What George Soros said in interview with CNBC
- chaiyos
- Verified User
- โพสต์: 177
- ผู้ติดตาม: 0
What George Soros said in interview with CNBC
โพสต์ที่ 1
What George Soros said in interview with CNBC
Excerpts from CNBC - TV18s exclusive interview with George Soros, Founder and Chairman of Soros Fund Management:
Q: You have made so much money anticipating sizeable changes in the financial markets. How do you see things and what is happening?
A: I think we are in a situation where almost all the asset classes will be under pressure or are under pressure and the main reason for that is the reduction in liquidity. What people do not realize is that the Japanese Central Bank has withdrawn something over USD 200 billion worth of excess liquidity from Japanese banks. Now that money was not put to work in Japan because there was no room for it, a lot of that went abroad, went into emerging markets, there was a so-called carry trade and it is not that suddenly people are risk averse. It is really that liquidity has been drawn out of the market and that is affecting emerging markets. So the markets went down because Latin America was hit.
Q: We are seeing that over the last month I guess, that this expectation that the strain in liquidity will continue. How do you invest in the light of interest rates going up around the world and this idea that you just do not have the liquidity that you had a year or two years ago?
A: Hedge funds are in a fortunate position, they can go both ways but it is a very difficult period here because there is a certain sequence and one does not quite know what the sequence is. Clearly there is a making of a slow down due to the softness of the housing market, but it has not yet had its effect. In the meantime, we have cost inflation pressures so you are caught in a double whammy, that the economy is slowing down or expected to slow down but you still have to fight inflation.
Q: The last time Bernanke spoke, he said that the consumer is slowing down noticeably. I know you have been all around the world, you are going to Turkey. Tell me why Turkey and what do you think of opportunities around the world, we look at 10% growth in China or the 8% growth in India and people want to know how do you participate in this tremendous growth around the world?
A: There is a tremendous amount of money pouring into those markets and that is where the liquidity squeeze is most felt, so Turkey has been a particularly vulnerable market in this correction. There is also some political problems, although economically Turkey is very dynamic and the longer term is very attractive. But there is a lot of problems with accession to the European Union, in addition to the liquidity problem.
Q: When you look at Turkey and some of the other emerging markets, are you looking at the political stability as being the most important or are you looking at economic growth. What is it that you look to lead you in terms of finding new opportunities?
A: I am not doing it now. So I would say that it is really is more of finding good situations and economies that are in good shape. Emerging markets have been very good investments and will be again but they are more subject to volatility and swings and they were overdone.
Q: Let me ask you about what has been happening in commodities and currencies. Commodities has been such an incredible bull market.
A: It really has been sort of a parabolic rise and you know that it is something that cannot last very long and one also does not know how far it goes and the last bit is always the best bit. But they have broken now and I think commodities are in for a period of correction.
Q: Even though a lot of people say that China has an enormous demand for oil. You are seeing India and you are seeing this need for infrastructure and with that comes a whole new demand.
A: It is somewhat overdone on the speculative side, otherwise people would have bought a little too much. People have got into hedge funds that do not normally engage in commodities. Commodities have become an asset class and people have invested in them. As an asset class it is now vulnerable and ofcourse the biggest asset class that is vulnerable is real estate. We know that there is a slowdown in the residential houses in the US and it also is a worldwide phenomenon.
Q: What does that do to the currency of any particular country? Would you expect that as we see this slowdown happening whether it is America or these emerging markets that the currency gets hit or does the currency gets propped up because of the interest rates moving higher?
A: The moment we reach the peak of interest rates, the dollar is liable to come under pressure, which is in some ways a good thing because you have a fundamental imbalance that needs to be corrected. However, exchange rate movements will have to be quite extreme to correct those things by themselves.
Q: The question that a lot of people ask is are there just too many hedge funds? Is there a bubble in hedge funds right now?
A: It is not a bubble; it is probably a self-correcting thing. There are a lot of them and when they become the market then it is much harder to outperform the market, so it will correct itself.
Q: Whether it is hedge funds or whether it is war in Iraq, all of these issues do impact the financial markets. Let me get to your book, why did you write this book?
A: I really wanted to lay out my philosophy, my approach to the world and apply to the present moment in history because we are in a very difficult period and our difficulties are very largely our own making because of my view of reflexivity and so on. Misconceptions play a very important role in shaping history.
Q: Misconceptions about the war on Iraq or misconceptions about what you are trying to do on terrorism?
A: I think the war on terror actually is a forced metaphor that people have accepted as the only way or the natural way to deal with terrorism. And yet it is the wrong way to deal with terrorism because a war by its very nature creates innocent victims and when you wage war on terrorists who keep themselves hidden, it is more likely that you hit the wrong people and if you wage war on abstraction like the war on terror, there is no limit to what you can do.
Having innocent victims, that is exactly what we abhor in terrorism, that terrorists kill innocent people for political goals and waging war on terror we are actually going the same way. And we are perceived the same way by those who are on the receiving end of the war on terror and that is how we have had sympathy of the world on 9/11 and now we really have the whole world against us. You have people in Iraq who were never happy with Saddam actually finding the American troops and the Iraqi troops a greater danger to them, than the insurrection itself.
Q: Were you surprised that we didnt get a reaction due to the fact that Zarqawi was caught and killed? Last week I was expecting that we would even see a market reaction since Zarqawi is one of their most well known terrorists?
A: Zarqawi has done an untold amount of damage but the damage will continue because the insurrection will continue. Our reaction to him has touched of a situation of effective civil war and we now have the insurrection that we have to fight. There are death squads that have developed in the Iraqi police and army, we have to fight that too. So we are sitting on a civil war and by sitting on it, we are keep it at low frequency so to speak. 40 people die if we got off and our, the whole thing would blow up and we would have a real humanitarian disaster. So we cannot stay and we cannot leave. That's a quagmire and that's where we are.
Q: I like the idea that you put in the book this letter from the White House talking about America being at war. You of course have been a real critic of the Bush administration. Have you spoken to President Bush?
A: No, neither has he spoken to me.
Q: So no reaction to your criticism of the way this country is going. Do you think this is one of the foundations of sort of these ideas that we are seeing some protectionism? When you look around the world I wonder how you feel about the Dubai ports deal was stopped, you had CNOOK trying to acquire an American oil company, tell me the ramifications of this, the consequences of war on business?
A: That is an unfortunate side effect because Dubai really is our ally and it would not have changed anything in the port security. Now there was a lot of criticism that we do not have enough security. So it was a wonderful opportunity for people to oppose the administration.
But I think it was actually an unfortunate thing and the Unocal deal was particularly unfortunate because it pushes China into supporting countries Sudan, Angola, Uzbekistani where they had the massacre, all the outlaws. They say that if we cannot do it legitimately, we have to look. So it is very disruptive the world over.
Q: In the book you said everybody says we should not have gone into Iraq, what should we have done?
A: I think we need a different approach. We must not make war and terror the centerpiece of our policy. As the leading nation in the world, the dominant power, we have a unique responsibility to be concerned with the common needs of humanity, in addition to our narrow self-interest. You have got issues like global warming, climate change or the proliferation of nuclear arms, which is now the problem of Iraq. It is more pressing, and a bigger threat than Iraq ever was. Now it is not something that we can possibly solve on our own, so we need to strengthen our international institutions.
