ในที่สุด จีนก็ปรับค่าเงินหยวน และเปลี่ยนระบบ
- tummeng
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 3665
- ผู้ติดตาม: 0
ในที่สุด จีนก็ปรับค่าเงินหยวน และเปลี่ยนระบบ
โพสต์ที่ 2
China revalues yuan
Move away from fixed dollar peg could lessen competition for U.S. firms, raise import prices.
NEW YORK (CNN/Money) - In a move that could trim the trade gap with the United States, China revalued its currency higher against the dollar Thursday and said it would no longer have the yuan tied to a fixed rate against the dollar.
The move, while small at this point, could be the first step to reduce competition for some U.S. companies from lower-priced Chinese imports. A stronger yuan could also increase the revenue U.S. exporters get from sales to the world's largest country, one of the fastest growing consumer markets.
It also reduces the threat that Congress could impose threatened trade sanctions on China.
On the downside for American citizens is that it could lead to increased prices for Chinese-made goods such as apparel and electronics.
"The change is pretty slight but very significant because of the fact that they did allow it to revalue .Now speculation is that this will pave the way for further valuations down the road," said Ashraf Laidi, chief currency analyst for MG Financial Group.
U.S. stock futures soared immediately after the statement from People's Bank of China just after 7 a.m. ET Thursday.
The statement said China will immediately value the currency at 8.11 yuan, down 2 percent from the 8.28 rate previously. It also said it will now peg the yuan against a "market basket" of numerous currencies, although it will keep the yuan in a tight band rather than letting it trade freely.
CNN Money
Move away from fixed dollar peg could lessen competition for U.S. firms, raise import prices.
NEW YORK (CNN/Money) - In a move that could trim the trade gap with the United States, China revalued its currency higher against the dollar Thursday and said it would no longer have the yuan tied to a fixed rate against the dollar.
The move, while small at this point, could be the first step to reduce competition for some U.S. companies from lower-priced Chinese imports. A stronger yuan could also increase the revenue U.S. exporters get from sales to the world's largest country, one of the fastest growing consumer markets.
It also reduces the threat that Congress could impose threatened trade sanctions on China.
On the downside for American citizens is that it could lead to increased prices for Chinese-made goods such as apparel and electronics.
"The change is pretty slight but very significant because of the fact that they did allow it to revalue .Now speculation is that this will pave the way for further valuations down the road," said Ashraf Laidi, chief currency analyst for MG Financial Group.
U.S. stock futures soared immediately after the statement from People's Bank of China just after 7 a.m. ET Thursday.
The statement said China will immediately value the currency at 8.11 yuan, down 2 percent from the 8.28 rate previously. It also said it will now peg the yuan against a "market basket" of numerous currencies, although it will keep the yuan in a tight band rather than letting it trade freely.
CNN Money
Price is what you pay. Value is what you get...
- สุมาอี้
- Verified User
- โพสต์: 4576
- ผู้ติดตาม: 0
ในที่สุด จีนก็ปรับค่าเงินหยวน และเปลี่ยนระบบ
โพสต์ที่ 5
สินค้าจีนในตลาดโลกจะดูแพงขึ้น ทำให้สินค้าไทยในตลาดโลกน่าสนใจมากกว่าเดิม
ผลกระทบอีกอย่างหนึ่งที่ผมขอทำนายว่าจะเกิดขึ้นกับไทย แต่ไม่ทราบว่าจะเป็นเมื่อไร ก็คือ จีนจะเริ่มแก้ปัญหาเงินหยวนแข็งด้วยการออกไปลงทุนในต่างประเทศให้มากขึ้น ซึ่งประเทศไทยจะเป็นชาติหนึ่งที่ได้รับอานิสงส์นี้ไปด้วย
มีแต่ได้กับได้
ผลกระทบอีกอย่างหนึ่งที่ผมขอทำนายว่าจะเกิดขึ้นกับไทย แต่ไม่ทราบว่าจะเป็นเมื่อไร ก็คือ จีนจะเริ่มแก้ปัญหาเงินหยวนแข็งด้วยการออกไปลงทุนในต่างประเทศให้มากขึ้น ซึ่งประเทศไทยจะเป็นชาติหนึ่งที่ได้รับอานิสงส์นี้ไปด้วย
มีแต่ได้กับได้
http://dekisugi.net
ไม่ค่อยได้เช็ค PM เลยครับ ต้องการติดต่อผม อีเมลไปที่ [email protected] จะชัวร์กว่าครับ
ไม่ค่อยได้เช็ค PM เลยครับ ต้องการติดต่อผม อีเมลไปที่ [email protected] จะชัวร์กว่าครับ
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 9795
- ผู้ติดตาม: 0
ในที่สุด จีนก็ปรับค่าเงินหยวน และเปลี่ยนระบบ
โพสต์ที่ 6
ยังเร็วไปที่จะบอกว่าเป็นผลดีกับไทยครับ ผมว่ามันออกได้ทั้งสองด้าน
ในช่วงฝุ่นตลบ อะไรก็เกิดขึ้นได้ เพราะเงินหยวนแข็งขึ้น เงินไทยก็คงแข็งตาม
กลายเป็นว่า ส่งออกเราก็ไม่ได้น่าสนใจเพิ่มขึ้น เพราะเงินเราก็แข็งตามหยวนไปเรื่อย
