อุตสาหกรรมหรือบริษัทอะไรได้ประโยชน์จากดอกเบี้ยขาขึ้นบ้างครับ
โพสต์แล้ว: อังคาร ก.ค. 22, 2014 12:34 am
นึกออกแค่หุ้นกลุ่มประกันชีวิตน่ะครับ มีกลุ่มไหนที่น่าจะได้ประโยชน์จากดอกเบี้ยขาขึ้น หรืออัตราเงินเฟ้อที่สูงขึ้นบ้างครับ
เว็บบอร์ดการลงทุนแบบเน้นคุณค่า ลงทุน VI หุ้น วีไอ แนวทางลงทุน คลังความรู้หุ้นวีไอ แหล่งรวมนักลงทุนหุ้นวีไอที่ใหญ่ที่สุด พร้อมรับสมาชิก VIP มีหมวดลงทุน ร้อยคนร้อยหุ้น คอมเม้นและข้อมูลดีๆ จากนักลงทุนเน้นคุณค่าผู้มีประสบการณ์ ข้อมูล Oppday ของหุ้นวีไอ
https://v3.thaivi.org/
อาจต้องดูคู่กับ liability อีกด้านประกอบด้วยanubist เขียน:ประกันก็เสียประโยชน์นะครับ
ต้องmark to market ราคาพันธบัตรที่ปรับตัวลดลงจากยิลด์เดิมต่ำกว่าท้องตลาด
ศึกษาเพิ่มเติมได้จากบทความนี้ครับchaitorn เขียน:อาจต้องดูคู่กับ liability อีกด้านประกอบด้วยanubist เขียน:ประกันก็เสียประโยชน์นะครับ
ต้องmark to market ราคาพันธบัตรที่ปรับตัวลดลงจากยิลด์เดิมต่ำกว่าท้องตลาด
หาก duration gap เป็น positive ดอกเบี้ยขาขึ้น อาจได้ประโยชน์ เพราะ roll over ใหม่ ดอกเบี้ยสูงขึ้น
แต่หาก เป็น nagative gap แบบนี้เสียประโยชน์ เพราะ roll over ดอกเบี้ยสูงไม่ได้
ถ้าหากดอกเบี้ยขาขึ้นจริง ประกันอาจต้องปรับ port พันธบัตรให้เป็นระยะสั้นมากขึ้น เพื่อประโยชน์ roll over อัตราดอกเบี้ยใหม่ที่สูงขึ้นครับ
ธนาคารก็เช่นกัน ต้องดู alco ว่า เป็น positive หรือ nagative gap กับอัตราดอกเบี้ย เช่น ปล่อยกู้ floating rate แต่ fixed rate เงินฝากไว้ หรือออก bond อัตราดอกเบี้ยคงที่ไว้ระยะยาว ถ้าดอกเบี้ยตลาดขึ้น 2 ขาเท่ากัน แบบนี้ธนาคารได้ประโยชน์ครับ ข้อมูลนี้ต้องถามธนาคารจึงทราบ
ไม่เชิงนะครับanubist เขียน:ประกันก็เสียประโยชน์นะครับ
ต้องmark to market ราคาพันธบัตรที่ปรับตัวลดลงจากยิลด์เดิมต่ำกว่าท้องตลาด
มันจะทำให้เกิด Miss match ของ funding ซิพี่ Chaitorn หรือเปล่าครับchaitorn เขียน:ศึกษาเพิ่มเติมได้จากบทความนี้ครับchaitorn เขียน:อาจต้องดูคู่กับ liability อีกด้านประกอบด้วยanubist เขียน:ประกันก็เสียประโยชน์นะครับ
ต้องmark to market ราคาพันธบัตรที่ปรับตัวลดลงจากยิลด์เดิมต่ำกว่าท้องตลาด
หาก duration gap เป็น positive ดอกเบี้ยขาขึ้น อาจได้ประโยชน์ เพราะ roll over ใหม่ ดอกเบี้ยสูงขึ้น
แต่หาก เป็น nagative gap แบบนี้เสียประโยชน์ เพราะ roll over ดอกเบี้ยสูงไม่ได้
ถ้าหากดอกเบี้ยขาขึ้นจริง ประกันอาจต้องปรับ port พันธบัตรให้เป็นระยะสั้นมากขึ้น เพื่อประโยชน์ roll over อัตราดอกเบี้ยใหม่ที่สูงขึ้นครับ
ธนาคารก็เช่นกัน ต้องดู alco ว่า เป็น positive หรือ nagative gap กับอัตราดอกเบี้ย เช่น ปล่อยกู้ floating rate แต่ fixed rate เงินฝากไว้ หรือออก bond อัตราดอกเบี้ยคงที่ไว้ระยะยาว ถ้าดอกเบี้ยตลาดขึ้น 2 ขาเท่ากัน แบบนี้ธนาคารได้ประโยชน์ครับ ข้อมูลนี้ต้องถามธนาคารจึงทราบ
http://thaiactuary.blogspot.com/2014/02 ... nt-11.html