United Nations is on the verge of shutting down because we are not willing to pay our share of fees at the end of this month. So we are not behaving as responsible citizens of the world and particularly being the strongest and since there is greater need for co-operation, we ought to be leading that instead of being an obstacle.
Q: Give me your thoughts on emerging economies like China and India? Should these countries be worried?
A: We should be worried about our over consumption. Basically the rise of China and India is a very positive force for the world economy. That is why the world economy is so strong, because those are large new markets that are opening up. It ought to be a positive development provided we werent consuming a lot more and saving a lot less than we ought to.
Q: Last couple of months the market have been so focused on what is going on around the world and with Bernankes comments - how would you characterize Ben Bernanke so far?
A: He has got a difficult job because he is the new man on the block. I actually think that the Federal Reserve is trying to be far sighted. Look around the curve and anticipate the decline in consumption, that will eventually come from the slowdown in housing and not raise interest rates.
However, he needs to establish the ability therefore he is liable to be pushed into having to raise interest rates further. There will be an overshoot on the interest rates and that is one of the factors that is affecting the market.
Q: It sounds like you are more worried about the slowdown as opposed to the inflation.
A: Yes, it is coming in six months time. In the mean time if one does not raise interest rate then maybe it does not come. Maybe housing re-ignites.
Q: You are talking about the consequences, if not America then where. Give me one country?
A: I think right now, cash preferably and not dollars, is king.
Excerpts from CNBC - TV18s exclusive interview with George Soros, Founder and Chairman of Soros Fund Management:
Q: You have made so much money anticipating sizeable changes in the financial markets. How do you see things and what is happening?
A: I think we are in a situation where almost all the asset classes will be under pressure or are under pressure and the main reason for that is the reduction in liquidity. What people do not realize is that the Japanese Central Bank has withdrawn something over USD 200 billion worth of excess liquidity from Japanese banks. Now that money was not put to work in Japan because there was no room for it, a lot of that went abroad, went into emerging markets, there was a so-called carry trade and it is not that suddenly people are risk averse. It is really that liquidity has been drawn out of the market and that is affecting emerging markets. So the markets went down because Latin America was hit.
Q: We are seeing that over the last month I guess, that this expectation that the strain in liquidity will continue. How do you invest in the light of interest rates going up around the world and this idea that you just do not have the liquidity that you had a year or two years ago?
A: Hedge funds are in a fortunate position, they can go both ways but it is a very difficult period here because there is a certain sequence and one does not quite know what the sequence is. Clearly there is a making of a slow down due to the softness of the housing market, but it has not yet had its effect. In the meantime, we have cost inflation pressures so you are caught in a double whammy, that the economy is slowing down or expected to slow down but you still have to fight inflation.
Q: The last time Bernanke spoke, he said that the consumer is slowing down noticeably. I know you have been all around the world, you are going to Turkey. Tell me why Turkey and what do you think of opportunities around the world, we look at 10% growth in China or the 8% growth in India and people want to know how do you participate in this tremendous growth around the world?
A: There is a tremendous amount of money pouring into those markets and that is where the liquidity squeeze is most felt, so Turkey has been a particularly vulnerable market in this correction. There is also some political problems, although economically Turkey is very dynamic and the longer term is very attractive. But there is a lot of problems with accession to the European Union, in addition to the liquidity problem.
Q: When you look at Turkey and some of the other emerging markets, are you looking at the political stability as being the most important or are you looking at economic growth. What is it that you look to lead you in terms of finding new opportunities?
A: I am not doing it now. So I would say that it is really is more of finding good situations and economies that are in good shape. Emerging markets have been very good investments and will be again but they are more subject to volatility and swings and they were overdone.
Q: Let me ask you about what has been happening in commodities and currencies. Commodities has been such an incredible bull market.
A: It really has been sort of a parabolic rise and you know that it is something that cannot last very long and one also does not know how far it goes and the last bit is always the best bit. But they have broken now and I think commodities are in for a period of correction.
Q: Even though a lot of people say that China has an enormous demand for oil. You are seeing India and you are seeing this need for infrastructure and with that comes a whole new demand.
A: It is somewhat overdone on the speculative side, otherwise people would have bought a little too much. People have got into hedge funds that do not normally engage in commodities. Commodities have become an asset class and people have invested in them. As an asset class it is now vulnerable and ofcourse the biggest asset class that is vulnerable is real estate. We know that there is a slowdown in the residential houses in the US and it also is a worldwide phenomenon.
Q: What does that do to the currency of any particular country? Would you expect that as we see this slowdown happening whether it is America or these emerging markets that the currency gets hit or does the currency gets propped up because of the interest rates moving higher?
A: The moment we reach the peak of interest rates, the dollar is liable to come under pressure, which is in some ways a good thing because you have a fundamental imbalance that needs to be corrected. However, exchange rate movements will have to be quite extreme to correct those things by themselves.
Q: The question that a lot of people ask is are there just too many hedge funds? Is there a bubble in hedge funds right now?
A: It is not a bubble; it is probably a self-correcting thing. There are a lot of them and when they become the market then it is much harder to outperform the market, so it will correct itself.
Q: Whether it is hedge funds or whether it is war in Iraq, all of these issues do impact the financial markets. Let me get to your book, why did you write this book?
A: I really wanted to lay out my philosophy, my approach to the world and apply to the present moment in history because we are in a very difficult period and our difficulties are very largely our own making because of my view of reflexivity and so on. Misconceptions play a very important role in shaping history.
Q: Misconceptions about the war on Iraq or misconceptions about what you are trying to do on terrorism?
A: I think the war on terror actually is a forced metaphor that people have accepted as the only way or the natural way to deal with terrorism. And yet it is the wrong way to deal with terrorism because a war by its very nature creates innocent victims and when you wage war on terrorists who keep themselves hidden, it is more likely that you hit the wrong people and if you wage war on abstraction like the war on terror, there is no limit to what you can do.
Having innocent victims, that is exactly what we abhor in terrorism, that terrorists kill innocent people for political goals and waging war on terror we are actually going the same way. And we are perceived the same way by those who are on the receiving end of the war on terror and that is how we have had sympathy of the world on 9/11 and now we really have the whole world against us. You have people in Iraq who were never happy with Saddam actually finding the American troops and the Iraqi troops a greater danger to them, than the insurrection itself.
Q: Were you surprised that we didnt get a reaction due to the fact that Zarqawi was caught and killed? Last week I was expecting that we would even see a market reaction since Zarqawi is one of their most well known terrorists?
A: Zarqawi has done an untold amount of damage but the damage will continue because the insurrection will continue. Our reaction to him has touched of a situation of effective civil war and we now have the insurrection that we have to fight. There are death squads that have developed in the Iraqi police and army, we have to fight that too. So we are sitting on a civil war and by sitting on it, we are keep it at low frequency so to speak. 40 people die if we got off and our, the whole thing would blow up and we would have a real humanitarian disaster. So we cannot stay and we cannot leave. That's a quagmire and that's where we are.
Q: I like the idea that you put in the book this letter from the White House talking about America being at war. You of course have been a real critic of the Bush administration. Have you spoken to President Bush?
A: No, neither has he spoken to me.
Q: So no reaction to your criticism of the way this country is going. Do you think this is one of the foundations of sort of these ideas that we are seeing some protectionism? When you look around the world I wonder how you feel about the Dubai ports deal was stopped, you had CNOOK trying to acquire an American oil company, tell me the ramifications of this, the consequences of war on business?