ส่วนเรื่องลงทุน จีนอาจจะออกไปลงทุนต่างชาติมากขึ้น แต่ต่างชาติน่าจะกลับ
เข้าไปลงทุนใจจีนมากขึ้นเช่นกัน เพราะแนวโน้มเหมือนหยวนจะแข็งขึ้นอีกนาน
ช่วงนี้คงเป็น wait and see ครับ จนกว่าตลาดจะปรับตัวได้ ผมว่าตลาดหุ้น
ค่าเงิน ราคาน้ำมัน จะผันผวนมากเลย
ในช่วงฝุ่นตลบ อะไรก็เกิดขึ้นได้ เพราะเงินหยวนแข็งขึ้น เงินไทยก็คงแข็งตาม
กลายเป็นว่า ส่งออกเราก็ไม่ได้น่าสนใจเพิ่มขึ้น เพราะเงินเราก็แข็งตามหยวนไปเรื่อย
ส่วนเรื่องลงทุน จีนอาจจะออกไปลงทุนต่างชาติมากขึ้น แต่ต่างชาติน่าจะกลับ
เข้าไปลงทุนใจจีนมากขึ้นเช่นกัน เพราะแนวโน้มเหมือนหยวนจะแข็งขึ้นอีกนาน
ช่วงนี้คงเป็น wait and see ครับ จนกว่าตลาดจะปรับตัวได้ ผมว่าตลาดหุ้น
ค่าเงิน ราคาน้ำมัน จะผันผวนมากเลย
- Minesweeper
- Verified User
- โพสต์: 472
- ผู้ติดตาม: 0
ในที่สุด จีนก็ปรับค่าเงินหยวน และเปลี่ยนระบบ
โพสต์ที่ 7
รู้สึกเหมือนกับว่าประเทศเรา จะล้าหลัง ไปเรื่อยๆ แฮะ แต่ก่อน ญี่ปุ่นมาลงทุนในไทย เดี๋ยวมีจีนมาลงทุนในไทย ต่อไป เวียดนาม/ลาว จะมาลงทุนในไทยหรือเปล่าเนี่ยสุมาอี้ เขียน: จีนจะเริ่มแก้ปัญหาเงินหยวนแข็งด้วยการออกไปลงทุนในต่างประเทศให้มากขึ้น ซึ่งประเทศไทยจะเป็นชาติหนึ่งที่ได้รับอานิสงส์นี้ไปด้วย
- สุมาอี้
- Verified User
- โพสต์: 4576
- ผู้ติดตาม: 0
ในที่สุด จีนก็ปรับค่าเงินหยวน และเปลี่ยนระบบ
โพสต์ที่ 8
ก็รัฐบาลมัวแต่ใช้เงินไปกับการกระตุ้น demand เราเลยไม่มีการพัฒนาครับMinesweeper เขียน: รู้สึกเหมือนกับว่าประเทศเรา จะล้าหลัง ไปเรื่อยๆ แฮะ แต่ก่อน ญี่ปุ่นมาลงทุนในไทย เดี๋ยวมีจีนมาลงทุนในไทย ต่อไป เวียดนาม/ลาว จะมาลงทุนในไทยหรือเปล่าเนี่ย
http://dekisugi.net
ไม่ค่อยได้เช็ค PM เลยครับ ต้องการติดต่อผม อีเมลไปที่ [email protected] จะชัวร์กว่าครับ
ไม่ค่อยได้เช็ค PM เลยครับ ต้องการติดต่อผม อีเมลไปที่ [email protected] จะชัวร์กว่าครับ
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 6483
- ผู้ติดตาม: 1
ในที่สุด จีนก็ปรับค่าเงินหยวน และเปลี่ยนระบบ
โพสต์ที่ 9
Minesweeper เขียน: รู้สึกเหมือนกับว่าประเทศเรา จะล้าหลัง ไปเรื่อยๆ แฮะ แต่ก่อน ญี่ปุ่นมาลงทุนในไทย เดี๋ยวมีจีนมาลงทุนในไทย ต่อไป เวียดนาม/ลาว จะมาลงทุนในไทยหรือเปล่าเนี่ย
ที่เราทำได้และควรจะทำคือช่วยอุดหนุนสินค้าของคนไทย ให้บริษัทของคนไทยเติบโต ขยายกิจการไปต่างประเทศ ถึงตอนนั้นฝรั่งหัวแดงก็ต้องมาเป็นพนักงานบริษัทคนไทยครับ
แก้ไขล่าสุดโดย ลูกอิสาน เมื่อ พฤหัสฯ. ก.ค. 21, 2005 10:13 pm, แก้ไขไปแล้ว 1 ครั้ง.
การลงทุนคืออาหารอร่อยที่สุดเมื่อเย็นดีแล้ว
- tummeng
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 3665
- ผู้ติดตาม: 0
ในที่สุด จีนก็ปรับค่าเงินหยวน และเปลี่ยนระบบ
โพสต์ที่ 10
China Severs Its Currency's Link to Dollar
Thursday July 21, 10:37 am ET
By Stephanie Hoo, Associated Press Writer
China Severs Currency's Peg to the U.S. Dollar, Adopting a More Flexible System
BEIJING (AP) -- China dropped its politically volatile policy of linking its currency to the U.S. dollar on Thursday, adopting a more flexible system based on a basket of foreign currencies that could push up the price of Chinese exports to the United States and Europe.
The government also strengthened the state-set exchange rate to 8.11 yuan to the dollar -- from 8.277 yuan, where it had been fixed for more than a decade -- in a surprise announcement on state television's evening news. That raised the value of one yuan by about one-quarter of one U.S. cent to 12.33 cents.
China had been under pressure for years from its trading partners to let the value of the yuan float or at least trade at a stronger rate and some U.S. lawmakers had threatened to impose retaliatory tariffs if China didn't adjust its currency scheme. The United States and others had said the communist nation undervalued the yuan by up to 40 percent, giving Chinese exporters an unfair price advantage.
The Bush administration on Thursday praised China's decision but said it planned to monitor the country's implementation of the new arrangement.
"I welcome China's announcement today that it is adopting a more flexible exchange rate regime," Treasury Secretary John Snow said in a statement. "As we have said, reform of China's currency regime is important for China and the international financial system."
The White House also hailed the announcement. "We are encouraged by China's announcement today that they are adopting a more flexible market-based currency system," Bush spokesman Scott McClellan said.
The new system puts tight daily limits on changes in the yuan's value but could allow it to change substantially over time.
Beginning Friday, the yuan will be limited to moving each day within a 0.3 percent band against a collection of foreign currencies, the government said. But the officially announced price at the end of each day will become the midpoint of trading for the next day, which could let the yuan edge up incrementally.