Mismatch เป็นอีกเรื่องหนึ่งครับ ปกติ ธนาคารและ ประกันชีวิตเกือบทุกแห่ง Mismatch อยู่แล้วครับmiracle เขียน:มันจะทำให้เกิด Miss match ของ funding ซิพี่ Chaitorn หรือเปล่าครับchaitorn เขียน:ศึกษาเพิ่มเติมได้จากบทความนี้ครับchaitorn เขียน:อาจต้องดูคู่กับ liability อีกด้านประกอบด้วยanubist เขียน:ประกันก็เสียประโยชน์นะครับ
ต้องmark to market ราคาพันธบัตรที่ปรับตัวลดลงจากยิลด์เดิมต่ำกว่าท้องตลาด
หาก duration gap เป็น positive ดอกเบี้ยขาขึ้น อาจได้ประโยชน์ เพราะ roll over ใหม่ ดอกเบี้ยสูงขึ้น
แต่หาก เป็น nagative gap แบบนี้เสียประโยชน์ เพราะ roll over ดอกเบี้ยสูงไม่ได้
ถ้าหากดอกเบี้ยขาขึ้นจริง ประกันอาจต้องปรับ port พันธบัตรให้เป็นระยะสั้นมากขึ้น เพื่อประโยชน์ roll over อัตราดอกเบี้ยใหม่ที่สูงขึ้นครับ
ธนาคารก็เช่นกัน ต้องดู alco ว่า เป็น positive หรือ nagative gap กับอัตราดอกเบี้ย เช่น ปล่อยกู้ floating rate แต่ fixed rate เงินฝากไว้ หรือออก bond อัตราดอกเบี้ยคงที่ไว้ระยะยาว ถ้าดอกเบี้ยตลาดขึ้น 2 ขาเท่ากัน แบบนี้ธนาคารได้ประโยชน์ครับ ข้อมูลนี้ต้องถามธนาคารจึงทราบ
http://thaiactuary.blogspot.com/2014/02 ... nt-11.html
ถ้าหากในช่วงดอกเบี้ยขาลงแบบนี้ ใจของประกันจริงๆต้องการให้ถือพันธบัตรเป็นแบบ เผื่อการค้า แต่เมื่อตลาดดอกเบี้ยเป็นขาขึ้น ใจของประกันต้องการเป็นเผื่อขาย
แต่ทว่า ผู้ควบคุมกฏเอง ก็ไม่ยอมให้ทำแบบนั้น เพื่อถ้าหากแก้ไขเผื่อค้าเป็นเผื่อขาย ไม่ให้นำกลับมาตามระยะเวลา (ถ้าจำไม่ผิด 3 ปี)
แล้ว ยังมีตัวพันธบัตรที่นำไปวางไว้เป็นหลักประกันที่ คปภ ซึ่งในปัจจุบันมีหลากหลายประเภทเพิ่มเติมกว่าแต่ก่อนด้วย
อีกอย่างถ้าดอกเบี้ยขาขึ้น ประชาชนส่วนใจซื้อประกันน้อยลง
เพราะมีผลิตภัณฑ์ทางการเงินอื่นๆที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่าประกัน
ในช่วงเวลานั้นๆ ด้วยอีกประเด็นหนึ่ง
แต่จริงๆๆ ประกัน ก็ปรับ Port อยู่เรื่อยๆ อยู่แล้ว เนื่องจาก มีเงินไหลเข้าและออก
ตามช่วงระยะเวลา อยู่แล้ว จึงไม่น่ามีกังวลมากมายอะไร
ถ้าใครผ่านช่วงดอกเบี้ยขาขึ้นมา ถึงวิกฤติ แฮมเบอร์เกอร์ ก็จะรู้ว่า ช่วงนั้นบริษัทประกันชีวิตที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ก็มีกำไรให้เห็น ทั้งทีดอกเบี้ยเป็นขาขึ้น
อีกอย่างตอนนี้มีเครื่องมือในการทำ เฮดจิ้ง แล้วด้วย ถ้าหากพิสูจน์ได้ว่า ทำ เฮดจิ้งจริงๆ ไม่ใช่เกร็งกำไร ก็ช่วยได้มากโข และ ที่สำคัญสามารถเอาเงินลงทุนไปลงทุนที่ต่างประเทศได้อีกต่างหาก
วัตถุประสงค์หลักของ ALM คือการจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากการผันผวนของอัตราดอกเบี้ยจากการลงทุน ความเสี่ยงเหล่านี้เกิดขึ้นได้เนื่องมาจากมูลค่าของสิ่งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสินทรัพย์หรือหนี้สินนั้นจะเปลี่ยนไปเมื่อดอกเบี้ยที่ใช้ในการคำนวณมูลค่านั้นๆ ถูกเปลี่ยน กล่าวคือ “มูลค่าจะลดลงไปเมื่ออัตราดอกเบี้ยเพิ่มสูงขึ้น และในทางกลับกัน มูลค่าจะสูงขึ้นเมื่ออัตราดอกเบี้ยถูกลดต่ำลงมา”
