เรามาเขียน annual letter กันเถอะ
- Nevercry.boy
- Verified User
- โพสต์: 4641
- ผู้ติดตาม: 0
เรามาเขียน annual letter กันเถอะ
โพสต์ที่ 1
ทุก ๆ ปี วอร์เรน บัฟเฟตต์ เขียน จม ถึง นลท
แกตั้งใจเขียนมากนะผมเห็น ผบห ไทย หลายคนเขียนแบบหน้าเดียวบางทีไม่ถึง
ความในใจความผิดพลาดปรัชญาอารมณ์ขันสำบัดสำนวน อยู่ครบและให้สาธารณชนอ่านทุกคนเลยทั้งโลก
น่าทำนะ ผมเห็น นายกโจ เขียนในทู้แก อันนี้ดีนะ
อยากเห็นคนอื่นเขียนอีก ทั้ง จารย์เด็กใหม่ จารย์หมอเล็ก จารย์หมอหนึ่ง คุณนุช น้องสายชล คุณชัยธร ด็อกเตอร์วิม คุณออฟชอร์ คุณมิราเคิล น้องก้องกิตติ k.anomaly น้องรุ่นใหม่หลายคนและทุกท่านนั่นแหละมันน่าอ่านนะ
เขียนเถอะ please. แล้วผมจะตามไปอ่าน
แกตั้งใจเขียนมากนะผมเห็น ผบห ไทย หลายคนเขียนแบบหน้าเดียวบางทีไม่ถึง
ความในใจความผิดพลาดปรัชญาอารมณ์ขันสำบัดสำนวน อยู่ครบและให้สาธารณชนอ่านทุกคนเลยทั้งโลก
น่าทำนะ ผมเห็น นายกโจ เขียนในทู้แก อันนี้ดีนะ
อยากเห็นคนอื่นเขียนอีก ทั้ง จารย์เด็กใหม่ จารย์หมอเล็ก จารย์หมอหนึ่ง คุณนุช น้องสายชล คุณชัยธร ด็อกเตอร์วิม คุณออฟชอร์ คุณมิราเคิล น้องก้องกิตติ k.anomaly น้องรุ่นใหม่หลายคนและทุกท่านนั่นแหละมันน่าอ่านนะ
เขียนเถอะ please. แล้วผมจะตามไปอ่าน
เด็กผู้ชายไม่ร้องไห้
http://nevercry-boy.blogspot.com/
http://nevercry-boy.blogspot.com/
-
- Verified User
- โพสต์: 2547
- ผู้ติดตาม: 0
Re: เรามาเขียน annual letter กันเถอะ
โพสต์ที่ 2
ผมรออ่านอยู่เหมือนกันครับพี่ โดยเฉพาะของพี่ NBNevercry.boy เขียน:ทุก ๆ ปี วอร์เรน บัฟเฟตต์ เขียน จม ถึง นลท
แกตั้งใจเขียนมากนะผมเห็น ผบห ไทย หลายคนเขียนแบบหน้าเดียวบางทีไม่ถึง
ความในใจความผิดพลาดปรัชญาอารมณ์ขันสำบัดสำนวน อยู่ครบและให้สาธารณชนอ่านทุกคนเลยทั้งโลก
น่าทำนะ ผมเห็น นายกโจ เขียนในทู้แก อันนี้ดีนะ
อยากเห็นคนอื่นเขียนอีก ทั้ง จารย์เด็กใหม่ จารย์หมอเล็ก จารย์หมอหนึ่ง คุณนุช น้องสายชล คุณชัยธร ด็อกเตอร์วิม คุณออฟชอร์ คุณมิราเคิล น้องก้องกิตติ k.anomaly น้องรุ่นใหม่หลายคนและทุกท่านนั่นแหละมันน่าอ่านนะ
เขียนเถอะ please. แล้วผมจะตามไปอ่าน
Circle of competence
I don't think it's as difficult to figure out competence as it may appear.
If you're 5-foot-2, you don't have much future in the NBA.
What I need to get ahead is to be better than idiots.
Charlie Munger
I don't think it's as difficult to figure out competence as it may appear.
If you're 5-foot-2, you don't have much future in the NBA.
What I need to get ahead is to be better than idiots.