A: That is an unfortunate side effect because Dubai really is our ally and it would not have changed anything in the port security. Now there was a lot of criticism that we do not have enough security. So it was a wonderful opportunity for people to oppose the administration.
But I think it was actually an unfortunate thing and the Unocal deal was particularly unfortunate because it pushes China into supporting countries Sudan, Angola, Uzbekistani where they had the massacre, all the outlaws. They say that if we cannot do it legitimately, we have to look. So it is very disruptive the world over.
Q: In the book you said everybody says we should not have gone into Iraq, what should we have done?
A: I think we need a different approach. We must not make war and terror the centerpiece of our policy. As the leading nation in the world, the dominant power, we have a unique responsibility to be concerned with the common needs of humanity, in addition to our narrow self-interest. You have got issues like global warming, climate change or the proliferation of nuclear arms, which is now the problem of Iraq. It is more pressing, and a bigger threat than Iraq ever was. Now it is not something that we can possibly solve on our own, so we need to strengthen our international institutions.
United Nations is on the verge of shutting down because we are not willing to pay our share of fees at the end of this month. So we are not behaving as responsible citizens of the world and particularly being the strongest and since there is greater need for co-operation, we ought to be leading that instead of being an obstacle.
Q: Give me your thoughts on emerging economies like China and India? Should these countries be worried?
A: We should be worried about our over consumption. Basically the rise of China and India is a very positive force for the world economy. That is why the world economy is so strong, because those are large new markets that are opening up. It ought to be a positive development provided we werent consuming a lot more and saving a lot less than we ought to.
Q: Last couple of months the market have been so focused on what is going on around the world and with Bernankes comments - how would you characterize Ben Bernanke so far?
A: He has got a difficult job because he is the new man on the block. I actually think that the Federal Reserve is trying to be far sighted. Look around the curve and anticipate the decline in consumption, that will eventually come from the slowdown in housing and not raise interest rates.
However, he needs to establish the ability therefore he is liable to be pushed into having to raise interest rates further. There will be an overshoot on the interest rates and that is one of the factors that is affecting the market.
Q: It sounds like you are more worried about the slowdown as opposed to the inflation.
A: Yes, it is coming in six months time. In the mean time if one does not raise interest rate then maybe it does not come. Maybe housing re-ignites.
Q: You are talking about the consequences, if not America then where. Give me one country?
A: I think right now, cash preferably and not dollars, is king.
^.^
Tick...Tick...Tick...Tick...Tick
Tick...Tick...Tick...Tick...Tick
- สุมาอี้
- Verified User
- โพสต์: 4576
- ผู้ติดตาม: 0
What George Soros said in interview with CNBC
โพสต์ที่ 2
บทความดีจริงๆครับ ขอบคุณที่นำมาให้ได้อ่านกัน :D
http://dekisugi.net
ไม่ค่อยได้เช็ค PM เลยครับ ต้องการติดต่อผม อีเมลไปที่ [email protected] จะชัวร์กว่าครับ
ไม่ค่อยได้เช็ค PM เลยครับ ต้องการติดต่อผม อีเมลไปที่ [email protected] จะชัวร์กว่าครับ
-
- Verified User
- โพสต์: 877
- ผู้ติดตาม: 0
What George Soros said in interview with CNBC
โพสต์ที่ 3
ลองอ่านดูขอรับ เหรียญคนละด้านเลย
แต่ Soros มีสัญชาตญาณ ถ้ามีลางร้าย แกจะปวดหลัง
กระผมเคยอ่านมาไม่รู้จริงหรือข่าวลือกลิ้งถั่วแปบคลุกมะพร้าวฝอยปนถั่วงา.............
โจรสลัด soros is coming back
