอินเดีย ที่มีโรงกลั่นน้ำมันขนาด 1 ล้านบาร์เรลต่อวัน ให้ต้นทุนการผลิตลดลง เนื่องจากผลิตภัณฑ์บางประเภทจะใช้รวมกันได้ ลดความซ้ำซ้อน เช่น การขนส่งที่สามารถสั่งน้ำมันเข้ามาล็อตใหญ่ และขนโดยเรือลำเดียวที่จะช่วยประหยัดต้นทุนค่าขนส่งได้มาก
นอกจากนี้ ยังเป็นการเพิ่มอำนาจต่อรองในตลาดซื้อขายน้ำมัน ที่ซื้อมากย่อมได้รับส่วนลดมากขึ้น รวมถึงการเพิ่มขีดแข่งขันในเวทีการค้าระดับภูมิภาค
"อินเดียเขามี 1 ล้านบาร์เรล วันนี้ เขาใหญ่กว่าเรา ค่าการกลั่นเขาดีกว่าเรา เขาเห็นว่าคุ้มค่าหากจะยอมเสียค่าขนส่งเพิ่มขึ้น เพื่อส่งน้ำมันมาขายในเกาหลี จีน และญี่ปุ่น นอกเหนือไปจากตลาดหลักที่ยุโรป แต่เมื่อไทยออยล์มีขนาดใหญ่ขึ้น ลดต้นทุนได้ใกล้เคียงกับคู่แข่งสำคัญ แน่นอนว่า เราก็จะไปยึดตลาด เกาหลี จีน และญี่ปุ่น ที่เรามีความได้เปรียบในแง่ของเส้นทางขนส่งแทน"
โครงสร้างธุรกิจใกล้เคียงกัน
ปัจจุบันโครงสร้างผลิตภัณฑ์ของไทยออยล์และเอสโซ่ มีความใกล้เคียงกัน โดยเอสโซ่ มีส่วนธุรกิจการกลั่นน้ำมันและจัดจำหน่ายน้ำมัน ที่มีรายได้ประมาณ 90% ของรายได้ ส่วนธุรกิจปิโตรเคมี มีรายได้ 10% ขณะที่ไทยออยล์ มีรายได้จากธุรกิจกลั่นน้ำมันเป็นหลัก และยังมีรายได้จากธุรกิจกลั่นน้ำมันหล่อลื่น ธุรกิจปิโตรเคมี ธุรกิจผลิตไฟฟ้า ธุรกิจขนส่งน้ำมันและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี และอื่นๆ
บริษัทเอสโซ่เป็นบริษัทมหาชนจำกัด ซึ่งจดทะเบียนจัดตั้งและมีภูมิลำเนาอยู่ในไทย จัดตั้งในปี 2508 แต่บริษัทและบริษัทในเครือที่เกี่ยวข้องประกอบธุรกิจในไทยมาเป็นระยะเวลา 116 ปี บริษัทเอสโซ่ ได้จดทะเบียนแปรสภาพจากบริษัทเอกชนจำกัดเป็นบริษัทมหาชนจำกัด เมื่อวันที่ 12 มี.ค. 2539 และหุ้นสามัญของบริษัทได้เข้าเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ตั้งแต่วันที่ 6 พ.ค. 2551
โครงสร้างผู้ถือหุ้นสำคัญได้แก่ บริษัท Exxon Mobil International Holdings Inc ถือหุ้น 2,264 ล้านหุ้น หรือ 65.43% กองทุนรวมวายุภักษ์ หนึ่ง โดย บลจ.เอ็มเอฟซี จำกัด (มหาชน) ถือจำนวน 126.875 ล้านหุ้น หรือ 3.67% กองทุนรวม วายุภักษ์ หนึ่ง โดย บลจ.กรุงไทย จำกัด (มหาชน) ถือ 126.875 ล้านหุ้น หรือ 3.67% บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด ถือ 57.172 ล้านหุ้น หรือ 1.65% Somers (U.K.) Limited ถือจำนวน 37.792 ล้านหุ้น หรือ 1.09% และ State Street Bank And Trust Company For Australia ถือ 36.014 ล้านหุ้น หรือ 1.04%
ล้มแผนโรงกลั่นสงขลา
ก่อนหน้านี้ ไทยออยล์มีแนวคิดจะไปสร้างโรงกลั่นน้ำมันขนาด 1 ล้านบาร์เรล ที่จังหวัดสงขลา และสร้างท่าเรือน้ำลึกที่สตูล โดยใช้แลนด์บริดจ์เป็นตัวเชื่อม ลดการขนส่ง แต่โครงการนี้ก็พับไป เนื่องจากการลงทุนที่สูง และคาดว่าจะได้รับการต่อต้านจากกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
"ว่าไปแล้วการพับแผนลงทุนโรงกลั่นที่สงขลาก็ดี เพราะโรงกลั่นใหม่ 1 โรงต้องใช้เวลาสร้าง 3 ปี ที่เราไม่ได้รีเทิร์นกลับมาเลย แต่การซื้อโรงกลั่นที่มีอยู่แล้วนั้น เราสามารถบันทึกรายได้เข้ามาทันที" แหล่งข่าวกล่าว
สเต็ป 2 ศึกษารวมกิจการ