"This is the start of a gradual appreciation process," said Frank Gong, managing director of JPMorgan Chase & Co. in Hong Kong. "It will help balance Chinese trade flows. Export volumes will come down. Import volumes will pick up. It will help reduce trade tensions."
The move could nonetheless help Chinese exporters' profits by cutting costs for imported oil, iron ore and other raw materials whose prices have been surging in dollar terms, Gong said.
And it could encourage domestic spending, making China's economic growth less dependent on exports, Gong said.
"China is finally doing the right thing," he said.
The U.S. dollar dropped against the Japanese yen -- an Asian benchmark -- on the news, falling to 110 yen from about 112 yen. U.S. treasuries fell alongside the dollar as investors feared the possible inflationary effect of higher import prices in the U.S. The yield on the 10-year Treasury note rose to 4.22 percent from 4.18 percent late Wednesday.
Japan, one of China's trade partners that had urged it to let the yuan float, welcomed China's decision.
"We hope that this decision will lead to more balanced and stable economic growth for China," the Bank of Japan's international department said in a statement. "We highly value this move."
In South Korea, government officials said they didn't expect it to have a big impact on the nation's economy, the third largest in Asia following Japan and China.
"Yuan's revaluation was only a matter of timing; we knew it was going to happen," said Rhee Yeung-kyun, assistant governor of Bank of Korea. "I don't expect much effect the Korean won as the won has been sufficiently been appreciated."
Philippine central bank Gov. Amando Tetangco said the move was expected to strengthen regional currencies, including the Philippine peso.
The governor of the Bank of Thailand held an urgent meeting with other senior central bank officials as soon as they learned of the news, but no details of their meeting were immediately available.
Yuji Kameoka, currency analyst at Daiwa Institute of Research in Tokyo, said China's decision made sense.
"It was good timing because the dollar has been strengthening lately," he said. "It would have been very difficult to do if the dollar had stayed weak."
Hong Kong, a key Chinese banking center that has its own currency, will keep its currency pegged to the U.S. dollar, the city's acting financial secretary Stephen Ip said.
Malaysia simultaneously announced it was dropping its own policy that tied its currency, the ringgit, to the U.S. dollar and would adopt a currency basket arrangement similar to China's.
Chinese leaders have said for years that they eventually would let the yuan trade freely on world markets. But they said any decision would be based on China's economic needs, not foreign pressure.
Chinese officials said any abrupt change in its currency system would cause turmoil, hurting its fragile banks and financial industries.
The central bank's news department said there no plans for a news conference to clarify the new policy.
Thursday July 21, 10:37 am ET
By Stephanie Hoo, Associated Press Writer
China Severs Currency's Peg to the U.S. Dollar, Adopting a More Flexible System
BEIJING (AP) -- China dropped its politically volatile policy of linking its currency to the U.S. dollar on Thursday, adopting a more flexible system based on a basket of foreign currencies that could push up the price of Chinese exports to the United States and Europe.
The government also strengthened the state-set exchange rate to 8.11 yuan to the dollar -- from 8.277 yuan, where it had been fixed for more than a decade -- in a surprise announcement on state television's evening news. That raised the value of one yuan by about one-quarter of one U.S. cent to 12.33 cents.
China had been under pressure for years from its trading partners to let the value of the yuan float or at least trade at a stronger rate and some U.S. lawmakers had threatened to impose retaliatory tariffs if China didn't adjust its currency scheme. The United States and others had said the communist nation undervalued the yuan by up to 40 percent, giving Chinese exporters an unfair price advantage.
The Bush administration on Thursday praised China's decision but said it planned to monitor the country's implementation of the new arrangement.
"I welcome China's announcement today that it is adopting a more flexible exchange rate regime," Treasury Secretary John Snow said in a statement. "As we have said, reform of China's currency regime is important for China and the international financial system."
The White House also hailed the announcement. "We are encouraged by China's announcement today that they are adopting a more flexible market-based currency system," Bush spokesman Scott McClellan said.
The new system puts tight daily limits on changes in the yuan's value but could allow it to change substantially over time.
Beginning Friday, the yuan will be limited to moving each day within a 0.3 percent band against a collection of foreign currencies, the government said. But the officially announced price at the end of each day will become the midpoint of trading for the next day, which could let the yuan edge up incrementally.
"This is the start of a gradual appreciation process," said Frank Gong, managing director of JPMorgan Chase & Co. in Hong Kong. "It will help balance Chinese trade flows. Export volumes will come down. Import volumes will pick up. It will help reduce trade tensions."
The move could nonetheless help Chinese exporters' profits by cutting costs for imported oil, iron ore and other raw materials whose prices have been surging in dollar terms, Gong said.
And it could encourage domestic spending, making China's economic growth less dependent on exports, Gong said.
"China is finally doing the right thing," he said.
The U.S. dollar dropped against the Japanese yen -- an Asian benchmark -- on the news, falling to 110 yen from about 112 yen. U.S. treasuries fell alongside the dollar as investors feared the possible inflationary effect of higher import prices in the U.S. The yield on the 10-year Treasury note rose to 4.22 percent from 4.18 percent late Wednesday.
Japan, one of China's trade partners that had urged it to let the yuan float, welcomed China's decision.
"We hope that this decision will lead to more balanced and stable economic growth for China," the Bank of Japan's international department said in a statement. "We highly value this move."
In South Korea, government officials said they didn't expect it to have a big impact on the nation's economy, the third largest in Asia following Japan and China.
"Yuan's revaluation was only a matter of timing; we knew it was going to happen," said Rhee Yeung-kyun, assistant governor of Bank of Korea. "I don't expect much effect the Korean won as the won has been sufficiently been appreciated."
Philippine central bank Gov. Amando Tetangco said the move was expected to strengthen regional currencies, including the Philippine peso.
The governor of the Bank of Thailand held an urgent meeting with other senior central bank officials as soon as they learned of the news, but no details of their meeting were immediately available.
Yuji Kameoka, currency analyst at Daiwa Institute of Research in Tokyo, said China's decision made sense.
"It was good timing because the dollar has been strengthening lately," he said. "It would have been very difficult to do if the dollar had stayed weak."