โดย รศ.มานพ พงศทัต [16-3-2002] source: Business Thai
ถ้าใครจำได้ว่าเศรษฐกิจการคลังบ้านเราพังอย่างไร เมื่อปี 2540 ทั้งรัฐบาลท่านชวลิตและท่านชวนต่างก็แก้ปัญหาของชาติด้านเศรษฐกิจไม่ตก หลังจากเศรษฐกิจเติบโตอย่างสูงสุด ลูกโป่งก็แตกลง สิ่งแรกคือ
เกิดโจรสลัดนานาชาติเข้ามาปั่นอัตราแลกเปลี่ยน หัวโจกขณะนั้นคือ กองทุนของนายโซรอสเข้าปั่นได้ไม่นานก็ดูดเงินจากอัตราแลกเปลี่ยน และตลาดหุ้นออกจากบ้านเราจนหมดเกลี้ยง ต้องปรับค่าเงินบาท ต้องพึ่งIMF แก้ไข ซึ่งก็ทำให้ต้งแย่เข้าไปอีก
ขณะนี้ก็ 5 ปีล่วงมา (2545) เศรษฐกิจเริ่มขยับตัวทางบวก รัฐบาลใหม่หันมาสนใจเศรษฐกิจรายสาขา เช่น สาขาอสังหาริมทรัพย์ว่า นี่คือของจริง ไทยทำไทยใช้ไทยขาย ช่วยกระตุ้นให้คนไทยมีบ้านเป็นตัวจักตัวหนึ่งค่อยผลักดัน เศรษฐกิจตกหล่มของไทยเริ่มโงหัวขึ้น
ในขณะเดียวกันรัฐก็หันไปพึ่งด้านท่องเที่ยว และยังสนับสนุนด้านการส่งออก (ซึ่งขณะนี้ประเทศที่จะซื้อของเราก็จนลงทุกประเทศ รวมทั้งอเมริกาด้วย) อีกทั้งหันไปกระตุ้น การลงทุน โดยเน้นตลาดหุ้นนั่นเอง โดยหวังว่าต่างชาติจะมาสนใจในตลาดหุ้นเงินจะเข้าประเทศ
ขณะนี้ก็ได้ผลเกินคาด ทั้งอสังหาริมทรัพย์และตลาดหุ้น ซึ่งตกต่ำมานานปีมีผู้ลงทุนสนใจมากขึ้น (เพราะดอกเบี้ยเงินฝากแค่ 2% จะไปลงทุนอะไรก็ยาก อีกทั้งตลาดทั่วไปยังไม่เติบโตอย่างที่คิด) ดังนั้นการมาเสี่ยงระยะสั้นๆ กับตลาดหุ้นดูจะเป็น ตลาดเก็บกำไร ที่ดี
ขณะที่ตลาดหุ้นอเมริกากำลังตกต่ำ เนื่องจากเศรษฐกิจอยู่ในขาลง มิหนำซ้ำยังถูกถล่มด้วยเครื่องบินชนตึก WORLD TRADE การค้าเงินในอเมริกาตกต่ำ คือ หุ้นลดลงมาก นักค้าเงินระดับโลกก็จะออกล่าตลาดใหม่ๆ ประเทศหมูๆ ก็คือประเทศเริ่มฟื้นไข้ เช่น แถบเอเซีย ซึ่งเริ่มฟื้นตัวอีกครั้ง พอจะอ้วนที่ค้างคาวโจรสลัดจะกลับมาสูบเลือดได้อีกแล้ว ซึ่งมีกองทุนโจรสลัด คราวนี้มาเป็นฝูงเล็กหลายกองทุนเข้ามาลงทุนในตลาดหุ้นบ้านเรามากมายขณะนี้ พร้อมที่จะมาหากำไรและขายหุ้นทิ้งทันทีเพื่อไปลงทุนประเทศอื่น
ถ้าใครติดตามดูตลาดหุ้นจะเห็นว่า ดัชนีเติบโตกว่า 250 จุด ผู้ที่อยู่ในวงการดีใจใหญ่เลี้ยงแชมเปญกันใหญ่เหมือนตอนพวกเราฉลองแชมเปญต้อนเอาเงินของประเทศไปสู้กับการปั่นเงินของ Soros ตอนปี 2540 ไม่มีผิด อีกทั้งกลุ่มแมงเม่ารุ่นใหม่ที่เอาเงินฝากดอกเบี้ยต่ำออกมาเล่นหุ้นกันอีกระลอก หุ้นที่กำลังจะหั่นกัน
โจรสลัดข้ามชาติ บอกว่า หุ้นอสังหาริมทรัพย์นี่แหละมันแท้ เพราะเป็นหุ้นอ่อนหัด มูลค่าต่ำมาก ปั่นง่าย จะปั่นหุ้นธนาคารหรือก็น่าจะยาก เพราะไม่หวือหวา จำนวนหุ้นมาก มีผู้รู้เรื่องมาก อสังหาฯ กับพวก IT น่าจะปั่นมาก (แมงเม่ารุ่นใหม่ก็รู้ไว้ด้วย)
ที่น่าสนใจอีกประการคือ กลุ่มผู้ลงทุนที่เป็นกองทุนระยะยาวของอเมริกา กลับต้อนเงินจากประเทศไทยไปประเทศอาเยนตินา แล้วประเทศอาเยนติน่ากำลังต้องปรับอัตราเงินของเขา IMF กำลังเข้าไปเป็นเพชรฆาตสัปเหร่อ ซึ่งหนีวิถีทางของ IMF ไม่พ้น คือ อาเยนติน่าต้องขายตัว ขายเศรษฐกิจให้กับต่างชาติ กองทุนทั้งที่เป็นโจรสลัด และเป็นการลงทุนระยะยาวก็โผบินไปสูบเลือดจากประเทศอ่อนแอเหล่านี้
กรณีศึกษาเช่นนี้ สอนอะไรให้กับเรา การเรียนรู้เรื่องแรกคือ ไม่มีใครเขารักเราจริงเลย ไม่ว่าจะเป็นอเมริกา IMF หรือนักลงทุนต่างประเทศ กลุ่มพวกนี้หวังผลตอบแทนด้วยเงินราคาแพงทั้งนั้น ประเทศไทยเชื่อเขามาก หรือ เสียค่าโง่มากๆ ประเทศไทยก็จะหมดเงินง่ายๆ เรื่องต่อมาคือ เราต้องแก้ด้วยตัวเอง ให้คนไทยอยู่ดี
กินดี มีความสุข มิใช่เอาหลักการเงินที่เน้นเปิดเสรีทั้งโลกอยู่ใน NEW ECONOMIC ORDER (เช่นนักเศรษฐศาสตร์อเมริกัน และคนไทยที่พูดไทยคำฝรั่งคำเชื่อถืออยู่) การจะแก้ด้วยตัวเองต้องเริ่มที่นักเศรษฐศาสตร์ไทยต้องหัดคิดนอกกรอบ เอาคนไทยเป็นที่ตั้งเสียก่อน ไม่จำเป็นต้องเดินตามตำราฝรั่ง ตำราอื่นก็มี (เขาทำไมถึงดูแลบ้านเขาได้ดีกว่าเรา) ตำรามาเลเซีย แม้จะเป็นชาตินิยมแต่ทำได้ดีกว่าเรา คนไทยโง่หรืออย่างไร
ข้อสรุปคือ วัฎจักรการปั่นหุ้นกำลังกลับมาพร้อมๆ คณะโจรสลัด Soros รุ่นใหม่ ที่เขาส่งแนวหน้าไม่ว่าจะบริษัทการเงิน ชื่อแปลกๆ มาสอดแนมให้ว่า เศรษฐกิจไทยดีเพราะ Asia กำลังโต (ยอเกินไป) หรือแย่มากเพราะมีคอรัปชั่น แก้ไม่ถูกจุด บริษัทพวกนี้ดูให้ดีเหมือนเป็นไส้ศึกมาปั่นให้เป็นข่าว ที่จ้างนักเขียน ปั่นข่าว อยู่เสมอ และอย่าลืมอสังหาฯ ของเราน่าปั่นมากที่สุด เพราะอ่อนหัด จ่ายปั่นข่าว แมงเม่าเยอะ
ต่อไปนี้อย่าไปเชื่อฝรั่งหรือใครๆ ครับ จะทำอะไรคิดให้รอบคอบ แล้วค่อยทำ พวกฝรั่งเขาบอกว่าคนไทยเชื่อง่าย ชอบนินทา โชคดีนะครับบ้านเมืองกำลังดีขึ้นอย่าทะเลาะกันเลย
อย่าทะเลาะกันเลยขอรับ
แต่ Soros มีสัญชาตญาณ ถ้ามีลางร้าย แกจะปวดหลัง
กระผมเคยอ่านมาไม่รู้จริงหรือข่าวลือกลิ้งถั่วแปบคลุกมะพร้าวฝอยปนถั่วงา.............