แหล่งข่าว กล่าวว่า หากการซื้อหุ้นเอสโซ่สำเร็จ จะมีการรวมกิจการระหว่างกันหรือไม่ ยังเป็นประเด็นที่ต้องศึกษาเพิ่มเติมในภายหลัง จะต้องพิจารณาถึงผลประโยชน์ที่ได้รับ และผลกระทบที่ตามมาอย่างละเอียด ซึ่งคาดว่าจะต้องใช้เวลาอีกระยะหนึ่ง
"การรวมกิจการเป็น step 2 เหมือนกรณีที่ ปตท.เข้าไปซื้อโรงกลั่นระยองในอดีต ก่อนที่จะนำมารวมกับบริษัทอะโรเมติกส์ ประเทศไทย เป็นบริษัท ปตท.อะโรเมติกส์และการกลั่น และสุดท้าย นำมารวมกับบริษัท ปตท.เคมิคอล"
เผยไตรมาสแรกกำไร 7 พันล้านบาท
แหล่งข่าวกล่าวอีกว่าสำหรับผลประกอบการของบริษัทไทยออยล์ ในไตรมาสแรกปี 2554 ปรากฏว่ามีกำไรสุทธิประมาณ 7 พันล้านบาท โดยกำไรประมาณ 3 พันล้านบาท มาจากกำไรจากสต็อกน้ำมัน ที่ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกขยับเพิ่มขึ้นจากระดับ 80 ดอลลาร์ เป็น 100 กว่าดอลลาร์ต่อบาร์เรล ส่งผลให้ค่าการกลั่นปรับตัวดีขึ้น
"ค่าการกลั่นรวมทุกผลิตภัณฑ์ในไตรมาสแรกของเราอยู่ที่ประมาณ 10 กว่าดอลลาร์ต่อบาร์เรล ราคาน้ำมันตลาดโลกที่เพิ่มขึ้นนั้น ทำให้ค่าการกลั่นเดือน เม.ย.เดือนเดียวเพิ่มขึ้นเป็น 12 ดอลลาร์ต่อบาร์เรล แต่เรายังไม่สามารถบอกได้ว่าค่าการกลั่น หรือกำไรทั้งปีจะดีตลอดหรือไม่ เพราะขึ้นกับราคาน้ำมันในตลาดด้วย"
ไทยออยล์ประกาศผลการดำเนินงานงวดปี 2553 มีรายได้สุทธิ 3.24 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ที่มีรายได้จำนวน 2.87 แสนล้านบาท โดยมีกำไรสุทธิ 8.998 พันล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ที่มีกำไรสุทธิ 1.21 หมื่นล้านบาท
ถ้าเป็นโรงไฟฟ้าของ EGAT ก็ USD/kWatt
ถ้าเป็นโรงโม่หินแถาสระบุรี ก็ USD/Metric Tonne เป็นต้น ผมว่ากรณีนี้อาจจะถามนักลงทุนสัมพันธ์ไปตรงๆเลยก็ได้ว่า โรงไฟฟ้า หรือโรงโมหิน ผลิตได้กี่ kwatt หรือ metric มีกี่โรงงาน ผลิตได้วันและกี่ หน่วย ไปเลยน่าจะง่ายกว่า เสร็จแล้วค่อยเอามูลค่า replacement cost มาเทียบกับราคาหุ้น แล้วฐานลูกค้านี้ต้องคิดด้วยมั้ยครับ เพราะบริษัทแต่ละแห่งเขาจะมีฐานลูกค้าประจำของเขาอยู่อ่ะครับ หรือว่าไม่ต้องคิด ถือว่าฐานลูกค้า กับกิจการในธุรกิจรองลงมาหรือ อื่น เป็นตัวได้ฟรี ประเมินเฉพาะมูลค่าการลงทุนของcore bussiness พอ
Ii'8N เขียน:ผมว่าเหตุการณ์ปัจจุบัน case study คือ TTA เข้าข่ายเรื่องนี้พอดีหลายจุดที่คุณ ih พูดถึงนะครับ
เพราะ Replacement cost คือพูดถึง "การประเมินมูลค่า ถ้าต้องเปลี่ยนหรือซ่อม/สร้าง Asset"
ข่าวเล่าลือก็คือกลัวกันว่ากลุ่มที่เข้าาใหม่ จะมา take over เพื่อนำของไปขาย ไม่ต้องดำเนินธุรกิจต่อ แต่ได้ของถูก TTA ที่ราคาตอนนี้อยู่ตำแหน่งตกท้องช้างในกราฟของ cycle
(เพียงแต่ที่ใครๆ รับรู้กันทั่ว ไม่ใช่ P/replacement cost แต่ปรากฎต่อ public คือเราเห็นในหน้าตัวเลข Financial Highlight ของ set.or.th คือตัวเลขยอดนิยมเห็นกันอยู่คือ P ต่ำกว่าราคา BV ...สุดคุ้ม)
คิดreplacement cost จากหุ้น จึงควรจะหมายถึง คิด replacement cost สำหรับ asset ของกิจการ อย่างกรณีนี้ ก็คือกองเรือ
เดาล้วนๆ นะครับ...ประเมินจากความหมาย
แต่มั่นใจว่าเดาถูก
คือ 26,624,162 : 14,301,690Ii'8N เขียน:
หลับตาลืมพวกหนี้ไปชั่วคราวก่อน มองคร่าวๆ ซื้อของที่มีตัวตน 26,624,162 (พันบาท) ในราคา 14,301.69 (ล้านบาท)