ไม่ว่าจะเป็นมูลค่าของสินทรัพย์หรือหนี้สิน ต่างก็หนีไม่พ้นสัจธรรมของมูลค่าที่เปลี่ยนแปลงไปจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย
เราลองนึกตัวอย่างจากการซื้อพันธบัตรเก็บเอาไว้ ต่อมาวันหนึ่งดอกเบี้ยในตลาดเกิดสูงขึ้นทำให้มีคนแห่ไปซื้อพันธบัตรที่ออกใหม่ซึ่งก็ให้ดอกเบี้ยสูงขึ้นด้วย ทีนี้พันธบัตรที่ซื้อเก็บเอาไว้ตอนแรกก็จะขายไม่ค่อยได้ราคา จนทำให้ต้องตัดราคาขายลงไปจึงจะทำให้ขายพันธบัตรตัวเก่าไปได้ นั่นก็หมายความว่า “มูลค่าของพันธบัตรที่เคยซื้อเก็บไว้ได้ลดลงเมื่ออัตราดอกเบี้ยเพิ่มสูงขึ้น”
เมื่ออัตราดอกเบี้ยลดลง
ทีนี้เมื่อเวลาที่อัตราดอกเบี้ยต่ำลงก็หมายความว่ามูลค่าของสินทรัพย์และหนี้สินต่างก็สูงขึ้น แต่จะสูงขึ้นเท่าไรนั้นต่างก็มีวิธีคำนวณที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งแน่นอนว่ามูลค่าของทั้งสินทรัพย์และหนี้สินคงจะไม่ได้มีค่าสูงขึ้นมาเท่ากันแน่ๆ
1. ถ้ามูลค่าของทางฝั่งสินทรัพย์มีการแกว่งสูงขึ้นมามากกว่ามูลค่าที่แกว่งขึ้นมาของทางฝั่งหนี้สินก็ดีไป
2. แต่ถ้ามูลค่าของทางฝั่งหนี้สินมีการแกว่งสูงขึ้นมามากกว่ามูลค่าที่สูงขึ้นของทางฝั่งสินทรัพย์ ก็จะทำให้เกิดความเสียหายกับผลประกอบการได้
เมื่ออัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น
เมื่อเวลาที่อัตราดอกเบี้ยสูงขึ้นก็หมายความว่ามูลค่าของสินทรัพย์และหนี้สินต่างก็ต่ำลง ซึ่งแน่นอนว่ามูลค่าของทั้งทางฝั่งสินทรัพย์และหนี้สินคงจะไม่ได้มีค่าลดลงมาเท่ากันแน่ๆ
1. ถ้ามูลค่าของทางฝั่งสินทรัพย์มีการแกว่งลงมามากกว่ามูลค่าที่แกว่งลงมาของทางฝั่งหนี้สินก็จะทำให้เกิดความเสียหายกับผลประกอบการได้
2. แต่ถ้ามูลค่าของทางฝั่งหนี้สินมีการแกว่งลงมามากกว่ามูลค่าที่แกว่งลงมาของทางฝั่งสินทรัพย์ก็แปลว่าเกิดส้มหล่นทำให้เราได้กำไรไป
จะเห็นได้ว่าปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการทำ ALM ก็คือการจัดการความเสี่ยงที่เรียกว่า Interest rate risk หรือความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยให้ได้ ซึ่งการจะจัดการได้นั้นก็จำเป็นจะต้องอาศัยความเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่าตอนนี้สถานการณ์ของบริษัทและปัจจัยแวดล้อมภายนอกเป็นอย่างไร แนวทางในการจัดการความเสี่ยงเหล่านี้ควรจะสื่อสารไปถึงผู้บริหารให้รับทราบเพื่อรองรับสถานการณ์ในวันที่เลวร้ายได้
ได้ประโยชน์ยังไงบ้างเหรอครับคุณ PRO_BABYPRO_BABY เขียน:พวกค้าปลีกก็ได้นะครับ cpall hmpro bigc makro
รายได้ตรงดอกเบี้ยรับ.ที่เพิ่มขึ้นครับ ^^นายมานะ เขียน:ได้ประโยชน์ยังไงบ้างเหรอครับคุณ PRO_BABYPRO_BABY เขียน:พวกค้าปลีกก็ได้นะครับ cpall hmpro bigc makro
เท่าที่พอนึกออกคือ เพราะลักษณะธุรกิจจะมี cash cycle ติดลบ + ช่วงดอกเบี้ยขาขึ้นมักจะมาพร้อมเศรษฐกิจขาขึ้น ค้าปลีกเลยน่าจะดีหรือเปล่าครับ
แบบนี้หุ้นกลุ่มภัตราคาร ที่มี cash cycle ติดลบ และผันผวนตามเศรษฐกิจเล็กน้อย ก็น่าจะดีด้วยหรือเปล่าครับ