โจรสลัด soros is coming back
โดย รศ.มานพ พงศทัต [16-3-2002] source: Business Thai
ถ้าใครจำได้ว่าเศรษฐกิจการคลังบ้านเราพังอย่างไร เมื่อปี 2540 ทั้งรัฐบาลท่านชวลิตและท่านชวนต่างก็แก้ปัญหาของชาติด้านเศรษฐกิจไม่ตก หลังจากเศรษฐกิจเติบโตอย่างสูงสุด ลูกโป่งก็แตกลง สิ่งแรกคือ
เกิดโจรสลัดนานาชาติเข้ามาปั่นอัตราแลกเปลี่ยน หัวโจกขณะนั้นคือ กองทุนของนายโซรอสเข้าปั่นได้ไม่นานก็ดูดเงินจากอัตราแลกเปลี่ยน และตลาดหุ้นออกจากบ้านเราจนหมดเกลี้ยง ต้องปรับค่าเงินบาท ต้องพึ่งIMF แก้ไข ซึ่งก็ทำให้ต้งแย่เข้าไปอีก
ขณะนี้ก็ 5 ปีล่วงมา (2545) เศรษฐกิจเริ่มขยับตัวทางบวก รัฐบาลใหม่หันมาสนใจเศรษฐกิจรายสาขา เช่น สาขาอสังหาริมทรัพย์ว่า นี่คือของจริง ไทยทำไทยใช้ไทยขาย ช่วยกระตุ้นให้คนไทยมีบ้านเป็นตัวจักตัวหนึ่งค่อยผลักดัน เศรษฐกิจตกหล่มของไทยเริ่มโงหัวขึ้น
ในขณะเดียวกันรัฐก็หันไปพึ่งด้านท่องเที่ยว และยังสนับสนุนด้านการส่งออก (ซึ่งขณะนี้ประเทศที่จะซื้อของเราก็จนลงทุกประเทศ รวมทั้งอเมริกาด้วย) อีกทั้งหันไปกระตุ้น การลงทุน โดยเน้นตลาดหุ้นนั่นเอง โดยหวังว่าต่างชาติจะมาสนใจในตลาดหุ้นเงินจะเข้าประเทศ
ขณะนี้ก็ได้ผลเกินคาด ทั้งอสังหาริมทรัพย์และตลาดหุ้น ซึ่งตกต่ำมานานปีมีผู้ลงทุนสนใจมากขึ้น (เพราะดอกเบี้ยเงินฝากแค่ 2% จะไปลงทุนอะไรก็ยาก อีกทั้งตลาดทั่วไปยังไม่เติบโตอย่างที่คิด) ดังนั้นการมาเสี่ยงระยะสั้นๆ กับตลาดหุ้นดูจะเป็น ตลาดเก็บกำไร ที่ดี
ขณะที่ตลาดหุ้นอเมริกากำลังตกต่ำ เนื่องจากเศรษฐกิจอยู่ในขาลง มิหนำซ้ำยังถูกถล่มด้วยเครื่องบินชนตึก WORLD TRADE การค้าเงินในอเมริกาตกต่ำ คือ หุ้นลดลงมาก นักค้าเงินระดับโลกก็จะออกล่าตลาดใหม่ๆ ประเทศหมูๆ ก็คือประเทศเริ่มฟื้นไข้ เช่น แถบเอเซีย ซึ่งเริ่มฟื้นตัวอีกครั้ง พอจะอ้วนที่ค้างคาวโจรสลัดจะกลับมาสูบเลือดได้อีกแล้ว ซึ่งมีกองทุนโจรสลัด คราวนี้มาเป็นฝูงเล็กหลายกองทุนเข้ามาลงทุนในตลาดหุ้นบ้านเรามากมายขณะนี้ พร้อมที่จะมาหากำไรและขายหุ้นทิ้งทันทีเพื่อไปลงทุนประเทศอื่น
ถ้าใครติดตามดูตลาดหุ้นจะเห็นว่า ดัชนีเติบโตกว่า 250 จุด ผู้ที่อยู่ในวงการดีใจใหญ่เลี้ยงแชมเปญกันใหญ่เหมือนตอนพวกเราฉลองแชมเปญต้อนเอาเงินของประเทศไปสู้กับการปั่นเงินของ Soros ตอนปี 2540 ไม่มีผิด อีกทั้งกลุ่มแมงเม่ารุ่นใหม่ที่เอาเงินฝากดอกเบี้ยต่ำออกมาเล่นหุ้นกันอีกระลอก หุ้นที่กำลังจะหั่นกัน
โจรสลัดข้ามชาติ บอกว่า หุ้นอสังหาริมทรัพย์นี่แหละมันแท้ เพราะเป็นหุ้นอ่อนหัด มูลค่าต่ำมาก ปั่นง่าย จะปั่นหุ้นธนาคารหรือก็น่าจะยาก เพราะไม่หวือหวา จำนวนหุ้นมาก มีผู้รู้เรื่องมาก อสังหาฯ กับพวก IT น่าจะปั่นมาก (แมงเม่ารุ่นใหม่ก็รู้ไว้ด้วย)
ที่น่าสนใจอีกประการคือ กลุ่มผู้ลงทุนที่เป็นกองทุนระยะยาวของอเมริกา กลับต้อนเงินจากประเทศไทยไปประเทศอาเยนตินา แล้วประเทศอาเยนติน่ากำลังต้องปรับอัตราเงินของเขา IMF กำลังเข้าไปเป็นเพชรฆาตสัปเหร่อ ซึ่งหนีวิถีทางของ IMF ไม่พ้น คือ อาเยนติน่าต้องขายตัว ขายเศรษฐกิจให้กับต่างชาติ กองทุนทั้งที่เป็นโจรสลัด และเป็นการลงทุนระยะยาวก็โผบินไปสูบเลือดจากประเทศอ่อนแอเหล่านี้
กรณีศึกษาเช่นนี้ สอนอะไรให้กับเรา การเรียนรู้เรื่องแรกคือ ไม่มีใครเขารักเราจริงเลย ไม่ว่าจะเป็นอเมริกา IMF หรือนักลงทุนต่างประเทศ กลุ่มพวกนี้หวังผลตอบแทนด้วยเงินราคาแพงทั้งนั้น ประเทศไทยเชื่อเขามาก หรือ เสียค่าโง่มากๆ ประเทศไทยก็จะหมดเงินง่ายๆ เรื่องต่อมาคือ เราต้องแก้ด้วยตัวเอง ให้คนไทยอยู่ดี
กินดี มีความสุข มิใช่เอาหลักการเงินที่เน้นเปิดเสรีทั้งโลกอยู่ใน NEW ECONOMIC ORDER (เช่นนักเศรษฐศาสตร์อเมริกัน และคนไทยที่พูดไทยคำฝรั่งคำเชื่อถืออยู่) การจะแก้ด้วยตัวเองต้องเริ่มที่นักเศรษฐศาสตร์ไทยต้องหัดคิดนอกกรอบ เอาคนไทยเป็นที่ตั้งเสียก่อน ไม่จำเป็นต้องเดินตามตำราฝรั่ง ตำราอื่นก็มี (เขาทำไมถึงดูแลบ้านเขาได้ดีกว่าเรา) ตำรามาเลเซีย แม้จะเป็นชาตินิยมแต่ทำได้ดีกว่าเรา คนไทยโง่หรืออย่างไร
ข้อสรุปคือ วัฎจักรการปั่นหุ้นกำลังกลับมาพร้อมๆ คณะโจรสลัด Soros รุ่นใหม่ ที่เขาส่งแนวหน้าไม่ว่าจะบริษัทการเงิน ชื่อแปลกๆ มาสอดแนมให้ว่า เศรษฐกิจไทยดีเพราะ Asia กำลังโต (ยอเกินไป) หรือแย่มากเพราะมีคอรัปชั่น แก้ไม่ถูกจุด บริษัทพวกนี้ดูให้ดีเหมือนเป็นไส้ศึกมาปั่นให้เป็นข่าว ที่จ้างนักเขียน ปั่นข่าว อยู่เสมอ และอย่าลืมอสังหาฯ ของเราน่าปั่นมากที่สุด เพราะอ่อนหัด จ่ายปั่นข่าว แมงเม่าเยอะ
ต่อไปนี้อย่าไปเชื่อฝรั่งหรือใครๆ ครับ จะทำอะไรคิดให้รอบคอบ แล้วค่อยทำ พวกฝรั่งเขาบอกว่าคนไทยเชื่อง่าย ชอบนินทา โชคดีนะครับบ้านเมืองกำลังดีขึ้นอย่าทะเลาะกันเลย
อย่าทะเลาะกันเลยขอรับ
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 189
- ผู้ติดตาม: 0
What George Soros said in interview with CNBC
โพสต์ที่ 4
ตอนอ่านครั้งแรกนานแล้วไม่ค่อยเข้าใจเท่าไหร่ ตอนนี้เริ่มเข้าใจมากขึ้นว่าดอลล์ล่าน่าจะมีปัญหาจริงๆ ตอนนี้จีนน่าจะมีเงินสำรองในส่วนของดอลล์มากกว่าเดิมตอนที่บทความนี้ออกมามากแล้ว และเงินดอลล์อยู่ในอเมริกาตอนนี้น่าจะมี เพียง1 /3 ของทั้งหมด อเมริกาคงจะควบคุมค่าเงินยากขึ้นเรื่อยๆ :roll:
"พอล ครุกแมน"
ฤาดอลล์เสื่อมมนต์สิ้นศตวรรษ
กะเทาะ 2 มุมมองของ 2 นักวิชาการที่แยกย่อยแนวคิดมหภาคของ "พอล ครุกแมน" ออกมาเป็นส่วนๆ สังเคราะห์ถึงต้นสายปลายเหตุ ทำไมเงินดอลลาร์ถึงส่อแววสิ้นมนต์ขมังภายในสิ้นศตวรรษ ถ้าเงินหยวนเพิ่มค่าแล้วอะไรจะเกิดขึ้นกับโลกาภิวัตน์ใบนี้?