Charlie Munger
- dome@perth
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4741
- ผู้ติดตาม: 1
Re: เรามาเขียน annual letter กันเถอะ
โพสต์ที่ 5
รอเข้ามาอ่านครับ
"ไม่มีสุตรสำเร็จ ไม่มีทางลัด ไม่ใช่แค่โชค
หนทางจะได้มาซึ่ง อิสระภาพทางการเงิน
มันมาจาก ความขยัน การไขว่คว้า หาความรู้
เชื่อและตั้งมั้นในหลักการลงทุนที่ถูกต้อง"
หนทางจะได้มาซึ่ง อิสระภาพทางการเงิน
มันมาจาก ความขยัน การไขว่คว้า หาความรู้
เชื่อและตั้งมั้นในหลักการลงทุนที่ถูกต้อง"
-
- Verified User
- โพสต์: 18364
- ผู้ติดตาม: 1
Re: เรามาเขียน annual letter กันเถอะ
โพสต์ที่ 9
รออ่านของพี่ NB ก่อนครับ
แต่ของผมก็อ่านได้ที่
http://board.thaivi.org/viewtopic.php?f=14&t=56618
แบบคร่าวๆๆครับ
แต่ของผมก็อ่านได้ที่
http://board.thaivi.org/viewtopic.php?f=14&t=56618
แบบคร่าวๆๆครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 2547
- ผู้ติดตาม: 0
Re: เรามาเขียน annual letter กันเถอะ
โพสต์ที่ 10
บัฟเฟทบอกอะไรในจดหมายปี 2014 ให้เราได้เรียนรู้ เอามา share กันครับ
เป็นข้อคิดที่ดีมากครับ
http://www.stock2morrow.com/showthread.php?t=57333
บัฟเฟตต์บอกอะไรเราในรายงานประจำปี 2014
สำหรับบทความชิ้นนี้ของวอเร็น บัฟเฟตต์ที่ให้สัมภาษณ์กับ CNBC เกี่ยวกับงาน ประชุมประจำปีของเบิร์กไซด ฮาธาเวย์ที่กำลังจะมีขึ้นในปี 2014
เป็นเรื่องที่น่าแปลกมากคือ วอเร็น บัฟเฟตต์หันไปลงทุนอสังหาริมทรัพย์และทำฟาร์ม ที่มลรัฐเนบราสก้า ... ทั้งสองกรณี บัฟเฟตต์ได้ซื้อมันเมื่อวิกฤตฟองสบู่อสังหาได้ผ่านพ้นไปแล้ว และบัฟเฟตต์ ก็ไม่ถนัดในการลงทุนอสังหาริมทรัพย์เลย นี้ถือเป็นประสบการณ์ครั้งแรกที่เขาลงทุนในสิ่งที่เขาไม่ถนัด (เพราะโดยปกติแล้ว บัฟเฟตต์แนะนำว่า เราควรจะลงทุนในสิ่งที่ตัวเราเองรู้จริงๆ)
บัฟเฟตต์คิดว่าการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ครั้งนี้ จะสามารถสร้างกำไรได้ แต่เขาก็ไม่ได้คาดหวังว่า มันจะทำกำไรได้อย่างถล่มทลาย
"สำหรับการลงทุนฟาร์มและอสังหาครั้งนี้ ผมคิดว่ามันจะสร้างผลิตผลที่ดี และไม่เคยใส่ใจในการประเมินมูลค่าของพวกมันทุกวัน ... ผู้เล่นที่จะชนะเกมได้นั้นคือผู้เล่นที่มีสมาธิอยู่กับสนามแข่ง ไม่ใช่ผู้เล่นที่เอาแต่จ้องมองกระดานนับคะแนน" (หมายถึง นักลงทุนที่ประสบความสำเร็จต้องมุ่งมั่นอยู่กับสิ่งที่เรายึดมั่น ไม่ใช่การนั่งเฝ้ากระดานหุ้นทุกวัน)
เขาเตือนว่า "อย่าให้ความแปรปรวนของราคาหุ้นเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการไม่มีเหตุผลของเรา เพราะไม่เช่นนั้นแล้วนักลงทุนก็จะมีพฤติกรรมแปรปรวนไปพร้อมกับตลาด"
นอกจากนี้ บัฟเฟตต์ยังแนะนำว่า อย่าพยายามใส่ใจกับเศรษฐกิจมหภาคจนเกินไป การพยายามทำนายตลาดเป็นเรื่องเสียเวลาเปล่า
เขาจำได้ว่าตอนเขาซื้อสินทรัพย์ในปี 1986 และปี 1993 ภาพใหญ่ของเศรษฐกิจก็ไม่ได้สนับสนุนให้เขาลงทุนสิ่งนั้นมากสักเท่าไร "ผมจำไม่ได้ว่าข่าวพาดหัวหนังสือพิมพ์ และผู้รู้พูดอะไรบ้างในตอนนั้น แต่ไม่ว่าเขาจะพูดอะไรก็ตาม ข้าวโพดก็ยังปลูกในเนบราสก้าต่อไป นักเรียนยังคงต้องเดินทางไปเรียนที่มหาวิทยาลัยต่อ" (บัฟเฟตต์ต้องการเปรียบเทียบว่า ไม่ว่าผู้รู้จะพูดอะไร เศรษฐกิจยังคงต้องขับเคลื่อนต่อไป วิถีชีวิตคนเรายังต้องกินต้องใช้อยู่ทุกๆวัน)
สุดท้าย วอเร็น บัฟเฟตต์แนะนำหลักพื้นฐานการลงทุน 3 ข้อ ที่นักลงทุนควรปฏิบัติ
- หยุดฟังเสียงผู้ที่ชอบทำนายตลาด (Chatter หมายถึง คนที่ชอบพูด แต่บริบทน่าจะแปลว่า คนที่ชอบพูดถึงตลาดหุ้นไปเรื่อยเปื่อย)
- ทำต้นทุนให้ต่ำที่สุด (พยายามซื้อขายให้น้อยครั้งที่สุด เพราะยิ่งซื้อขายน้อยเท่าไร ต้นทุนยิ่งต่ำมากเท่านั้น)
- ลงทุนในหุ้นที่คุณอยากจะเก็บไว้ในฟาร์มของคุณ (หมายถึง ลงทุนในหุ้นที่คุณเชื่อมั่นว่ามันดีในพอร์ตโฟลิโอของคุณ)
His bottom line fundamental advice: "Ignore the chatter, keep your costs minimal, and invest in stocks as you would in a farm."