Hong Kong, a key Chinese banking center that has its own currency, will keep its currency pegged to the U.S. dollar, the city's acting financial secretary Stephen Ip said.
Malaysia simultaneously announced it was dropping its own policy that tied its currency, the ringgit, to the U.S. dollar and would adopt a currency basket arrangement similar to China's.
Chinese leaders have said for years that they eventually would let the yuan trade freely on world markets. But they said any decision would be based on China's economic needs, not foreign pressure.
Chinese officials said any abrupt change in its currency system would cause turmoil, hurting its fragile banks and financial industries.
The central bank's news department said there no plans for a news conference to clarify the new policy.
Price is what you pay. Value is what you get...
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 11444
- ผู้ติดตาม: 1
ในที่สุด จีนก็ปรับค่าเงินหยวน และเปลี่ยนระบบ
โพสต์ที่ 11
การหลับหูหลับตาซื้อแต่สินค้าจากบริษัทคนไทย คงไม่ช่วยอะไรมากนัก เพราะจะทำให้บริษัทเหล่านั้นไม่พัฒนาครับลูกอิสาน เขียน:ที่เราทำได้และควรจะทำคือช่วยอุดหนุนสินค้าของคนไทย ให้บริษัทของคนไทยเติบโต ขยายกิจการไปต่างประเทศ ถึงตอนนั้นฝรั่งหัวแดงก็ต้องมาเป็นพนักงานบริษัทคนไทยครับ
เช่น อุตสาหกรรมธนาคารพาณิชย์ไทย แล้วจะออกไปแข่งกับชาวโลกได้อย่างไร จริงไหมครับ
- naris
- Verified User
- โพสต์: 6726
- ผู้ติดตาม: 1
ในที่สุด จีนก็ปรับค่าเงินหยวน และเปลี่ยนระบบ
โพสต์ที่ 12
ผมว่าน่าจะเป็นผลดีในเชิงความสมดุลทางการเงินในภูมิภาคที่จะมีการปรับเข้าหากันทำให้ช่องว่างของการแข่งขันแคบลง
แต่บริษัทไหนจะได้หรือเสียต้องคอยดูอย่างใกล้ชิด
ใครมองเห็นโอกาส ในวิกฤต ผู้นั้นคือผู้ชนะ
แต่บริษัทไหนจะได้หรือเสียต้องคอยดูอย่างใกล้ชิด
ใครมองเห็นโอกาส ในวิกฤต ผู้นั้นคือผู้ชนะ
ราคาระยะสั้นตามข่าว--ราคาระยะยาวตามผลกำไร
- HI.ผมเอง
- Verified User
- โพสต์: 811
- ผู้ติดตาม: 0
ในที่สุด จีนก็ปรับค่าเงินหยวน และเปลี่ยนระบบ
โพสต์ที่ 13
อืม........น่าสนใจดี นะCK เขียน:ยังเร็วไปที่จะบอกว่าเป็นผลดีกับไทยครับ ผมว่ามันออกได้ทั้งสองด้าน
ในช่วงฝุ่นตลบ อะไรก็เกิดขึ้นได้ เพราะเงินหยวนแข็งขึ้น เงินไทยก็คงแข็งตาม
กลายเป็นว่า ส่งออกเราก็ไม่ได้น่าสนใจเพิ่มขึ้น เพราะเงินเราก็แข็งตามหยวนไปเรื่อย
ส่วนเรื่องลงทุน จีนอาจจะออกไปลงทุนต่างชาติมากขึ้น แต่ต่างชาติน่าจะกลับ
เข้าไปลงทุนใจจีนมากขึ้นเช่นกัน เพราะแนวโน้มเหมือนหยวนจะแข็งขึ้นอีกนาน
ช่วงนี้คงเป็น wait and see ครับ จนกว่าตลาดจะปรับตัวได้ ผมว่าตลาดหุ้น
ค่าเงิน ราคาน้ำมัน จะผันผวนมากเลย
-
- ผู้ติดตาม: 0
ในที่สุด จีนก็ปรับค่าเงินหยวน และเปลี่ยนระบบ
โพสต์ที่ 14
<------ สำหรับผม... Wet and Sea ครับ :lovl:
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 6483
- ผู้ติดตาม: 1
ในที่สุด จีนก็ปรับค่าเงินหยวน และเปลี่ยนระบบ
โพสต์ที่ 15
ถ้าเราหลับหูหลับตาอุดหนุนสินค้าผู้ผลิตคนไทย จนมีกำไรมากมาย บริษัทเติบโต แล้วยังไม่พัฒนา ไม่ขยายกิจการ ก็คงเป็นกรรมของคนไทยแล้วครับ เป็นเหตุผิดปกติวิสัยของคนทำธุรกิจครับที่ไม่ขยายกิจการ ในเมื่อมีทรัพยกรพร้อมchatchai เขียน: การหลับหูหลับตาซื้อแต่สินค้าจากบริษัทคนไทย คงไม่ช่วยอะไรมากนัก เพราะจะทำให้บริษัทเหล่านั้นไม่พัฒนาครับ
เช่น อุตสาหกรรมธนาคารพาณิชย์ไทย แล้วจะออกไปแข่งกับชาวโลกได้อย่างไร จริงไหมครับ