ดร.ยรรยง ไทยเจริญ เศรษฐกรอาวุโสสายนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย วิเคราะห์ให้ "ผู้จัดการรายสัปดาห์" ฟังถึงปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจโลกที่จะเกิดขึ้น จากการบรรยายของ "ศาสตราจารย์ ดร.พอล ครุกแมน" กูรูทางด้านเศรษฐศาสตร์ว่าสิ่งที่มองเห็นภาพชัดเจนปัญหาซึ่งอาจเรียกว่าเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดในตลาดการเงินระหว่างประเทศ นั่นก็คือความไม่สมดุลทางการเงิน โดยอาการที่แสดงอย่างเด่นชัดก็คือว่า ประเทศที่พัฒนาแล้วจะมีการนำเข้ามากกว่าส่งออก หมายถึงมีการยืมเงินจากประเทศอื่นๆ เข้ามาใช้จ่าย ซึ่งพี่เอื้อยอย่างอเมริกาเองมีถึง 5% ของจีดีพี ซึ่งนับเป็นตัวเลขที่สูงมา
ขณะที่ในแง่ของประเทศกำลังพัฒนาอย่างกลุ่มประเทศในเอเชีย ถือว่าเป็นการนำเอาเงินทุนไปให้ประเทศที่ร่ำรวยกว่าเอาไปใช้จ่าย และผลตอบแทนที่ได้คืนกลับมาก็ค่อนข้างต่ำ เพราะเอาไปลงทุนตราสารหนี้
"ครุกแมนค่อนข้างฟันธงชัดเจนว่าสถานการณ์แบบนี้ไม่น่าจะยั่งยืนได้ แง่คิดที่เขาฝากไว้ก็คือ จากจุดที่ไม่สมดุลต้องไปหาจุดที่สมดุลใหม่ จุดสมดุลที่ต้องเข้าไปหาเฉพาะกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วคือต้องลดการใช้จ่าย เพื่อเป็นแรงกระตุ้นให้ค่าเงินดอลลาร์อ่อนลง จากเดิมที่เขาได้รับแรงสนับสนุนจากการส่งออก ขณะเดียวกันการใช้จ่ายภายในประเทศของสหรัฐเอง ก็อาจจะต้องลดบทบาทลงด้วย"
ดร.ยรรยงกล่าวอีกว่า ในทางตรงกันข้ามสำหรับประเทศที่กำลังพัฒนาอย่างประเทศในเอเชีย บทบาทของการส่งออกก็น่าจะมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากค่าเงินมีแนวโน้มจะแข็งขึ้น ซึ่งอาจจะต้องมาพึ่งพาความต้องการในประเทศเพิ่มมากขึ้น กล่าวได้ว่านี่คือการสร้างจุดสมดุลใหม่
แต่ประเด็นที่ท้าทายกว่านั้นคือ การเคลื่อนจากจุดที่ไม่สมดุลในขณะนี้ไปสู่จุดสมดุลในระยะยาว ต้องมีการปรับตัว โดยทางออกสำหรับปัญหาเหล่านี้ครุกแมนเปิดทางเลือกในหลายประเด็น เพราะอาจจะมีความเสี่ยงในประเทศกำลังพัฒนาที่การใช้จ่ายภายในประเทศไม่อาจขึ้นมาทดแทนได้ทันการส่งออกที่อาจจะชะลอตัว แม้แต่ในอเมริกาเองการส่งออกก็อาจมาทดแทนการใช้จ่ายภายในของประเทศช้าด้วย เพราะโดยปกติเมื่อค่าเงินเปลี่ยนแปลงแต่ละครั้งล้วนแล้วแต่ต้องใช้เวลา
สัญญาณเตือนภัยสำหรับประเทศไทยต่อการเปลี่ยนแปลงของภาวะเศรษฐกิจที่กำลังพลิกผันทั่วโลก การที่รัฐบาลมีแนวคิดที่จะลงทุนของภาครัฐเอง มาเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนช่วงรอยต่อแห่งการเปลี่ยนแปลงนี้ ขณะที่การใช้จ่ายของภาคเอกชนยังไม่เข้มแข็งพอ การส่งออกก็ชะลอตัว การใช้จ่ายของภาครัฐสามารถทดแทนได้ช่วงเวลาหนึ่ง
อย่างไรก็ดี การลงทุนของภาครัฐ ควรเป็นโครงการที่รัฐบาลต้องเข้าไปมีบทบาท โดยมุ่งให้ความสำคัญใน 3 ประเด็นคือ 1. การศึกษา 2. ระบบสาธารณูปโภค ซึ่งก็สอดคล้องกับเมกะโปรเจ็กต์ที่ทำกันอยู่ตอนนี้ และ 3. การปกป้องทางสังคมให้กับประชาชนในระดับล่าง รวมถึงในอนาคตเมื่อการแข่งขันสูงขึ้น ก็ควรมีมาตรการที่ออกมารองรับชนชั้นระดับล่างอีกทางหนึ่งด้วย
"อีกเรื่องหนึ่งที่เกี่ยวกับการรักษาเสถียรภาพ คือ เงินสำรองทางการ ซึ่งครุกแมนมีมุมมองว่าจะช่วยลดความเสี่ยงเวลาเกิดการเปลี่ยนแปลงค่าเงิน การสำรองค่าเงินที่เหมาะสมจะช่วยให้การปรับตัวเป็นไปอย่างดี และเกิดผลกระทบไม่มาก แต่ไม่ได้หมายความว่าให้มีมากเกินไป เพราะเป็นต้นทุนเหมือนกัน ดังนั้นรัฐจะต้องใช้การลงทุนของภาครัฐเข้ามาทดแทนมูลค่าที่หายไปจากการส่งออก การมีเงินทุนสำรองทางการที่เข้มแข็งและมีนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนที่ยืดหยุ่น จะช่วยให้เราสามารถผ่านกระบวนการปรับตัวในระยะต่อไปได้ค่อนข้างดี นี่คือโจทย์ใหญ่ข้อหนึ่งที่สำคัญ" ดร.ยรรยงกล่าว
ทางด้านรองศาสตราจารย์ ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ อธิการบดี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ อธิบายเสริมว่า สิ่งที่ครุกแมนย้ำก็คือ อเมริกาขาดอำนาจซื้อภายในประเทศ แต่ยังโชคดีที่มีเงินดอลลาร์ไหลเข้ามาในประเทศอเมริกาเข้ามาชดเชยกัน คนมองว่าไม่มีที่ไหนให้ผลตอบแทนมากได้เท่าเงินดอลล์เงินก็ไหลเข้าไป เงินมาจากฝั่งประเทศกำลังพัฒนาอย่างจีน ญี่ปุ่น อย่างจีนสะสมเงินทุนสำรองระหว่างประเทศเป็นดอลลาร์ไว้มหาศาลเหลือเกิน เป็นการสะสมอย่างไม่เคยมีมาก่อน 2-3 แสนล้านดอลลาร์ ทำให้คนอเมริกามีอำนาจซื้อมากจนน่ากลัวว่าจะเกิดเงินเฟ้อขึ้น