ผู้แปล : SiTh LoRd PaCk
บทความนำมาจาก http://www.cnbc.com/id/101440326
เป็นข้อคิดที่ดีมากครับ
http://www.stock2morrow.com/showthread.php?t=57333
บัฟเฟตต์บอกอะไรเราในรายงานประจำปี 2014
สำหรับบทความชิ้นนี้ของวอเร็น บัฟเฟตต์ที่ให้สัมภาษณ์กับ CNBC เกี่ยวกับงาน ประชุมประจำปีของเบิร์กไซด ฮาธาเวย์ที่กำลังจะมีขึ้นในปี 2014
เป็นเรื่องที่น่าแปลกมากคือ วอเร็น บัฟเฟตต์หันไปลงทุนอสังหาริมทรัพย์และทำฟาร์ม ที่มลรัฐเนบราสก้า ... ทั้งสองกรณี บัฟเฟตต์ได้ซื้อมันเมื่อวิกฤตฟองสบู่อสังหาได้ผ่านพ้นไปแล้ว และบัฟเฟตต์ ก็ไม่ถนัดในการลงทุนอสังหาริมทรัพย์เลย นี้ถือเป็นประสบการณ์ครั้งแรกที่เขาลงทุนในสิ่งที่เขาไม่ถนัด (เพราะโดยปกติแล้ว บัฟเฟตต์แนะนำว่า เราควรจะลงทุนในสิ่งที่ตัวเราเองรู้จริงๆ)
บัฟเฟตต์คิดว่าการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ครั้งนี้ จะสามารถสร้างกำไรได้ แต่เขาก็ไม่ได้คาดหวังว่า มันจะทำกำไรได้อย่างถล่มทลาย
"สำหรับการลงทุนฟาร์มและอสังหาครั้งนี้ ผมคิดว่ามันจะสร้างผลิตผลที่ดี และไม่เคยใส่ใจในการประเมินมูลค่าของพวกมันทุกวัน ... ผู้เล่นที่จะชนะเกมได้นั้นคือผู้เล่นที่มีสมาธิอยู่กับสนามแข่ง ไม่ใช่ผู้เล่นที่เอาแต่จ้องมองกระดานนับคะแนน" (หมายถึง นักลงทุนที่ประสบความสำเร็จต้องมุ่งมั่นอยู่กับสิ่งที่เรายึดมั่น ไม่ใช่การนั่งเฝ้ากระดานหุ้นทุกวัน)
เขาเตือนว่า "อย่าให้ความแปรปรวนของราคาหุ้นเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการไม่มีเหตุผลของเรา เพราะไม่เช่นนั้นแล้วนักลงทุนก็จะมีพฤติกรรมแปรปรวนไปพร้อมกับตลาด"
นอกจากนี้ บัฟเฟตต์ยังแนะนำว่า อย่าพยายามใส่ใจกับเศรษฐกิจมหภาคจนเกินไป การพยายามทำนายตลาดเป็นเรื่องเสียเวลาเปล่า
เขาจำได้ว่าตอนเขาซื้อสินทรัพย์ในปี 1986 และปี 1993 ภาพใหญ่ของเศรษฐกิจก็ไม่ได้สนับสนุนให้เขาลงทุนสิ่งนั้นมากสักเท่าไร "ผมจำไม่ได้ว่าข่าวพาดหัวหนังสือพิมพ์ และผู้รู้พูดอะไรบ้างในตอนนั้น แต่ไม่ว่าเขาจะพูดอะไรก็ตาม ข้าวโพดก็ยังปลูกในเนบราสก้าต่อไป นักเรียนยังคงต้องเดินทางไปเรียนที่มหาวิทยาลัยต่อ" (บัฟเฟตต์ต้องการเปรียบเทียบว่า ไม่ว่าผู้รู้จะพูดอะไร เศรษฐกิจยังคงต้องขับเคลื่อนต่อไป วิถีชีวิตคนเรายังต้องกินต้องใช้อยู่ทุกๆวัน)
สุดท้าย วอเร็น บัฟเฟตต์แนะนำหลักพื้นฐานการลงทุน 3 ข้อ ที่นักลงทุนควรปฏิบัติ
- หยุดฟังเสียงผู้ที่ชอบทำนายตลาด (Chatter หมายถึง คนที่ชอบพูด แต่บริบทน่าจะแปลว่า คนที่ชอบพูดถึงตลาดหุ้นไปเรื่อยเปื่อย)
- ทำต้นทุนให้ต่ำที่สุด (พยายามซื้อขายให้น้อยครั้งที่สุด เพราะยิ่งซื้อขายน้อยเท่าไร ต้นทุนยิ่งต่ำมากเท่านั้น)
- ลงทุนในหุ้นที่คุณอยากจะเก็บไว้ในฟาร์มของคุณ (หมายถึง ลงทุนในหุ้นที่คุณเชื่อมั่นว่ามันดีในพอร์ตโฟลิโอของคุณ)
His bottom line fundamental advice: "Ignore the chatter, keep your costs minimal, and invest in stocks as you would in a farm."
ผู้แปล : SiTh LoRd PaCk
บทความนำมาจาก http://www.cnbc.com/id/101440326
Circle of competence
I don't think it's as difficult to figure out competence as it may appear.
If you're 5-foot-2, you don't have much future in the NBA.
What I need to get ahead is to be better than idiots.
Charlie Munger
I don't think it's as difficult to figure out competence as it may appear.
If you're 5-foot-2, you don't have much future in the NBA.
What I need to get ahead is to be better than idiots.