ที่ผมพูดก็แค่หวังดีต่อประเทศ และคิดว่าคงไม่มีใครสงสัยนะครับ ว่าการซื้อสินค้าคนไทยเป็นสิ่งที่ดีแน่นอน วิกฤติคราวที่แล้วก็มีสาเหตุจากเหตุผลขาดดุลการค้า ซึ่งสัมพันธ์โดยตรงกับเหตุผลนี้ ชาติที่เกินดุลการค้ามากกว่าประชาชนจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าแน่นอน(ยกเว้นเมกามีเหตุผลอื่น)
ผมรู้สึกขมขื่นใจที่เพื่อนร่วมชาติต้องไปขายแรงงาน-ขายตัวในต่างประเทศ (ลองคิดถึงคุณภาพชีวิตของครอบครัวคนที่ต้องจากลูก-เมีย-สามี ไปทำงานอย่างนั้นซิครับ) ทั้งที่หากเรามีความชาตินิยมทางการค้า จะไม่เกิดเหตุการณ์อย่างนี้หรืออย่างน้อยก็จะลดลง
ประเทศที่ใช้แนวทางนี้ในการพัฒนาประเทศต้นแบบคือญี่ปุ่น ต่อมาเป็นเกาหลี ไต้หวัน มาเลเซีย และล่าสุดแม้ยังไม่ชัดเจนคือจีน แนวทางชาตินิยมทางเศรษกิจก็รัฐคือการคัดเลือกกลุ่มบริษัท-สินค้า ที่มีศักยภาพที่จะแข่งขัน (ใหญ่และดีอันดับ1เท่านั้น) หลังจากนั้นก็สนับสนุนทั้งทางตรง ทางอ้อม (นโยบายชาตินิยมทางเศรษกิจ)ให้บริษัทนั้นเติบโต จนมีขนาดใหญ่ ยิ่งใหญ่เท่าไหร่ยิ่งดี บริษัทที่ใหญ่จะมีความสามารถที่จะไปลงทุน ไปตั้งโรงงานในต่างประเทศ อย่างเกาหลีก็จะมี 5 กลุ่มเรียกว่าแชโบล ซึ่แต่ก่อนเป็นบริษัทเล็กๆ แต่รัฐและประชาชนสนับสนุน จนทุกวันนี้เราก็ต้องใช้สินค้าของกลุ่มแชโบลนี้
การสนับสนุนต้องมีการแทรกแซง ไม่ใช่อุดหนุนไปแล้ว บริษัทใหญ่โตเจ้าของกิจการนำเงินไปผลาญนะครับ อย่างถ้าเมืองไทยเราสนับสนุนให้มีแต่แบงค์กรุงเทพ ไม่แน่ว่าธนาคารนี้จะเป็นธนาคารระดับภูมิภาคไปแล้วนะครับ ธุรกิจธนาคารอาจจะไม่ชัดเจน เพราะอาศัยความน่าเชื่อถือค่อนข้างมาก ธนาคารจากประเทศมหาอำนาจ จะมีความได้เปรียบชัดเจน แต่หากเป็นอุตสาหกรรมผลิตจะชัดเจนกว่าครับ อย่างหากเราอุดหนุนสหพัฒต์ หรือ ปตท. หรือปูนซิเมนไทย ก็ดูจะมีโอกาสมากกว่ากิจการธนาคารครับ
ปกติสินค้าผู้ผลิตคนไทย & สินค้านำเข้า คุณภาพเปรียบเทียบกับราคาก็มักจะไม่แตกต่างกันมาก ผมเข้าใจว่าส่วนใหญ่ถูกกว่าด้วยซ้ำ (เพราะต้นทุนถูกกว่า) หลายคนอาจจะซื้อของนอกเพราะสังคมมีค่านิยมฝรั่ง เห็นผมสีแดงเป็นความศิวิไล แต่เวลาที่ผมซื้อสินค้าคนไทย(ที่ราคาคุณภาพไม่ด้อยหรืออาจจะดีกว่า) ผมจะมีความภาคภูมิใจเหมือนซื้อได้ซื้อสินค้าจากคนที่เรารัก คนที่เรารู้จัก บอกความรู้สึกไม่ถูกเหมือนกันว่าเป็นอย่างไร 8)
เขียนประเด็นนี้แล้วยากทุกที :lol:
อาจจะไม่ถูกใจหลายท่าน แต่ประเด็นนี้ความคิด-จุดยืนผมชัดเจนเสมอ
การลงทุนคืออาหารอร่อยที่สุดเมื่อเย็นดีแล้ว
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 9795
- ผู้ติดตาม: 0
ในที่สุด จีนก็ปรับค่าเงินหยวน และเปลี่ยนระบบ
โพสต์ที่ 16
คาดกันว่า จีนอาจจะจัดระบบตะกร้าเงินโดยอิงเงินดอลล่าร์และเงินสกุลเอเชียmarketwatch.com เขียน: "The main conclusion as far as we are concerned is that, if the U.S. wants this change to result in a lower dollar/yuan it will have to accept - or even encourage - a weaker dollar against other major currencies like the euro and yen," said currency analysts at Bear Stearns.
Bear Stearns added that it suspects the market will think that China's basket it weighted to Asian currencies, in addition to the dollar, and so may see the dollar weaken towards these currencies but not so such against western currencies like the euro.
"Hence the best positions are those long of Asian currencies against either the dollar or (perhaps better still) the euro," the broker said.