ที่ผ่านมาเงินหยวนจีนไม่เป็นไปตามกลไกตลาดจะผูกตามค่าเงินดอลลาร์ ถ้าค่าเงินดอลลาร์ลดต่ำลง จะทำให้เงินหยวนถูกลงไปด้วย ทำให้จีนได้เปรียบในการส่งออกมาก จนเกินดุลบัญชีสะพัดขึ้นมามากมาย เงินอยู่ที่จีนมากมาย และจีนไม่ได้ทำให้เกิดประโยชน์ก็เลยเอาไปซื้อตราสารหนี้สหรัฐอเมริกา เงินทุนก็ไหลเข้าอเมริกา
แต่วันหนึ่งถ้าคนเกิดขาดความเชื่อมั่นเกมเหล่านี้ก็จะจบเหมือนแชร์แม่ชม้อย ถ้าคนตกใจเอาดอลลาร์มาขายพร้อมกันหมด โลกก็จบสิ้นเพราะไม่มีใครถือดอลลาร์ แต่ครุกแมนก็มองว่าสถานการณ์คงไม่ได้เลวร้ายไปถึงวันนั้น เพียงแต่เป็นการขาดสมดุลที่คงจะจบสิ้นลงสักวันในสิ้นทศวรรษนี้
ครุกแมนมองว่าจากนี้ไปไม่มีผู้นำโลกอีกต่อไปแล้ว เพราะผู้นำอเมริกาคนปัจจุบันก็เชื่อถือไม่ได้เหมือนในอดีต หนทางเดียวคือทุกประเทศต้องช่วยเหลือตัวเอง แต่คาดว่าจะไม่รุนแรงเหมือนปี 1997 ที่ว่าทุกอย่างเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน ก่อนสิ้นทศวรรษนี้ทุกอย่างต้องเปลี่ยนแปลง "ความไม่สมดุลในโลกต้องเกิดขึ้น เมื่อเกิดขึ้นแล้วหยุดลง และก็มีคนเจ็บตัว
"พอล ครุกแมน"
ฤาดอลล์เสื่อมมนต์สิ้นศตวรรษ
กะเทาะ 2 มุมมองของ 2 นักวิชาการที่แยกย่อยแนวคิดมหภาคของ "พอล ครุกแมน" ออกมาเป็นส่วนๆ สังเคราะห์ถึงต้นสายปลายเหตุ ทำไมเงินดอลลาร์ถึงส่อแววสิ้นมนต์ขมังภายในสิ้นศตวรรษ ถ้าเงินหยวนเพิ่มค่าแล้วอะไรจะเกิดขึ้นกับโลกาภิวัตน์ใบนี้?
ดร.ยรรยง ไทยเจริญ เศรษฐกรอาวุโสสายนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย วิเคราะห์ให้ "ผู้จัดการรายสัปดาห์" ฟังถึงปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจโลกที่จะเกิดขึ้น จากการบรรยายของ "ศาสตราจารย์ ดร.พอล ครุกแมน" กูรูทางด้านเศรษฐศาสตร์ว่าสิ่งที่มองเห็นภาพชัดเจนปัญหาซึ่งอาจเรียกว่าเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดในตลาดการเงินระหว่างประเทศ นั่นก็คือความไม่สมดุลทางการเงิน โดยอาการที่แสดงอย่างเด่นชัดก็คือว่า ประเทศที่พัฒนาแล้วจะมีการนำเข้ามากกว่าส่งออก หมายถึงมีการยืมเงินจากประเทศอื่นๆ เข้ามาใช้จ่าย ซึ่งพี่เอื้อยอย่างอเมริกาเองมีถึง 5% ของจีดีพี ซึ่งนับเป็นตัวเลขที่สูงมา
ขณะที่ในแง่ของประเทศกำลังพัฒนาอย่างกลุ่มประเทศในเอเชีย ถือว่าเป็นการนำเอาเงินทุนไปให้ประเทศที่ร่ำรวยกว่าเอาไปใช้จ่าย และผลตอบแทนที่ได้คืนกลับมาก็ค่อนข้างต่ำ เพราะเอาไปลงทุนตราสารหนี้
"ครุกแมนค่อนข้างฟันธงชัดเจนว่าสถานการณ์แบบนี้ไม่น่าจะยั่งยืนได้ แง่คิดที่เขาฝากไว้ก็คือ จากจุดที่ไม่สมดุลต้องไปหาจุดที่สมดุลใหม่ จุดสมดุลที่ต้องเข้าไปหาเฉพาะกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วคือต้องลดการใช้จ่าย เพื่อเป็นแรงกระตุ้นให้ค่าเงินดอลลาร์อ่อนลง จากเดิมที่เขาได้รับแรงสนับสนุนจากการส่งออก ขณะเดียวกันการใช้จ่ายภายในประเทศของสหรัฐเอง ก็อาจจะต้องลดบทบาทลงด้วย"
ดร.ยรรยงกล่าวอีกว่า ในทางตรงกันข้ามสำหรับประเทศที่กำลังพัฒนาอย่างประเทศในเอเชีย บทบาทของการส่งออกก็น่าจะมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากค่าเงินมีแนวโน้มจะแข็งขึ้น ซึ่งอาจจะต้องมาพึ่งพาความต้องการในประเทศเพิ่มมากขึ้น กล่าวได้ว่านี่คือการสร้างจุดสมดุลใหม่
แต่ประเด็นที่ท้าทายกว่านั้นคือ การเคลื่อนจากจุดที่ไม่สมดุลในขณะนี้ไปสู่จุดสมดุลในระยะยาว ต้องมีการปรับตัว โดยทางออกสำหรับปัญหาเหล่านี้ครุกแมนเปิดทางเลือกในหลายประเด็น เพราะอาจจะมีความเสี่ยงในประเทศกำลังพัฒนาที่การใช้จ่ายภายในประเทศไม่อาจขึ้นมาทดแทนได้ทันการส่งออกที่อาจจะชะลอตัว แม้แต่ในอเมริกาเองการส่งออกก็อาจมาทดแทนการใช้จ่ายภายในของประเทศช้าด้วย เพราะโดยปกติเมื่อค่าเงินเปลี่ยนแปลงแต่ละครั้งล้วนแล้วแต่ต้องใช้เวลา
สัญญาณเตือนภัยสำหรับประเทศไทยต่อการเปลี่ยนแปลงของภาวะเศรษฐกิจที่กำลังพลิกผันทั่วโลก การที่รัฐบาลมีแนวคิดที่จะลงทุนของภาครัฐเอง มาเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนช่วงรอยต่อแห่งการเปลี่ยนแปลงนี้ ขณะที่การใช้จ่ายของภาคเอกชนยังไม่เข้มแข็งพอ การส่งออกก็ชะลอตัว การใช้จ่ายของภาครัฐสามารถทดแทนได้ช่วงเวลาหนึ่ง