Charlie Munger
-
- Verified User
- โพสต์: 2547
- ผู้ติดตาม: 0
Re: เรามาเขียน annual letter กันเถอะ
โพสต์ที่ 11
มีบทความหนึ่งผมคิดว่าเป็นประสบการณ์ที่สำคัญที่น่าจะตกผลึกถึงวิธีคิด ซึ่งทำให้เราได้เรียนรู้อย่างมาก บทความนี้เขียนเมื่อปี 2552
ลองดูดัชนีตลาดที่มีผู้รวบรวมไว้ในปีนั้นครับ
https://www.facebook.com/notes/thailand ... comments=7
บทความที่ผมพูดถึงคือ บทความชื่อ การตัดสินใจครั้งสำคัญ
http://portal.settrade.com/blog/nivate/2009/08/16/611
บทความนี้ได้ชี้ให้เห็นประเด็นเรื่องที่สำคัญในการลงทุนคือ การตัดสินใจครั้งสำคัญ ซึ่งเป็นบทความของอาจารย์ ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร ที่เราเคารพรักนั้นเอง
http://portal.settrade.com/blog/nivate/2009/08/16/611
ข้อความหนึ่งซึ่งผมคิดว่าเป็นบทเรียนอมตะที่เราน่าจะนำไปคิดอยู่ตรงนี้ครับ
ลองดูดัชนีตลาดที่มีผู้รวบรวมไว้ในปีนั้นครับ
https://www.facebook.com/notes/thailand ... comments=7
บทความที่ผมพูดถึงคือ บทความชื่อ การตัดสินใจครั้งสำคัญ
http://portal.settrade.com/blog/nivate/2009/08/16/611
บทความนี้ได้ชี้ให้เห็นประเด็นเรื่องที่สำคัญในการลงทุนคือ การตัดสินใจครั้งสำคัญ ซึ่งเป็นบทความของอาจารย์ ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร ที่เราเคารพรักนั้นเอง
http://portal.settrade.com/blog/nivate/2009/08/16/611
ข้อความหนึ่งซึ่งผมคิดว่าเป็นบทเรียนอมตะที่เราน่าจะนำไปคิดอยู่ตรงนี้ครับ
เอามาฝาก Share ในกระทู้นี้ของพี่ NB ครับในเรื่องของหุ้นเอง วอเร็น บัฟเฟตต์ เคยพูดไว้ว่า เวลาจะลงทุนซื้อหุ้นแต่ละตัวนั้น ให้คิดว่าในชีวิตนี้เรามีสิทธิ์ที่จะซื้อได้เพียง 20 ตัว ดังนั้น เราก็จะต้องคิดหนักว่าเราจะซื้อตัวไหน เราจะต้องเลือกหุ้นที่มีความแข็งแกร่งสุดยอด มี “ป้อมค่ายและคูเมืองป้องกันข้าศึก” ที่ทนทานถาวร และกิจการจะต้องโตไปได้เรื่อย ๆ เป็นสิบ ๆ ปี ถ้าคิดได้ดังนี้ การซื้อหุ้นแต่ละตัวของเราก็จะไม่ค่อยพลาด และผลตอบแทนก็จะน่าประทับใจ อย่าตัดสินใจซื้อขายหุ้นมากมายไปเรื่อย ๆ เพราะสิ่งนี้มักจะไม่สร้างความแตกต่างให้กับชีวิตเรา เราควรตัดสินใจน้อยครั้งและเป็นครั้งสำคัญ ๆ เพราะนี่คือสิ่งที่จะทำให้เราประสบความสำเร็จในการลงทุน แน่นอน ไม่ได้หมายความว่าเราจะต้องซื้อหุ้นเพียง 20 ตัวในชีวิต แต่ผมเชื่อว่า อาจจะมีหุ้นเพียง 20 ตัวในชีวิตเท่านั้นที่สร้างความสำเร็จทั้งหมดในการลงทุนของเรา ส่วนหุ้นอื่น ๆ อาจจะเป็นร้อย ๆ ตัวนั้น ไม่ได้สร้างความแตกต่างอะไรกับผลการลงทุนของเราเลย ดังนั้น เราไปซื้อทำไม?
ในความคิดของผม ในชีวิตของคนเรานั้น มีจุดหรือช่วงเวลาสำคัญที่เราจะต้องตัดสินใจแบบ Strategic Decision ไม่กี่เรื่องหรือไม่กี่ครั้ง ถ้าตัดสินใจถูก เราอาจจะ “สบายไปตลอด” หรือ “ประสบความสำเร็จงดงามไปเรื่อย ๆ” หรือ “มีความสุขมาก” ไปอีกนาน ปัญหาที่พบก็คือ คนจำนวนมากไม่รู้หรือไม่เข้าใจว่าเรื่องไหนเป็นเรื่องที่เป็น “การตัดสินใจครั้งสำคัญของชีวิต” ดังนั้น เขาไม่ได้ให้เวลาหรือให้การพิจารณาหรือวิเคราะห์อย่างเพียงพอ บางทีเขาก็อาจจะใช้อารมณ์ในการตัดสินใจมากกว่าเหตุผล ผลที่ตามมาก็คือ มันเป็นการตัดสินใจที่แย่และเขาก็ต้องรับกับความเลวร้าย หรือความสำเร็จพื้น ๆ ไปตลอดไม่ว่าจะพยายามทำงานหรือต่อสู้มากแค่ไห
Circle of competence
I don't think it's as difficult to figure out competence as it may appear.
If you're 5-foot-2, you don't have much future in the NBA.
What I need to get ahead is to be better than idiots.
Charlie Munger
I don't think it's as difficult to figure out competence as it may appear.
If you're 5-foot-2, you don't have much future in the NBA.
What I need to get ahead is to be better than idiots.