เป็นหลัก
นักวิเคราะห์จึงแนะนำให้ซื้อเงินสกุลเอเชียทั้งหลาย (โดยเฉพาะเยน) เทียบกับ
ดอลล่าร์และถ้าจะให้ดียูโร
ไทยบาทเลยโดนอานิสงส์ไปด้วย
กลายเป็นว่า บาทน่าจะแข็งขึ้นเมื่อเทียบกับยูเอสดอลล่าร์และยูโร
แล้วส่งออกเราจะกระทบไหม จะขาดดุลเพิ่มอีกหรือเปล่า ความหวังที่ว่าสินค้า
จีนจะขายได้น้อยลง แล้วสินค้าไทยจะขายได้มากขึ้น จะเป็นแค่ความฝันหรือเปล่า
ทำไมเรามองในแง่ร้ายอยู๋คนเดียว :lovl:
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 11444
- ผู้ติดตาม: 1
ในที่สุด จีนก็ปรับค่าเงินหยวน และเปลี่ยนระบบ
โพสต์ที่ 17
ผมเคยทำงานอยู่ในวงการธนาคารในช่วงเปลี่ยนถ่ายพอดี เห็นความแตกต่างที่เกิดขึ้นในช่วงก่อนที่จะให้ต่างชาติเข้ามาทำธุรกิจมากขึ้น
ในอดีตที่ธนาคารไทยมีการปกป้องจาก ธปท. ด้วยเหตุผลว่าไม่มีความแข็งแกร่งเพียงพอที่จะแข่งขันได้
วันเวลาผ่านไปหลายสิบปี เจ้าสัวธนาคารทั้งหลายก็กอบโกยกำไรเข้ากระเป๋ามากมาย รวมทั้งยังมีการปล่อยสินเชื่อให้พวกพ้อง
มีการปรับปรุงอะไรไหม นอกจากเสวยสุข มาตรฐานการบริการก็เหมือนเดิมๆ การบริหารความเสี่ยงก็แย่
แต่พอวิกฤตเกิดขึ้น ธปท.จำเป็นต้องเปิดให้ต่างชาติเข้ามาซื้อกิจการที่กำลังจะล้ม อะไรเกิดขึ้นหลังจากนั้น
การบริการที่ยอดเยี่ยม มีการเปิดบริการในช่วงวันหยุด มีการเปิดสาขาในห้างสรรพสินค้า การแข่งขันกันด้านสินเชื่อ และอื่นๆอีกมาก
ทำไมก่อนวิกฤต ก่อนที่ต่างชาติจะมา ถึงไม่มีธนาคารพาณิชย์ไทยไหนคิดจะทำ
แล้วถ้าไม่มีวิกฤต ไม่มีต่างชาติเข้ามา สิ่งต่างๆเหล่านี้จะเกิดขึ้นหรือไม่ หรือว่าท่านเจ้าสัวทั้งหลายก็ยังทำงานไปวันๆและเสวยสุขไปอีกหลายชั่วคน
ในอดีตที่ธนาคารไทยมีการปกป้องจาก ธปท. ด้วยเหตุผลว่าไม่มีความแข็งแกร่งเพียงพอที่จะแข่งขันได้
วันเวลาผ่านไปหลายสิบปี เจ้าสัวธนาคารทั้งหลายก็กอบโกยกำไรเข้ากระเป๋ามากมาย รวมทั้งยังมีการปล่อยสินเชื่อให้พวกพ้อง
มีการปรับปรุงอะไรไหม นอกจากเสวยสุข มาตรฐานการบริการก็เหมือนเดิมๆ การบริหารความเสี่ยงก็แย่
แต่พอวิกฤตเกิดขึ้น ธปท.จำเป็นต้องเปิดให้ต่างชาติเข้ามาซื้อกิจการที่กำลังจะล้ม อะไรเกิดขึ้นหลังจากนั้น
การบริการที่ยอดเยี่ยม มีการเปิดบริการในช่วงวันหยุด มีการเปิดสาขาในห้างสรรพสินค้า การแข่งขันกันด้านสินเชื่อ และอื่นๆอีกมาก
ทำไมก่อนวิกฤต ก่อนที่ต่างชาติจะมา ถึงไม่มีธนาคารพาณิชย์ไทยไหนคิดจะทำ
แล้วถ้าไม่มีวิกฤต ไม่มีต่างชาติเข้ามา สิ่งต่างๆเหล่านี้จะเกิดขึ้นหรือไม่ หรือว่าท่านเจ้าสัวทั้งหลายก็ยังทำงานไปวันๆและเสวยสุขไปอีกหลายชั่วคน
จงอยู่เหนือความดี อย่าหลงความดี
-
- Verified User
- โพสต์: 2509
- ผู้ติดตาม: 1
ในที่สุด จีนก็ปรับค่าเงินหยวน และเปลี่ยนระบบ
โพสต์ที่ 18
น่าจะดีนะครับCK เขียน: ไทยบาทเลยโดนอานิสงส์ไปด้วย
กลายเป็นว่า บาทน่าจะแข็งขึ้นเมื่อเทียบกับยูเอสดอลล่าร์และยูโร
จากเรื่องลอยตัวเงินหยวน ผมว่าของเราเมื่อเทียบกับภูมิภาคแล้วน่าจะแข็งขึ้นน้อยกว่าเพื่อนนะ เพราะตัวเลขในประเทศเรามันเชิญชวนให้เงินบาทอ่อนค่าอยู่ก่อนหน้าแล้ว พอมาเจอเรื่องนี้เลยมีแนวโน้มแข็งค่ามา balance กันพอดี
(ดูเหมือนค่าเงินบาทจะกลายเป็นนิ่งๆ ได้)
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 6483
- ผู้ติดตาม: 1
ในที่สุด จีนก็ปรับค่าเงินหยวน และเปลี่ยนระบบ
โพสต์ที่ 19
เรื่องการปกป้องกิจการธนาคาร จนไม่มีการพัฒนา เป็นสิ่งที่ผมเห็นด้วยครับพี่ โดยเฉพาะการไม่เปิดบริการในวันหยุด ผมก็ไม่รู้เหมือนกันว่ามันจะเสียหายตรงไหน จำได้ว่ารายแรกๆที่เปิดในวันหยุดคือธนาคารเอเชีย ซึ่งโดนซื้อโดยกลุ่มเอบีเอ็น เอ็มโรของเนเธอแลนด์