อย่างไรก็ดี การลงทุนของภาครัฐ ควรเป็นโครงการที่รัฐบาลต้องเข้าไปมีบทบาท โดยมุ่งให้ความสำคัญใน 3 ประเด็นคือ 1. การศึกษา 2. ระบบสาธารณูปโภค ซึ่งก็สอดคล้องกับเมกะโปรเจ็กต์ที่ทำกันอยู่ตอนนี้ และ 3. การปกป้องทางสังคมให้กับประชาชนในระดับล่าง รวมถึงในอนาคตเมื่อการแข่งขันสูงขึ้น ก็ควรมีมาตรการที่ออกมารองรับชนชั้นระดับล่างอีกทางหนึ่งด้วย
"อีกเรื่องหนึ่งที่เกี่ยวกับการรักษาเสถียรภาพ คือ เงินสำรองทางการ ซึ่งครุกแมนมีมุมมองว่าจะช่วยลดความเสี่ยงเวลาเกิดการเปลี่ยนแปลงค่าเงิน การสำรองค่าเงินที่เหมาะสมจะช่วยให้การปรับตัวเป็นไปอย่างดี และเกิดผลกระทบไม่มาก แต่ไม่ได้หมายความว่าให้มีมากเกินไป เพราะเป็นต้นทุนเหมือนกัน ดังนั้นรัฐจะต้องใช้การลงทุนของภาครัฐเข้ามาทดแทนมูลค่าที่หายไปจากการส่งออก การมีเงินทุนสำรองทางการที่เข้มแข็งและมีนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนที่ยืดหยุ่น จะช่วยให้เราสามารถผ่านกระบวนการปรับตัวในระยะต่อไปได้ค่อนข้างดี นี่คือโจทย์ใหญ่ข้อหนึ่งที่สำคัญ" ดร.ยรรยงกล่าว
ทางด้านรองศาสตราจารย์ ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ อธิการบดี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ อธิบายเสริมว่า สิ่งที่ครุกแมนย้ำก็คือ อเมริกาขาดอำนาจซื้อภายในประเทศ แต่ยังโชคดีที่มีเงินดอลลาร์ไหลเข้ามาในประเทศอเมริกาเข้ามาชดเชยกัน คนมองว่าไม่มีที่ไหนให้ผลตอบแทนมากได้เท่าเงินดอลล์เงินก็ไหลเข้าไป เงินมาจากฝั่งประเทศกำลังพัฒนาอย่างจีน ญี่ปุ่น อย่างจีนสะสมเงินทุนสำรองระหว่างประเทศเป็นดอลลาร์ไว้มหาศาลเหลือเกิน เป็นการสะสมอย่างไม่เคยมีมาก่อน 2-3 แสนล้านดอลลาร์ ทำให้คนอเมริกามีอำนาจซื้อมากจนน่ากลัวว่าจะเกิดเงินเฟ้อขึ้น
ที่ผ่านมาเงินหยวนจีนไม่เป็นไปตามกลไกตลาดจะผูกตามค่าเงินดอลลาร์ ถ้าค่าเงินดอลลาร์ลดต่ำลง จะทำให้เงินหยวนถูกลงไปด้วย ทำให้จีนได้เปรียบในการส่งออกมาก จนเกินดุลบัญชีสะพัดขึ้นมามากมาย เงินอยู่ที่จีนมากมาย และจีนไม่ได้ทำให้เกิดประโยชน์ก็เลยเอาไปซื้อตราสารหนี้สหรัฐอเมริกา เงินทุนก็ไหลเข้าอเมริกา
แต่วันหนึ่งถ้าคนเกิดขาดความเชื่อมั่นเกมเหล่านี้ก็จะจบเหมือนแชร์แม่ชม้อย ถ้าคนตกใจเอาดอลลาร์มาขายพร้อมกันหมด โลกก็จบสิ้นเพราะไม่มีใครถือดอลลาร์ แต่ครุกแมนก็มองว่าสถานการณ์คงไม่ได้เลวร้ายไปถึงวันนั้น เพียงแต่เป็นการขาดสมดุลที่คงจะจบสิ้นลงสักวันในสิ้นทศวรรษนี้
ครุกแมนมองว่าจากนี้ไปไม่มีผู้นำโลกอีกต่อไปแล้ว เพราะผู้นำอเมริกาคนปัจจุบันก็เชื่อถือไม่ได้เหมือนในอดีต หนทางเดียวคือทุกประเทศต้องช่วยเหลือตัวเอง แต่คาดว่าจะไม่รุนแรงเหมือนปี 1997 ที่ว่าทุกอย่างเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน ก่อนสิ้นทศวรรษนี้ทุกอย่างต้องเปลี่ยนแปลง "ความไม่สมดุลในโลกต้องเกิดขึ้น เมื่อเกิดขึ้นแล้วหยุดลง และก็มีคนเจ็บตัว
- สุมาอี้
- Verified User
- โพสต์: 4576
- ผู้ติดตาม: 0
What George Soros said in interview with CNBC
โพสต์ที่ 5
ชนทุกชาติล้วนคิดเข้าข้างตัวเองครับ
เวลาต่างประเทศเข้ามาลงทุน เรามักจะคิดว่าเขาจะเข้ามาปล้นชาติ เราคิดว่าถ้าเขาดีจริงจะต้องเอาเงินมาให้เราเปล่าๆ ห้ามเอากำไร แต่เวลาเราไปเปิดร้านอาหารไทยในต่างประเทศทำไมเราขายถึงอาหารเอากำไรแทนที่จะแจกให้กินฟรี
เราตีโพยตีพายเรื่องที่ต่างประเทศเอาสมุนไพรไทยไปจดสิทธิบัตร แต่เวลาเราละเมิดสิทธิบัตรยาของต่างประเทศ เรากลับทำกันได้หน้าตา เราอ้างว่าเรายังจนอยู่จึงมีสิทธิขโมยสินทรัพย์ทางปัญญาของเขาได้ คนจนไม่ผิด
เบื่อครับ :(
เวลาต่างประเทศเข้ามาลงทุน เรามักจะคิดว่าเขาจะเข้ามาปล้นชาติ เราคิดว่าถ้าเขาดีจริงจะต้องเอาเงินมาให้เราเปล่าๆ ห้ามเอากำไร แต่เวลาเราไปเปิดร้านอาหารไทยในต่างประเทศทำไมเราขายถึงอาหารเอากำไรแทนที่จะแจกให้กินฟรี
เราตีโพยตีพายเรื่องที่ต่างประเทศเอาสมุนไพรไทยไปจดสิทธิบัตร แต่เวลาเราละเมิดสิทธิบัตรยาของต่างประเทศ เรากลับทำกันได้หน้าตา เราอ้างว่าเรายังจนอยู่จึงมีสิทธิขโมยสินทรัพย์ทางปัญญาของเขาได้ คนจนไม่ผิด
เบื่อครับ :(
http://dekisugi.net
ไม่ค่อยได้เช็ค PM เลยครับ ต้องการติดต่อผม อีเมลไปที่ [email protected] จะชัวร์กว่าครับ
ไม่ค่อยได้เช็ค PM เลยครับ ต้องการติดต่อผม อีเมลไปที่ [email protected] จะชัวร์กว่าครับ
- MO101
- Verified User
- โพสต์: 3226
- ผู้ติดตาม: 1
What George Soros said in interview with CNBC
โพสต์ที่ 6
สรุป ของโซรอสคือ
ให้ถือเงินที่ไม่ใช่ ดอลล่าครับ
ให้ถือเงินที่ไม่ใช่ ดอลล่าครับ