Charlie Munger
-
- Verified User
- โพสต์: 2547
- ผู้ติดตาม: 0
Re: เรามาเขียน annual letter กันเถอะ
โพสต์ที่ 12
ซื้อหุ้นตามผู้มีชื่อเสียงและติดชื่อเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ มีประเด็นความเสี่ยงอย่างไร
อาจารย์ไพบูลย์ ที่เราเคารพนับถือได้เขียนจดหมาย 555 สื่อให้นักลงทุนทราบโดยทั่วกันครับ ขออนุญาตอาจารย์ด้วยในการมาสื่อความต่อครับ เพราะจะเป็นประโยชน์กับนักลงทุนทุกคนด้วยครับ
อาจารย์ย้ำว่า การอ่านข้อมูลการถือหุ้นของผู้มีชื่อเสียงและติดผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่มีการประกาศนั้น แล้วนักลงทุนชอบลอกการบ้านและซ์้อหุ้นตามนั้น อาจารย์ให้ข้อคิดตอนสุดท้ายว่า
อย่าเลือกหรือซื้อเพราะเห็นชื่อคนอื่นๆ เลยครับ
แต่หากซื้อเพราะเชื่อถือในชื่อคนที่เราซื้อตาม ก็กรุณาอย่าพาดพิงถึงหากไม่ได้ผลตามที่คาดนะครับ
พูดง่าย ๆ คือ อ่านข้อมูลแล้ว ไปซื้อตามเองแล้ว สุดท้ายไม่ได้รับผลตอบแทนที่คาดหวังสูง ๆ หรือไม่ได้ตามคาดหวัง หรือขาดทุนด้วย ก็อย่าโทษกัน เพราะเราเป็นคนตัดสินใจลงทุนตามเองครับ
https://th-th.facebook.com/MoneyTalkTV?filter=1
อาจารย์ไพบูลย์ ที่เราเคารพนับถือได้เขียนจดหมาย 555 สื่อให้นักลงทุนทราบโดยทั่วกันครับ ขออนุญาตอาจารย์ด้วยในการมาสื่อความต่อครับ เพราะจะเป็นประโยชน์กับนักลงทุนทุกคนด้วยครับ
อาจารย์ย้ำว่า การอ่านข้อมูลการถือหุ้นของผู้มีชื่อเสียงและติดผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่มีการประกาศนั้น แล้วนักลงทุนชอบลอกการบ้านและซ์้อหุ้นตามนั้น อาจารย์ให้ข้อคิดตอนสุดท้ายว่า
อย่าเลือกหรือซื้อเพราะเห็นชื่อคนอื่นๆ เลยครับ
แต่หากซื้อเพราะเชื่อถือในชื่อคนที่เราซื้อตาม ก็กรุณาอย่าพาดพิงถึงหากไม่ได้ผลตามที่คาดนะครับ
พูดง่าย ๆ คือ อ่านข้อมูลแล้ว ไปซื้อตามเองแล้ว สุดท้ายไม่ได้รับผลตอบแทนที่คาดหวังสูง ๆ หรือไม่ได้ตามคาดหวัง หรือขาดทุนด้วย ก็อย่าโทษกัน เพราะเราเป็นคนตัดสินใจลงทุนตามเองครับ
https://th-th.facebook.com/MoneyTalkTV?filter=1
ขออนุญาตพี่ NB มาถ่ายทอดในกระทู้นี้ครับผมมีเรื่องส่วนตัวที่สร้างความอึดอัดใจอยู่เรื่องหนึ่งครับ
คือการมีรายชื่อเป็นผู้ถือหุ้นที่ซื้อไว้
การมีชื่อเป็นผู้ถือหุ้นในตลาดหลักทรัพย์
ปกติทางตลาดหลักทรัพย์จะเผยแพร่ชื่อ หากถือหุ้นเกิน 0.5%
ผมเข้าใจว่ามีนักลงทุนบางส่วนที่เลือกซื้อหุ้นตามรายชื่อผู้ถือหุ้น
ส่วนใหญ่เพราะเชื่อว่าผู้ถือหุ้นที่มีรายชื่อและตัวเองเชื่อถือ น่าจะได้คัดเลือกหุ้นมาเป็นอย่างดีแล้ว
ซึ่งประเด็นนี้เกิดขึ้นกับรายชื่อของผมเองด้วย แม้ว่าไม่มากเท่ากับคนอื่นๆอีกหลายคน
ปกติ หากเป็นไปได้ ผมจะหลีกเลี่ยงการถือหุ้นจนต้องติดรายชื่อที่ตลาดหลักทรัพย์ประกาศ
แต่หลายกรณีก็หลีกเลี่ยงไม่ได้ เช่น
บริษัทมีขนาดไม่ใหญ่นัก ทำให้ติดรายชื่อผู้ถือหุ้นได้ง่าย
หรือ ถือหุ้นของบริษัทนั้นๆมานาน อาจจะตั้งแต่ก่อนเข้าตลาด
และตั้งใจถือไปเรื่อยๆ ด้วยเหตุผลที่แตกต่างกันตามสถานการณ์
ผมจะอึดอัดใจมาก เมื่อมีนักลงทุนซื้อหุ้นนั้นเพราะเห็นรายชื่อผม
ทั้งนี้เพราะ
หลายครั้ง ผมอาจจะขายหุ้นนั้นไปแล้ว แต่ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงในรายชื่อที่ตลาดหลักทรัพย์ประกาศ
หลายครั้ง ผมถือเพราะมีความสัมพันธ์กับผู้บริหาร ถือหุ้นไว้เป็นเพื่อนกัน
หลายครั้ง ผมถือเพราะรับปากกับเจ้าของว่าจะถือไปเป็นเวลาระยะหนึ่ง
หลายครั้ง ผมพลาด ลงทุนผิด คาดการณ์ผิด และรอเวลาขายอยู่
หลายครั้ง ผมถือเพียงแต่เป็นการพักเงินระยะไม่ยาวนัก แต่อาจจะถือหุ้นคล่อมช่วงปิดทะเบียนรายชื่อพอดี
และความอึดอัดใจผมจะมากเป็นพิเศษ
เมื่อมีการกล่าวอ้างกล่าวถึงผมว่ามีส่วนในการทำให้นักลงทุนคนนั้นๆ สนใจลงทุนในหุ้นดังกล่าว
จะซื้อหุ้นลงทุนก็เลือกซื้อกันด้วยตัวเองนะครับ
หาความรู้มากๆ รู้จักหุ้นรู้จักบริษัทในดีที่สุดแล้วตัดสินใจ
อย่าเลือกหรือซื้อเพราะเห็นชื่อคนอื่นๆ เลยครับ
แต่หากซื้อเพราะเชื่อถือในชื่อคนที่เราซื้อตาม ก็กรุณาอย่าพาดพิงถึงหากไม่ได้ผลตามที่คาดนะครับ
Circle of competence
I don't think it's as difficult to figure out competence as it may appear.