แต่เรื่องอื่นๆผมไม่ค่อยเห็นด้วยครับพี่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการปล่อยกู้ให้พวกพ้อง การไม่ควบคุมคุณภาพสินเชื่อ ความเสี่ยง เพราะหลายๆธนาคารที่ได้ชื่อว่าเป็นธนาคารที่ดี เช่น ธนาคารไทยพานิชย์หรือบริษัทเงินทุนทิสโก้ ซึ่งเป็นสุดยอดของบริษัทเงินทุน สุดท้ายเจอวิกฤติยังแทบเจ๊งต้องมาขอให้ทางการช่วยเพิ่มทุน ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นไม่ใช่ว่าธนาคารเหล่านั้นไม่ควบคุมความเสี่ยง แต่มันควบคุมไม่ได้ เพราะนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนเป็นความเสี่ยงระดับประเทศ และธนาคารที่กล่าวมาก็มีธรรมภิบาลค่อนข้างดี การปล่อยกู้หละหลวม ให้พวกพ้องคงจะมีน้อย ตอนวิกฤตเศรษกิจแม้แต่ลูกหนี้ที่ดี ผมคิดว่าหลายรายก็จนปัญญาที่จะจ่ายหนี้ครับ
แต่ถึงแม้ว่าธนาคารส่วนใหญ่ไม่มีการพัฒนา เพราะได้รับการปกป้อง แต่ผมก็คิดว่าไม่ใช่ข้ออ้างที่จะไม่ส่งเสริมสินค้าของคนไทยนะครับ ที่จริงภาคธนาคารเป็นแค่เสี้ยวหนึ่งของธุรกิจทั้งประเทศ ยังมีอีกหลายๆธุรกิจโดยเฉพาะภาคการผลิตที่แท้จริง ธุรกิจเหล่านี้บางส่วนก็ไม่ได้รับการคุ้มครองนะครับ แล้วเราควรจะอุดหนุนผู้ผลิตคนไทยเหล่านั้นหรือเปล่า
หลายธุรกิจที่เคยได้ชื่อว่าเป็นอุตสาหกรรมเฒ่าทารก คือได้รับการคุ้มครองจนไม่พัฒนา และเวลาผ่านไป มีการลงทุนเพิ่ม มีการขยายกำลังการผลิต มีการคลัสเตอร์การผลิตที่เข้มแข็ง จนพอที่จะแข่งขันในตลาดโลกได้้ ที่เห็นได้ชัดเจนคือธุรกิจยานยนต์ ธุรกิจปิโตรเคมี ซึ่งจ้างงานคนไทยนับแสน มีคนที่เกี่ยวข้องนับล้านคนนะครับ ถ้าเราไม่ปกป้อง ปล่อยให้นำเข้าเสรีตั้งแต่ต้น เราคงไม่มีวันนี้
บางครั้งการปกป้องจากภาครัฐในระยะแรกก็ไม่ใช่สิ่งที่แย่เสมอไป เหมือนพ่อแม่ที่มีลูกเล็กลูกอ่อน ก็ต้องปกป้องลูกมากเป็นธรรมดา ในโลกทุนนิยมผู้ผลิตรายเล็กๆไม่มีสิทธิ์ที่จะเติบโตได้หรอกครับ อ่านข่าวทุกวันนี้มีแต่การควบรวม (Consolidate) เพื่อให้ใหญ่ที่สุด อย่างทางการจีนพยายามที่จะให้กิจการอุตสาหกรรมควบรวมกันให้มากที่สุดให้ใหญ่ที่สุด รวมไปถึงการทุ่มเงินซื้อกิจการในต่างประเทศ อย่างที่เป็นข่าว อย่างนี้เรียกว่าจีนรู้เท่าทันเกมทุนนิยมหรือเปล่า ผมคิดว่าใช่
ไทยไม่ช่วยไทย แล้วใครจะช่วยเรา
บางครั้งเวลามีปัญหา เราก็ไปโทษคนโน้นคนนี้ ไปโทษประเทศอื่น โทษเฮจฟันด์ โทษจอร์จ โซรอส ไปโทษ IMF แต่เราไม่เคยโทษตัวเองเลย ก็ถ้าเราไม่มีแผล แล้วเชื้อโรคจะเข้ามาได้อย่างไรกัน ใช่ใหมครับ 8)
แต่เรื่องอื่นๆผมไม่ค่อยเห็นด้วยครับพี่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการปล่อยกู้ให้พวกพ้อง การไม่ควบคุมคุณภาพสินเชื่อ ความเสี่ยง เพราะหลายๆธนาคารที่ได้ชื่อว่าเป็นธนาคารที่ดี เช่น ธนาคารไทยพานิชย์หรือบริษัทเงินทุนทิสโก้ ซึ่งเป็นสุดยอดของบริษัทเงินทุน สุดท้ายเจอวิกฤติยังแทบเจ๊งต้องมาขอให้ทางการช่วยเพิ่มทุน ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นไม่ใช่ว่าธนาคารเหล่านั้นไม่ควบคุมความเสี่ยง แต่มันควบคุมไม่ได้ เพราะนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนเป็นความเสี่ยงระดับประเทศ และธนาคารที่กล่าวมาก็มีธรรมภิบาลค่อนข้างดี การปล่อยกู้หละหลวม ให้พวกพ้องคงจะมีน้อย ตอนวิกฤตเศรษกิจแม้แต่ลูกหนี้ที่ดี ผมคิดว่าหลายรายก็จนปัญญาที่จะจ่ายหนี้ครับ
แต่ถึงแม้ว่าธนาคารส่วนใหญ่ไม่มีการพัฒนา เพราะได้รับการปกป้อง แต่ผมก็คิดว่าไม่ใช่ข้ออ้างที่จะไม่ส่งเสริมสินค้าของคนไทยนะครับ ที่จริงภาคธนาคารเป็นแค่เสี้ยวหนึ่งของธุรกิจทั้งประเทศ ยังมีอีกหลายๆธุรกิจโดยเฉพาะภาคการผลิตที่แท้จริง ธุรกิจเหล่านี้บางส่วนก็ไม่ได้รับการคุ้มครองนะครับ แล้วเราควรจะอุดหนุนผู้ผลิตคนไทยเหล่านั้นหรือเปล่า