If you're 5-foot-2, you don't have much future in the NBA.
What I need to get ahead is to be better than idiots.
Charlie Munger
I don't think it's as difficult to figure out competence as it may appear.
If you're 5-foot-2, you don't have much future in the NBA.
What I need to get ahead is to be better than idiots.
Charlie Munger
-
- Verified User
- โพสต์: 2547
- ผู้ติดตาม: 0
Re: เรามาเขียน annual letter กันเถอะ
โพสต์ที่ 13
อีกเรื่องหนึ่งที่มาจากการถ่ายทอดของนักลงทุนสุดยอดที่น่าสนใจครับ
https://th-th.facebook.com/MoneyTalkTV?filter=1
โดยคุณประภาคารได้นำความเห็นของเซียนหุ้นระดับโลกอย่าง “ปีเตอร์ ลินซ์” และ “วอร์เรน บัฟเฟตต์” ต่อประเด็น “ผู้บริหารที่ดี กับธุรกิจที่แย่” มาถ่ายทอดให้พวกเราได้อ่าน
โดยเฉพาะของ “วอร์เรน บัฟเฟตต์” นั้น คุณประภาคารยังได้นำบทเรียนสอนใจที่ “บัฟเฟตต์” เล่าไว้ในจดหมายถึงผู้ถือหุ้นของเขา ถึงความผิดพลาดในการตัดสินใจซื้อหุ้นของ Berkshire Hathaway และ Hochschild Kohn
ซึ่งเป็นที่มาของวลีดังที่ว่า “การซื้อบริษัทชั้นเยี่ยมในราคาที่เหมาะสมเป็นสิ่งดีกว่าการซื้อบริษัทธรรมดาๆ ในราคาถูก”
https://th-th.facebook.com/MoneyTalkTV?filter=1
โดยคุณประภาคารได้นำความเห็นของเซียนหุ้นระดับโลกอย่าง “ปีเตอร์ ลินซ์” และ “วอร์เรน บัฟเฟตต์” ต่อประเด็น “ผู้บริหารที่ดี กับธุรกิจที่แย่” มาถ่ายทอดให้พวกเราได้อ่าน
โดยเฉพาะของ “วอร์เรน บัฟเฟตต์” นั้น คุณประภาคารยังได้นำบทเรียนสอนใจที่ “บัฟเฟตต์” เล่าไว้ในจดหมายถึงผู้ถือหุ้นของเขา ถึงความผิดพลาดในการตัดสินใจซื้อหุ้นของ Berkshire Hathaway และ Hochschild Kohn
ซึ่งเป็นที่มาของวลีดังที่ว่า “การซื้อบริษัทชั้นเยี่ยมในราคาที่เหมาะสมเป็นสิ่งดีกว่าการซื้อบริษัทธรรมดาๆ ในราคาถูก”
ขออนุญาตนำมาไว้ในกระทู้พี่ NB ครับทความตอนที่แล้วผมกล่าวถึงคุณสมบัติผู้บริหารที่พึงปรารถนาของบรรดาเซียนหุ้นระดับโลก ซึ่งส่วนใหญ่มองในแนวทางเดียวกันว่า ต้องเป็นคนที่มีความสามารถ ซื่อสัตย์ และเชื่อถือได้
แต่ลำพังแค่ผู้บริหารมีคุณสมบัติที่ดีนั้นยังไม่เพียงพอ ตัวกิจการที่เขาบริหารก็ต้องมีคุณสมบัติที่ดีด้วยเช่นเดียวกัน ถ้ากิจการมีพื้นฐานที่ไม่ดีพอ หรือมีแนวโน้มที่จะย่ำแย่ เช่น กิจการที่อยู่ในอุตสาหกรรมตะวันตกดิน หรือกิจการที่ไม่มีความสามารถในการแข่งขัน หรือกิจการเกี่ยวกับสินค้าโภคภัณฑ์ที่อยู่ในวงจรขาลง ต่อให้ผู้บริหารมีฝีมือเก่งกล้าสามารถ ก็อาจจะทำผลงานออกมาให้ดีได้ยาก และผู้ที่จะได้รับผลกระทบตามไปด้วยก็คือนักลงทุนซึ่งเป็นเจ้าของส่วนหนึ่งของกิจการนั่นเอง
“ปีเตอร์ ลินซ์” จึงให้คำแนะนำไว้ว่า “ความสามารถด้านการบริหารอาจมีความสำคัญ แต่ก็เป็นเรื่องที่ประเมินได้ยาก จึงควรซื้อหุ้นโดยดูจากอนาคตของบริษัท ไม่ใช่ดูจากประวัติหรือความสามารถในการพูดของผู้บริหาร” ใช่แล้วครับ ถ้าอนาคตของบริษัทมีแนวโน้มที่จะย่ำแย่ ผู้บริหารที่ว่าแน่ก็อาจ “เอาไม่อยู่”
เหมือนดังที่ “วอร์เรน บัฟเฟตต์” กล่าวเปรียบเทียบไว้ว่า “นักขี่ม้าที่เก่งจะฉายแววบนหลังม้าที่ดี ไม่ใช่ม้าแก่ซึ่งสุขภาพทรุดโทรม”
“บัฟเฟตต์” เคยมีบทเรียนสอนใจในเรื่องนี้มาแล้ว เขาเล่าไว้ในจดหมายถึงผู้ถือหุ้นของเขาว่า เป็นความผิดพลาดที่ตัดสินใจซื้อหุ้นของบริษัท Berkshire Hathaway ซึ่งทำธุรกิจสิ่งทอ และบริษัท Hochschild Kohn ซึ่งเป็นห้างสรรพสินค้าในบัลติมอร์ เวลานั้นทั้ง 2 บริษัทมีราคาต่ำกว่ามูลค่าตามบัญชี ซึ่งเขาเห็นว่าเป็นราคาที่ถูกมาก โดยไม่ได้คำนึงว่าอนาคตของกิจการไม่ได้สดใสแต่อย่างใด
แม้คุณสมบัติของผู้บริหารบริษัททั้งสองจะเป็นที่ยอมรับของ “บัฟเฟตต์” แต่ก็ไม่สามารถประคับประคองกิจการให้ดีขึ้นได้ “ทั้งธุรกิจสิ่งทอของ Berkshire และ Hochschild Kohn ต่างก็มีผู้บริหารที่เก่งและซื่อสัตย์ ผู้บริหารระดับนี้ หากไปบริหารธุรกิจดีๆ ผลลัพธ์จะออกมาดีเยี่ยม อย่างไรก็ตาม พวกเขาคงก้าวหน้าไปไหนไม่ได้ หากอยู่ในทรายดูด”
ทำให้ในเวลาต่อมา “บัฟเฟตต์” ต้องตัดสินใจปิดกิจการด้านสิ่งทอของ Berkshire Hathaway และปรับเปลี่ยนโมเดลธุรกิจให้เป็น Holding Company หรือบริษัทด้านการลงทุนมาจนถึงทุกวันนี้ ส่วนบริษัท Hochschild Kohn ก็ถูกขายทิ้งไปหลังจากทนถือไว้นานถึง 3 ปี ซึ่งเขาบอกว่าเป็นโชคดีมากๆ ที่สามารถขายออกไปได้ในราคาเท่าทุน
และนั่นทำให้ “บัฟเฟตต์” ได้ข้อสรุปว่า “เมื่อผู้บริหารซึ่งมีชื่อเสียงว่าสามารถทำงานได้อย่างดีเยี่ยมมาบริหารธุรกิจซึ่งมีชื่อเสียงว่าอยู่ในสภาพย่ำแย่ ชื่อเสียงของธุรกิจจะเป็นสิ่งที่ยังคงอยู่”
หลังจากนั้น “บัฟเฟตต์” จึงได้ปรับเปลี่ยนมุมมองในการลงทุน จากการเน้นที่ “ราคา” มาเน้นที่ “คุณภาพ” มากขึ้น “การซื้อบริษัทชั้นเยี่ยมในราคาที่เหมาะสมเป็นสิ่งดีกว่าการซื้อบริษัทธรรมดาๆ ในราคาถูก” แนวทางดังกล่าวส่งผลให้เขาประสบความสำเร็จ กลายเป็นนักลงทุนที่มีผลงานโดดเด่นต่อเนื่องยาวนานที่สุดคนหนึ่งของโลก
และนี่คือคำแนะนำที่ “บัฟเฟตต์” ให้ไว้สำหรับนักลงทุน “สิ่งที่คุณต้องการก็คือ ซื้อธุรกิจที่มีพื้นฐานดี มีผู้บริหารที่ซื่อสัตย์ ในราคาที่สมเหตุสมผล จากนั้นหน้าที่ของคุณก็เพียงแค่คอยติดตามว่าคุณภาพเหล่านั้นยังคงอยู่หรือไม่เท่านั้นเอง”
Circle of competence
I don't think it's as difficult to figure out competence as it may appear.
If you're 5-foot-2, you don't have much future in the NBA.
What I need to get ahead is to be better than idiots.
Charlie Munger
I don't think it's as difficult to figure out competence as it may appear.
If you're 5-foot-2, you don't have much future in the NBA.
What I need to get ahead is to be better than idiots.
Charlie Munger
- Nevercry.boy
- Verified User
- โพสต์: 4641
- ผู้ติดตาม: 0
Re: เรามาเขียน annual letter กันเถอะ
โพสต์ที่ 14
ผมเป็นที่ปรึกษาทางด้านไอทีมากว่า 20 ปีครับ คติหนึ่งในการทำงานของผมคือ "ความรู้ถ่ายทอดได้ความลับไม่ถ่ายทอด"chaitorn เขียน:ซื้อหุ้นตามผู้มีชื่อเสียงและติดชื่อเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ มีประเด็นความเสี่ยงอย่างไร
อาจารย์ไพบูลย์ ที่เราเคารพนับถือได้เขียนจดหมาย 555 สื่อให้นักลงทุนทราบโดยทั่วกันครับ ขออนุญาตอาจารย์ด้วยในการมาสื่อความต่อครับ เพราะจะเป็นประโยชน์กับนักลงทุนทุกคนด้วยครับ
อาจารย์ย้ำว่า การอ่านข้อมูลการถือหุ้นของผู้มีชื่อเสียงและติดผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่มีการประกาศนั้น แล้วนักลงทุนชอบลอกการบ้านและซ์้อหุ้นตามนั้น อาจารย์ให้ข้อคิดตอนสุดท้ายว่า
อย่าเลือกหรือซื้อเพราะเห็นชื่อคนอื่นๆ เลยครับ