หลายธุรกิจที่เคยได้ชื่อว่าเป็นอุตสาหกรรมเฒ่าทารก คือได้รับการคุ้มครองจนไม่พัฒนา และเวลาผ่านไป มีการลงทุนเพิ่ม มีการขยายกำลังการผลิต มีการคลัสเตอร์การผลิตที่เข้มแข็ง จนพอที่จะแข่งขันในตลาดโลกได้้ ที่เห็นได้ชัดเจนคือธุรกิจยานยนต์ ธุรกิจปิโตรเคมี ซึ่งจ้างงานคนไทยนับแสน มีคนที่เกี่ยวข้องนับล้านคนนะครับ ถ้าเราไม่ปกป้อง ปล่อยให้นำเข้าเสรีตั้งแต่ต้น เราคงไม่มีวันนี้
บางครั้งการปกป้องจากภาครัฐในระยะแรกก็ไม่ใช่สิ่งที่แย่เสมอไป เหมือนพ่อแม่ที่มีลูกเล็กลูกอ่อน ก็ต้องปกป้องลูกมากเป็นธรรมดา ในโลกทุนนิยมผู้ผลิตรายเล็กๆไม่มีสิทธิ์ที่จะเติบโตได้หรอกครับ อ่านข่าวทุกวันนี้มีแต่การควบรวม (Consolidate) เพื่อให้ใหญ่ที่สุด อย่างทางการจีนพยายามที่จะให้กิจการอุตสาหกรรมควบรวมกันให้มากที่สุดให้ใหญ่ที่สุด รวมไปถึงการทุ่มเงินซื้อกิจการในต่างประเทศ อย่างที่เป็นข่าว อย่างนี้เรียกว่าจีนรู้เท่าทันเกมทุนนิยมหรือเปล่า ผมคิดว่าใช่
ไทยไม่ช่วยไทย แล้วใครจะช่วยเรา
บางครั้งเวลามีปัญหา เราก็ไปโทษคนโน้นคนนี้ ไปโทษประเทศอื่น โทษเฮจฟันด์ โทษจอร์จ โซรอส ไปโทษ IMF แต่เราไม่เคยโทษตัวเองเลย ก็ถ้าเราไม่มีแผล แล้วเชื้อโรคจะเข้ามาได้อย่างไรกัน ใช่ใหมครับ 8)
การลงทุนคืออาหารอร่อยที่สุดเมื่อเย็นดีแล้ว
-
- Verified User
- โพสต์: 1266
- ผู้ติดตาม: 0
ในที่สุด จีนก็ปรับค่าเงินหยวน และเปลี่ยนระบบ
โพสต์ที่ 20
กลุ่มเหล็ก กำลังจะเป็นเครื่องพิสูจน์ในอนาคต แต่ก็แปลกใจ เหล็กจากญี่ปุ่น ซึ่งค่าครองชีพในประเทศสูงมาก จะมาตีตลาดไทยได้ แสดงว่าภาคการผลิตเราห่างชั้นเขามากๆ แล้วเหล็กก็เป็นวัตถุดิบต้นน้ำของอีกหลายอุตสาหกรรมด้วย ถ้าอุ้มอุตสาหกรรมเหล็ก แล้วอุตฯปลายน้ำบริโภคเหล็กแพง จะส่งออกสู้กับชาติอื่นได้อย่างไรลูกอิสาน เขียน: หลายธุรกิจที่เคยได้ชื่อว่าเป็นอุตสาหกรรมเฒ่าทารก คือได้รับการคุ้มครองจนไม่พัฒนา และเวลาผ่านไป มีการลงทุนเพิ่ม มีการขยายกำลังการผลิต มีการคลัสเตอร์การผลิตที่เข้มแข็ง จนพอที่จะแข่งขันในตลาดโลกได้้ ที่เห็นได้ชัดเจนคือธุรกิจยานยนต์ ธุรกิจปิโตรเคมี ซึ่งจ้างงานคนไทยนับแสน มีคนที่เกี่ยวข้องนับล้านคนนะครับ ถ้าเราไม่ปกป้อง ปล่อยให้นำเข้าเสรีตั้งแต่ต้น เราคงไม่มีวันนี้
ความรู้คู่เปรียบด้วย
-
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 9795
- ผู้ติดตาม: 0
ในที่สุด จีนก็ปรับค่าเงินหยวน และเปลี่ยนระบบ
โพสต์ที่ 21
เห็นด้วยครับบางครั้งเวลามีปัญหา เราก็ไปโทษคนโน้นคนนี้ ไปโทษประเทศอื่น โทษเฮจฟันด์ โทษจอร์จ โซรอส ไปโทษ IMF แต่เราไม่เคยโทษตัวเองเลย ก็ถ้าเราไม่มีแผล แล้วเชื้อโรคจะเข้ามาได้อย่างไรกัน ใช่ใหมครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 1435
- ผู้ติดตาม: 0
ในที่สุด จีนก็ปรับค่าเงินหยวน และเปลี่ยนระบบ
โพสต์ที่ 22
ผมเห็นด้วยกับทั้ง พี่ฉัตรชัย และ คุณลูกอิสาน
เจ้าสัวเสวยสุข บริหารไม่โปร่งใส ผลประโยชน์ถ่ายเข้าพวกพ้อง
ไทยต้องช่วยไทย เหมือนฟุตบอล ดูญี่ปุ่น เค้าช่วยกันเต็มที่ เลยพัฒนาได้ แต่ทุกคนต้องช่วยกันอย่างจริงใจ
โทษตัวเอง แล้วหันมาดูจริงจังว่า ผิดตรงไหน แก้ไข แล้วครั้งหน้าจะไม่พลาดซ้ำอีก
คนมีเงินมาลงทุนแสดงว่า ไม่อดอยาก แต่คนยากจนยังมีอีกมาก ที่ได้รับผลกระทบรุนแรงกว่าพวกเราเยอะ สอนให้เค้ารู้จักหารายได้ แบบยั่งยืนบ้าง
.... ก็คงจะดี
เจ้าสัวเสวยสุข บริหารไม่โปร่งใส ผลประโยชน์ถ่ายเข้าพวกพ้อง
ไทยต้องช่วยไทย เหมือนฟุตบอล ดูญี่ปุ่น เค้าช่วยกันเต็มที่ เลยพัฒนาได้ แต่ทุกคนต้องช่วยกันอย่างจริงใจ
โทษตัวเอง แล้วหันมาดูจริงจังว่า ผิดตรงไหน แก้ไข แล้วครั้งหน้าจะไม่พลาดซ้ำอีก
คนมีเงินมาลงทุนแสดงว่า ไม่อดอยาก แต่คนยากจนยังมีอีกมาก ที่ได้รับผลกระทบรุนแรงกว่าพวกเราเยอะ สอนให้เค้ารู้จักหารายได้ แบบยั่งยืนบ้าง
.... ก็คงจะดี
กฎข้อที่1 อย่ายอมขาดทุน กฎข้อที่2 กลับไปดูกฎข้อที่ 1