แต่หากซื้อเพราะเชื่อถือในชื่อคนที่เราซื้อตาม ก็กรุณาอย่าพาดพิงถึงหากไม่ได้ผลตามที่คาดนะครับ
พูดง่าย ๆ คือ อ่านข้อมูลแล้ว ไปซื้อตามเองแล้ว สุดท้ายไม่ได้รับผลตอบแทนที่คาดหวังสูง ๆ หรือไม่ได้ตามคาดหวัง หรือขาดทุนด้วย ก็อย่าโทษกัน เพราะเราเป็นคนตัดสินใจลงทุนตามเองครับ
https://th-th.facebook.com/MoneyTalkTV?filter=1
ขออนุญาตพี่ NB มาถ่ายทอดในกระทู้นี้ครับผมมีเรื่องส่วนตัวที่สร้างความอึดอัดใจอยู่เรื่องหนึ่งครับ
คือการมีรายชื่อเป็นผู้ถือหุ้นที่ซื้อไว้
การมีชื่อเป็นผู้ถือหุ้นในตลาดหลักทรัพย์
ปกติทางตลาดหลักทรัพย์จะเผยแพร่ชื่อ หากถือหุ้นเกิน 0.5%
ผมเข้าใจว่ามีนักลงทุนบางส่วนที่เลือกซื้อหุ้นตามรายชื่อผู้ถือหุ้น
ส่วนใหญ่เพราะเชื่อว่าผู้ถือหุ้นที่มีรายชื่อและตัวเองเชื่อถือ น่าจะได้คัดเลือกหุ้นมาเป็นอย่างดีแล้ว
ซึ่งประเด็นนี้เกิดขึ้นกับรายชื่อของผมเองด้วย แม้ว่าไม่มากเท่ากับคนอื่นๆอีกหลายคน
ปกติ หากเป็นไปได้ ผมจะหลีกเลี่ยงการถือหุ้นจนต้องติดรายชื่อที่ตลาดหลักทรัพย์ประกาศ
แต่หลายกรณีก็หลีกเลี่ยงไม่ได้ เช่น
บริษัทมีขนาดไม่ใหญ่นัก ทำให้ติดรายชื่อผู้ถือหุ้นได้ง่าย
หรือ ถือหุ้นของบริษัทนั้นๆมานาน อาจจะตั้งแต่ก่อนเข้าตลาด
และตั้งใจถือไปเรื่อยๆ ด้วยเหตุผลที่แตกต่างกันตามสถานการณ์
ผมจะอึดอัดใจมาก เมื่อมีนักลงทุนซื้อหุ้นนั้นเพราะเห็นรายชื่อผม
ทั้งนี้เพราะ
หลายครั้ง ผมอาจจะขายหุ้นนั้นไปแล้ว แต่ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงในรายชื่อที่ตลาดหลักทรัพย์ประกาศ
หลายครั้ง ผมถือเพราะมีความสัมพันธ์กับผู้บริหาร ถือหุ้นไว้เป็นเพื่อนกัน
หลายครั้ง ผมถือเพราะรับปากกับเจ้าของว่าจะถือไปเป็นเวลาระยะหนึ่ง
หลายครั้ง ผมพลาด ลงทุนผิด คาดการณ์ผิด และรอเวลาขายอยู่
หลายครั้ง ผมถือเพียงแต่เป็นการพักเงินระยะไม่ยาวนัก แต่อาจจะถือหุ้นคล่อมช่วงปิดทะเบียนรายชื่อพอดี
และความอึดอัดใจผมจะมากเป็นพิเศษ
เมื่อมีการกล่าวอ้างกล่าวถึงผมว่ามีส่วนในการทำให้นักลงทุนคนนั้นๆ สนใจลงทุนในหุ้นดังกล่าว
จะซื้อหุ้นลงทุนก็เลือกซื้อกันด้วยตัวเองนะครับ
หาความรู้มากๆ รู้จักหุ้นรู้จักบริษัทในดีที่สุดแล้วตัดสินใจ
อย่าเลือกหรือซื้อเพราะเห็นชื่อคนอื่นๆ เลยครับ
แต่หากซื้อเพราะเชื่อถือในชื่อคนที่เราซื้อตาม ก็กรุณาอย่าพาดพิงถึงหากไม่ได้ผลตามที่คาดนะครับ
พวกเราที่เสพแนวทางของครูแต่ละท่าน ควรลอก "กระบวนการ" แต่อย่าลอกข้อสอบนะครับ
ขอบคุณคุณชัยธรมากครับ
เด็กผู้ชายไม่ร้องไห้
http://nevercry-boy.blogspot.com/
http://nevercry-boy.blogspot.com/
- todsapon
- Verified User
- โพสต์: 1137
- ผู้ติดตาม: 0
Re: เรามาเขียน annual letter กันเถอะ
โพสต์ที่ 15
งั้นผมเขียนเลยนะครับ
ผมขอฝากแก่นักลงทุน 3 ข้อ
ข้อ 1. อย่าขาดทุน
ข้อ 2. อย่าขาดทุน
ข้อ 3. หันไปดูข้อ 1.
ถ้าตกหลุมอย่าขุดหลุมให้ลึกลงไปอีก
ผมขอฝากแก่นักลงทุน 3 ข้อ
ข้อ 1. อย่าขาดทุน
ข้อ 2. อย่าขาดทุน
ข้อ 3. หันไปดูข้อ 1.
ถ้าตกหลุมอย่าขุดหลุมให้ลึกลงไปอีก
ผลตอบแทน 15% ต่อปีก็พอ
กำไรเมื่อซื้อ มิใช่กำไรเมื่อขาย
การได้ทำอะไรที่ตนเองชอบและมีปัจจัยสี่พร้อมเพียงคือสุดยอดแห่งความสุข
ขอยืมเงินหน่อยครับ
กำไรเมื่อซื้อ มิใช่กำไรเมื่อขาย
การได้ทำอะไรที่ตนเองชอบและมีปัจจัยสี่พร้อมเพียงคือสุดยอดแห่งความสุข
ขอยืมเงินหน่อยครับ